SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ไมโครพลาสติก (Microplastic)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวจินุตา สการันต์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ไมโครพลาสติก
โครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Microplastic
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจินุตา สการันต์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เป็นที่เข้าใจกันอยู่แล้วว่าขยะพลาสติกมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตคิดว่าพลาสติกเป็นอาหารและ
กินเข้าไป ทาให้ไม่สามารถย่อยได้และเกิดการอุดตันของทางเดินอาหาร หรือพลาสติกบางรูปทรงอาจไปเกี่ยว
อวัยวะหรือตัวของสัตว์ ทาให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ ซึ่งเสี่ยงต่อชีวิตของสัตว์ทั้งบนบกและในน้า แต่ยังมีภัยอีก
รูปแบบหนึ่งจากพลาสติก ที่เรียกว่า ไมโครพลาสติก
ไมโครพลาสติกคือ ชิ้นส่วนพลาสติกที่มีขนาด 1 นาโนเมตร ถึง 5 มิลลิเมตร ไมโครพลาสติกมีที่มาจาก
หลายแหล่งอาทิเช่นไมโครพลาสติกบนบกซึ่งส่วนมากมาจากการเสียดสีของยางรถยนต์กับถนน หรือสีที่ใช้ทา
อาคารหรือยานพาหนะ แม้กระทั้งผ้าที่ทาจากใยสังเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีการผลิต ไมโครบีดส์ ซึ่งเป็นเม็ด
พลาสติกจิ๋วที่เป็นส่วนผสมในสบู่ล้างหน้า เจลขัดผิวไมโครพลาสติกเหล่านี้ล้วนสามารถลอดผ่านจากกระบวนการ
บาบัดน้าเสียลงสู่ทะเลได้ อีกทั้งขยะพลาสติกที่มีขนาดใหญ่ที่ล่องลอยอยู่ในทะเลเมื่อถูกรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ จะ
สลายโครงสร้างเป็นชิ้นเล็กลงได้ กลายเป็นไมโครพลาสติก โดยเฉพาะในมหาสมุทรน้าอุ่นพลาสติกขนาดใหญ่จะ
ย่อยสลายกลายเป็นไมโครพลาสติก
ไมโครพลาสติกจึงเป็นผลมาจากที่เกิดจากการใช้พลาสติก ซึ่งได้แฝงตัวอยู่รอบตัวเราโดยที่เราคาดไม่ถึง
และเป็นภัยอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ซึ่งถือว่าอยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหารดังนั้นเราควรตระหนักถึง
การใช้พลาสติกในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น ปัจจุบันเริ่มมีบางบริษัทที่มีการนาพลาสติกมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
หรือนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติมาใช้แทนพลาสติก แต่นวัตกรรมเหล่านี้ล้วนยังมีราคาสูง หากทุก
คนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการกระทาที่ช่วยในการลดการใช้ (Reduce) นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse)
หรือ แปรรูป(Recycle) พลาสติก อาจมีทางช่วยบรรเทาหรือแม้กระทั้งลดปัญหาได้ในอนาคต
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจินุตา สการันต์
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับไมโครพลาสติก
2.เพื่อเป็นแนวทางในการแนะให้ผู้อื่นและตนเองตระหนักถึงปัญหาไมโครพลาสติก
3.เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองและคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงที่จะได้รับไมโครพลาสติกหรือไม่
ขอบเขตโครงงาน
1. ไมโครพลาสติก คืออะไร
2. ประเภทของไมโครพลาสติก
3. การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในอาหารและมนุษย์
4. ไมโครพลาสติกทาอะไรกับร่างกายเรา
หลักการและทฤษฎี
ไมโครพลาสติก
ไมโครพลาสติก สามารถดูดซึมสารพิษที่มีอยู่ในทะเล ดังนั้นยิ่งอยู่ในน้าทะเลนาน ไมโครพลาสติกจะ
มีความเป็นพิษเพิ่มสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ต้นห่วงโซ่อาหารอย่างเช่นแพลงตอนสัตว์ในทะเลจึงมีความเสี่ยงที่
จะได้รับพลาสติกล่องหนเหล่านี้เข้าไป ส่วนสิ่งมีชีวิตท้ายห่วงโซ่อาหารอย่างเช่นมนุษย์อาจได้รับสารพิษ
ตกค้าง เพราะไมโครพลาสติกที่มีขนาดเล็กสามารถผ่านผนังเซลล์ มีนักวิจัยนาเสนอความเป็นไปได้ว่า
อนุภาคพลาสติกขนาดเล็กเหล่านี้อาจโดนลมพัดและล่องลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ปอดของสิ่งมีชีวิตได้ เป็น
เหมือนมลภาวะทางอากาศเช่นเดียวกับไอเสียจากรถยนต์
นอกจากนี้กระบวนการผลิตพลาสติกบางส่วนมีการใส่สารเคมีเพื่อเพิ่มคุณสมบัติให้กับพลาสติก เช่น
Bisphenol A (BPA) ซึ่งส่งผลกับการเจริญเติบโตของเด็ก และพบ Poly Bromodifenyl Ether (PBDE) ใน
เนื้อเยื่อของนกที่อาศัยแถวทะเล ซึ่งเป็นสารมีพิษที่ใส่ในพลาสติกเพื่อกันการติดไฟ
ไมโครพลาสติกจึงเป็นผลมาจากที่เกิดจากการใช้พลาสติก ซึ่งได้แฝงตัวอยู่รอบตัวเราโดยที่เราคาดไม่
ถึง และเป็นภัยอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ซึ่งถือว่าอยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหารดังนั้นเราควร
ตระหนักถึงการใช้พลาสติกในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น ปัจจุบันเริ่มมีบางบริษัทที่มีการนาพลาสติกมาแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติมาใช้แทนพลาสติก แต่นวัตกรรมเหล่านี้
ล้วนยังมีราคาสูง หากทุกคนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการกระทาที่ช่วยในการลดการใช้
(Reduce) นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) หรือ แปรรูป(Recycle) พลาสติก อาจมีทางช่วยบรรเทาหรือแม้กระ
ทั้งลด ได้ในอนาคต
ประเภทของไมโครพลาสติก
ไมโครพลาสติก แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. Primary microplastics คือ พลาสติกที่ถูกผลิตใหม่ มีขนาดเล็กตั้งแต่ต้น เช่น เม็ดพลาสติกที่เป็นวัสดุตั้ง
ต้นของการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก เม็ดพลาสติกที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด เช่น โฟมล้างหน้า ครีม
ขัดผิว ครีมอาบน้า ยาสีฟัน เป็นต้น ซึ่งภาคอุตสาหกรรมนิยมผลิตในปัจจุบัน มักเรียกว่า ไมโครบีดส์
(microbeads) หรือ “เม็ดสครับ” ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร
2. Secondary microplastics คือ พลาสติกที่มาจากการแตกหักของผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดต่าง ๆ ด้วย
กระบวนการทางเคมี ชีวภาพ และกายภาพ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะทาให้สารแต่งเติมในพลาสติกหลุด
ออกจากพลาสติก ทาให้โครงสร้างของพลาสติกเกิดการแตกตัวจนมีขนาดที่เล็กคล้ายกับ primary
microplastics
การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในอาหารและมนุษย์
หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของออสเตรีย (The Environment Agency Austria) ได้นาอุจจาระจาก
ผู้ร่วมการทดลอง 8 คน จาก 8 ประเทศอย่าง ออสเตรีย อิตาลี ฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ ญี่ปุ่น
รัสเซีย และสหราชอาณาจักร โดยแต่ละคนได้รับประทานอาหารประจาวันแบบปกติ (ผู้ที่ร่วมการทดลองไม่
มีใครทานมังสวิรัต และมี 6 คนที่ทานปลาทะเล) ก่อนที่จะส่งอุจจาระของพวกเขาให้หน่วยงานได้วิเคราะห์
ผลที่ได้คือ ตรวจเจอไมโครพลาสติกจากอุจจาระของผู้ที่ร่วมการทดสอบทุกราย โดยไมโครพลาสติก
ที่พบมีตั้งแต่ พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท (ใช้ทาขวดน้าดื่ม) โพลีพรอพีลีน (เช่น ถุงร้อนพลาสติกบรรจุอาหาร
แก้วโยเกิร์ต ) ไปจนถึง โพลีไวนิลคลอไรด์ หรือ PVC (เช่น ฟิล์มห่ออาหาร) เฉลี่ยแล้วพบว่าในแต่ละ 10 กรัม
ของอุจจาระจะเจออนุภาคของไมโครพลาสติกจานวน 20 ชิ้น
นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่ระบุว่า พบไมโครพลาสติกผสมอยู่ในเกลือ โดยเป็นผลการศึกษาร่วมระหว่าง
ศาสตราจารย์ซึง-คยู คิม (Seung-Kyu Kim) แห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติอินชอน และกรีนพีซ เอเชีย
ตะวันออก เพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติก (พลาสติกขนาดจิ๋ว) ในเกลือ พบไมโครพลาสติก
ในเกลือจากแบรนด์ต่างๆจากทั่วโลก
ผลวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่ามลพิษขยะพลาสติกไม่ได้เป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเล เพียงอย่างเดียว แต่
มลพิษขยะพลาสติกที่พวกเราสร้างขึ้นกาลังคุกคามเราอย่างเงียบๆ
ไมโครพลาสติกทาอะไรกับร่างกายเรา
เมื่อไมโครพลาสติกเหล่านี้หลุดรอดเข้าไปอยู่ในร่างกายของเราโดยที่เราไม่รู้ตัวนั้น เราอาจ
เปรียบเทียบกับงานวิจัยที่ตรวจสอบการหลุดรอดของไมโครพลาสติกเข้าไปในร่างกาย และข่าวร้ายก็คือ
พลาสติกเล็กจิ๋ว(แต่ร้าย)พวกนี้มีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า BPA หรือบิสฟีนอลเอ สารตัวนี้จะไปรบกวนการ
ทางานของระบบในร่างกาย รบกวนการทางานการปล่อยฮอร์โมนเอสโทรเจน
ด้วยระบบการจัดการขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ล้มเหลว เป็นสาเหตุหลักอีกประการที่ทาให้
ขยะพลาสติกไปกองอยู่ในมหาสมุทร นอกเหนือจากปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐาน
กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่สร้างผลกระทบ มีความเข้าใจไม่เพียงพอถึงผลลัพธ์ที่เกิดจากพฤติกรรมของเรา
ช่องว่างของการบังคับใช้กฎหมาย ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล รวมทั้งขาดแหล่งเงินทุน
แม้ว่าในการประชุม Our Ocean (พ.ศ.2561) บริษัทผู้ผลิตอาหารและน้าดื่มยักษ์ใหญ่ต่างออกมาให้
คามั่น จะปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้สามารถรีไซเคิลทั้งหมด 100% ภายในปี ค.ศ. 2020-2030 ซึ่งถ้ามอง
จากตัวเลขที่ขยะรีไซเคิลพลาสติกสามารถนาเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้จริงเพียง 9% ก็คงไม่ช่วย เพราะอีก
91%ก็จะไปสิ้นสุดที่หลุมฝังกลบ เตาเผาขยะหรือมหาสมุทรของเรา
การเรียกร้องให้แบรนด์ยักษ์ใหญ่เหล่านี้หยุดการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวมาเป็นบรรจุภัณฑ์ของ
สินค้าอุปโภคบริโภค เป็นเรื่องของเราทุกคน ทั้งประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ในการกาหนดนโยบาย
ควบคุมและยุติมลพิษพลาสติกตัวร้ายเหล่านี้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

More Related Content

What's hot

Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Assssssssssssssssssssunsumm
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Pattamaporn Kheawfu
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 

What's hot (19)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602
 
Comm
CommComm
Comm
 
Com
ComCom
Com
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Smog
SmogSmog
Smog
 
spy
spyspy
spy
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
Kanjana14
Kanjana14Kanjana14
Kanjana14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
nam
namnam
nam
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Microplastic

แบบเสนอโครงงาน พลาสติก
แบบเสนอโครงงาน พลาสติกแบบเสนอโครงงาน พลาสติก
แบบเสนอโครงงาน พลาสติกPanipon Ounkham
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะKittikhun Ieie
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32ssuser8b25961
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sorrawit Skuljareun
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariyaguntjetnipat
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆPetcharatMint
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26ssuser015151
 
โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8Kittithat Kraisreephan
 
โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8Kittithat Kraisreephan
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน ChutimaKerdpom
 

Similar to Microplastic (20)

Fish pug pao
Fish pug paoFish pug pao
Fish pug pao
 
แบบเสนอโครงงาน พลาสติก
แบบเสนอโครงงาน พลาสติกแบบเสนอโครงงาน พลาสติก
แบบเสนอโครงงาน พลาสติก
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะ
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
Work1.
Work1.Work1.
Work1.
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26
 
โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8
 
โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8โครงงาน เลขที่-4-8
โครงงาน เลขที่-4-8
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 

Microplastic

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ไมโครพลาสติก (Microplastic) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจินุตา สการันต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ไมโครพลาสติก โครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Microplastic ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจินุตา สการันต์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นที่เข้าใจกันอยู่แล้วว่าขยะพลาสติกมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตคิดว่าพลาสติกเป็นอาหารและ กินเข้าไป ทาให้ไม่สามารถย่อยได้และเกิดการอุดตันของทางเดินอาหาร หรือพลาสติกบางรูปทรงอาจไปเกี่ยว อวัยวะหรือตัวของสัตว์ ทาให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ ซึ่งเสี่ยงต่อชีวิตของสัตว์ทั้งบนบกและในน้า แต่ยังมีภัยอีก รูปแบบหนึ่งจากพลาสติก ที่เรียกว่า ไมโครพลาสติก ไมโครพลาสติกคือ ชิ้นส่วนพลาสติกที่มีขนาด 1 นาโนเมตร ถึง 5 มิลลิเมตร ไมโครพลาสติกมีที่มาจาก หลายแหล่งอาทิเช่นไมโครพลาสติกบนบกซึ่งส่วนมากมาจากการเสียดสีของยางรถยนต์กับถนน หรือสีที่ใช้ทา อาคารหรือยานพาหนะ แม้กระทั้งผ้าที่ทาจากใยสังเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีการผลิต ไมโครบีดส์ ซึ่งเป็นเม็ด พลาสติกจิ๋วที่เป็นส่วนผสมในสบู่ล้างหน้า เจลขัดผิวไมโครพลาสติกเหล่านี้ล้วนสามารถลอดผ่านจากกระบวนการ บาบัดน้าเสียลงสู่ทะเลได้ อีกทั้งขยะพลาสติกที่มีขนาดใหญ่ที่ล่องลอยอยู่ในทะเลเมื่อถูกรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ จะ สลายโครงสร้างเป็นชิ้นเล็กลงได้ กลายเป็นไมโครพลาสติก โดยเฉพาะในมหาสมุทรน้าอุ่นพลาสติกขนาดใหญ่จะ ย่อยสลายกลายเป็นไมโครพลาสติก ไมโครพลาสติกจึงเป็นผลมาจากที่เกิดจากการใช้พลาสติก ซึ่งได้แฝงตัวอยู่รอบตัวเราโดยที่เราคาดไม่ถึง และเป็นภัยอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ซึ่งถือว่าอยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหารดังนั้นเราควรตระหนักถึง การใช้พลาสติกในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น ปัจจุบันเริ่มมีบางบริษัทที่มีการนาพลาสติกมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติมาใช้แทนพลาสติก แต่นวัตกรรมเหล่านี้ล้วนยังมีราคาสูง หากทุก คนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการกระทาที่ช่วยในการลดการใช้ (Reduce) นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) หรือ แปรรูป(Recycle) พลาสติก อาจมีทางช่วยบรรเทาหรือแม้กระทั้งลดปัญหาได้ในอนาคต สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจินุตา สการันต์
  • 3. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับไมโครพลาสติก 2.เพื่อเป็นแนวทางในการแนะให้ผู้อื่นและตนเองตระหนักถึงปัญหาไมโครพลาสติก 3.เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองและคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงที่จะได้รับไมโครพลาสติกหรือไม่ ขอบเขตโครงงาน 1. ไมโครพลาสติก คืออะไร 2. ประเภทของไมโครพลาสติก 3. การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในอาหารและมนุษย์ 4. ไมโครพลาสติกทาอะไรกับร่างกายเรา หลักการและทฤษฎี ไมโครพลาสติก ไมโครพลาสติก สามารถดูดซึมสารพิษที่มีอยู่ในทะเล ดังนั้นยิ่งอยู่ในน้าทะเลนาน ไมโครพลาสติกจะ มีความเป็นพิษเพิ่มสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ต้นห่วงโซ่อาหารอย่างเช่นแพลงตอนสัตว์ในทะเลจึงมีความเสี่ยงที่ จะได้รับพลาสติกล่องหนเหล่านี้เข้าไป ส่วนสิ่งมีชีวิตท้ายห่วงโซ่อาหารอย่างเช่นมนุษย์อาจได้รับสารพิษ ตกค้าง เพราะไมโครพลาสติกที่มีขนาดเล็กสามารถผ่านผนังเซลล์ มีนักวิจัยนาเสนอความเป็นไปได้ว่า อนุภาคพลาสติกขนาดเล็กเหล่านี้อาจโดนลมพัดและล่องลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ปอดของสิ่งมีชีวิตได้ เป็น เหมือนมลภาวะทางอากาศเช่นเดียวกับไอเสียจากรถยนต์ นอกจากนี้กระบวนการผลิตพลาสติกบางส่วนมีการใส่สารเคมีเพื่อเพิ่มคุณสมบัติให้กับพลาสติก เช่น Bisphenol A (BPA) ซึ่งส่งผลกับการเจริญเติบโตของเด็ก และพบ Poly Bromodifenyl Ether (PBDE) ใน เนื้อเยื่อของนกที่อาศัยแถวทะเล ซึ่งเป็นสารมีพิษที่ใส่ในพลาสติกเพื่อกันการติดไฟ ไมโครพลาสติกจึงเป็นผลมาจากที่เกิดจากการใช้พลาสติก ซึ่งได้แฝงตัวอยู่รอบตัวเราโดยที่เราคาดไม่ ถึง และเป็นภัยอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก รวมทั้งมนุษย์ซึ่งถือว่าอยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหารดังนั้นเราควร ตระหนักถึงการใช้พลาสติกในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น ปัจจุบันเริ่มมีบางบริษัทที่มีการนาพลาสติกมาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติมาใช้แทนพลาสติก แต่นวัตกรรมเหล่านี้ ล้วนยังมีราคาสูง หากทุกคนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการกระทาที่ช่วยในการลดการใช้ (Reduce) นากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) หรือ แปรรูป(Recycle) พลาสติก อาจมีทางช่วยบรรเทาหรือแม้กระ ทั้งลด ได้ในอนาคต
  • 4. ประเภทของไมโครพลาสติก ไมโครพลาสติก แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. Primary microplastics คือ พลาสติกที่ถูกผลิตใหม่ มีขนาดเล็กตั้งแต่ต้น เช่น เม็ดพลาสติกที่เป็นวัสดุตั้ง ต้นของการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก เม็ดพลาสติกที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด เช่น โฟมล้างหน้า ครีม ขัดผิว ครีมอาบน้า ยาสีฟัน เป็นต้น ซึ่งภาคอุตสาหกรรมนิยมผลิตในปัจจุบัน มักเรียกว่า ไมโครบีดส์ (microbeads) หรือ “เม็ดสครับ” ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร 2. Secondary microplastics คือ พลาสติกที่มาจากการแตกหักของผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดต่าง ๆ ด้วย กระบวนการทางเคมี ชีวภาพ และกายภาพ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะทาให้สารแต่งเติมในพลาสติกหลุด ออกจากพลาสติก ทาให้โครงสร้างของพลาสติกเกิดการแตกตัวจนมีขนาดที่เล็กคล้ายกับ primary microplastics การปนเปื้อนไมโครพลาสติกในอาหารและมนุษย์ หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของออสเตรีย (The Environment Agency Austria) ได้นาอุจจาระจาก ผู้ร่วมการทดลอง 8 คน จาก 8 ประเทศอย่าง ออสเตรีย อิตาลี ฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ ญี่ปุ่น รัสเซีย และสหราชอาณาจักร โดยแต่ละคนได้รับประทานอาหารประจาวันแบบปกติ (ผู้ที่ร่วมการทดลองไม่ มีใครทานมังสวิรัต และมี 6 คนที่ทานปลาทะเล) ก่อนที่จะส่งอุจจาระของพวกเขาให้หน่วยงานได้วิเคราะห์ ผลที่ได้คือ ตรวจเจอไมโครพลาสติกจากอุจจาระของผู้ที่ร่วมการทดสอบทุกราย โดยไมโครพลาสติก ที่พบมีตั้งแต่ พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท (ใช้ทาขวดน้าดื่ม) โพลีพรอพีลีน (เช่น ถุงร้อนพลาสติกบรรจุอาหาร แก้วโยเกิร์ต ) ไปจนถึง โพลีไวนิลคลอไรด์ หรือ PVC (เช่น ฟิล์มห่ออาหาร) เฉลี่ยแล้วพบว่าในแต่ละ 10 กรัม ของอุจจาระจะเจออนุภาคของไมโครพลาสติกจานวน 20 ชิ้น นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่ระบุว่า พบไมโครพลาสติกผสมอยู่ในเกลือ โดยเป็นผลการศึกษาร่วมระหว่าง ศาสตราจารย์ซึง-คยู คิม (Seung-Kyu Kim) แห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติอินชอน และกรีนพีซ เอเชีย ตะวันออก เพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติก (พลาสติกขนาดจิ๋ว) ในเกลือ พบไมโครพลาสติก ในเกลือจากแบรนด์ต่างๆจากทั่วโลก ผลวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่ามลพิษขยะพลาสติกไม่ได้เป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเล เพียงอย่างเดียว แต่ มลพิษขยะพลาสติกที่พวกเราสร้างขึ้นกาลังคุกคามเราอย่างเงียบๆ
  • 5. ไมโครพลาสติกทาอะไรกับร่างกายเรา เมื่อไมโครพลาสติกเหล่านี้หลุดรอดเข้าไปอยู่ในร่างกายของเราโดยที่เราไม่รู้ตัวนั้น เราอาจ เปรียบเทียบกับงานวิจัยที่ตรวจสอบการหลุดรอดของไมโครพลาสติกเข้าไปในร่างกาย และข่าวร้ายก็คือ พลาสติกเล็กจิ๋ว(แต่ร้าย)พวกนี้มีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า BPA หรือบิสฟีนอลเอ สารตัวนี้จะไปรบกวนการ ทางานของระบบในร่างกาย รบกวนการทางานการปล่อยฮอร์โมนเอสโทรเจน ด้วยระบบการจัดการขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ล้มเหลว เป็นสาเหตุหลักอีกประการที่ทาให้ ขยะพลาสติกไปกองอยู่ในมหาสมุทร นอกเหนือจากปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐาน กิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่สร้างผลกระทบ มีความเข้าใจไม่เพียงพอถึงผลลัพธ์ที่เกิดจากพฤติกรรมของเรา ช่องว่างของการบังคับใช้กฎหมาย ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล รวมทั้งขาดแหล่งเงินทุน แม้ว่าในการประชุม Our Ocean (พ.ศ.2561) บริษัทผู้ผลิตอาหารและน้าดื่มยักษ์ใหญ่ต่างออกมาให้ คามั่น จะปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้สามารถรีไซเคิลทั้งหมด 100% ภายในปี ค.ศ. 2020-2030 ซึ่งถ้ามอง จากตัวเลขที่ขยะรีไซเคิลพลาสติกสามารถนาเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้จริงเพียง 9% ก็คงไม่ช่วย เพราะอีก 91%ก็จะไปสิ้นสุดที่หลุมฝังกลบ เตาเผาขยะหรือมหาสมุทรของเรา การเรียกร้องให้แบรนด์ยักษ์ใหญ่เหล่านี้หยุดการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวมาเป็นบรรจุภัณฑ์ของ สินค้าอุปโภคบริโภค เป็นเรื่องของเราทุกคน ทั้งประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ในการกาหนดนโยบาย ควบคุมและยุติมลพิษพลาสติกตัวร้ายเหล่านี้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต งบประมาณ -
  • 6. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์