SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน งาดารักษาโรคมะเร็ง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี ชั้น ม.6/10 เลขที่ 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทา นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี ชั้น ม.6/10 เลขที่ 8
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
งาดารักษาโรคมะเร็ง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Black Sesame Seeds
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การศึกษาวิจัยครั้งนี้และคณะแพทยศาสตร์มหาลัยวิทยาลัยเชียงใหม่ก็ได้เริ่มศึกษาวิจัยมาตั้งแต่ปี 2553
กระทั่งมาประสบความสาเร็จในปีนี้ โดยได้ค้นพบว่าในเมล็ดงาดา มีสารเซซามิน อยู่ภายในซึ่งสารตัวนี้สามารถที่จะ
ช่วยในการยับยั้งการพัฒนาโรคมะเร็ง ที่ถือเป็นโรคที่เกิดมากเป็นอันดับ 1 ในขณะนี้ซึ่งเซลล์มะเร็งนั้นจะแพร่กระจาย
ไปอย่างรวดเร็ว เพราะมีเส้นเลือดใหม่ที่เกิดขึ้นมาแล้วไปสร้างการหล่อเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็งนั้นๆ จากนั้นก็จะ
แพร่กระจายไปเรื่อยซึ่งสารเซซามิน ก็จะเข้าไปปกป้องเซลล์พร้อมกับตัดวงจรหรือลดเส้นเลือดใหม่ที่เป็นน้าเลี้ยงให้กับ
เซลล์มะเร็งพร้อมกับค่อยๆ ฟื้นฟูสภาพเซลล์ให้กลับคืนมา นอกจากนี้ เมล็ดงายังอุดมด้วยแร่ธาตุและวิตามินมากมาย
เช่น มีแคลเซียมสูง กว่านมวัวถึง 6 เท่า มีธาตุเหล็ก, แมกนีเซียม, สังกะสี, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซียม, ทองแดง และ
วิตามินบี ชนิดต่างๆ ที่ช่วยบารุงระบบประสาท การบริโภคงาดาเป็น ประจาจึงทาให้สุขภาพดี เพราะช่วยเสริมการ
ทางานของระบบต่างๆ ที่สาคัญในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น ระบบหัวใจ, หลอดเลือด, สมอง, ระบบประสาท, กระดูกและ
ฟัน, ผิว หนังและเส้นผม นอกจากนั้นยังช่วยให้นอนหลับ กระปรี้กระเปร่า ป้องกันโรค เหน็บชา ป้องกันอาการท้องผูก
รักษาโรคริดสีดวงทวาร และอีกมากมาย ฯลฯ ด้วย คุณค่าที่ประจักษ์มาช้านานนี้ งาจึงเป็นอาหารและยาที่ใช้กัน
แพร่หลายในแทบทุก ภูมิภาคของโลกสารสาคัญที่พบได้มากในงาดา คือ ลิกแนน (Lignans) โดยพบว่า sesame
lignan มีความสาคัญคือ ทาหน้าที่ในการป้องกันตัวจากแมลง และทาหน้าที่เป็น anti-oxidant และฆ่าแมลง
(Insecticides)ด้วย เซซามิน (Sesamin) เป็นสารลิกแนนที่มีมากที่สุดในเมล็ดงา ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติม
ในเรื่องสารสกัดจากงาดารักษาโรคมะเร็ง เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้เซซามินสารสกัดจากงาดาเพื่อรักษาโรคมะเร็ง
2.รู้จักประโยชน์ของงาดา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ขอบเขตการทาโครงงานเรื่อง งาดารักษาโรคมะเร็ง มีลักษณะ คือ สร้าง blogger สาหรับการเรียนรู้ เรื่อง
การรักษาโรคมะเร็งด้วยงาดา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
รศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ ได้ค้นพบว่าในเมล็ดงาดา มีสารเซซามิน อยู่ภายในซึ่งสารตัวนี้สามารถที่จะช่วยใน
การยับยั้งการพัฒนาโรคมะเร็ง ที่ถือเป็นโรคที่เกิดมากเป็นอันดับ 1 ในขณะนี้ซึ่งเซลล์มะเร็งนั้นจะแพร่กระจายไปอย่าง
รวดเร็ว เพราะมีเส้นเลือดใหม่ที่เกิดขึ้นมาแล้วไปสร้างการหล่อเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็งนั้นๆ จากนั้นก็จะแพร่กระจายไป
เรื่อยซึ่งสารเซซามิน ก็จะเข้าไปปกป้องเซลล์พร้อมกับตัดวงจรหรือลดเส้นเลือดใหม่ที่เป็นน้าเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็ง
พร้อมกับค่อยๆ ฟื้นฟูสภาพเซลล์ให้กลับคืนมา โดยผลการวิจัยในห้องทดลองที่ได้ร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท ได้
ทดสอบกับไข่ไก่ที่ปกติจากนั้นได้ทาการฉีดเซลล์หรือสารพิษเข้าไป ก็พบว่าไข่ไก่จะเกิดอาการเป็นพิษหรือคล้ายกับการ
เป็นมะเร็ง จากนั้นก็ทาการฉีดสารเซซามิน เข้าไปก็พบว่าการฟื้นฟูของเซลล์เริ่มกลับคืนมาและได้ทดสอบด้วยการฉีด
สารเซซามินเข้าไปในไข่ไก่ปกติ แล้วเมื่อเวลาผ่านไป 6ชั่วโมงถึงฉีดสารพิษ หรือเซลล์มะเร็งเข้าไป ก็พบว่ามีการปกป้อง
เซลล์ได้มากกว่าไข่ไก่ที่ไม่ถูกฉีดสารเซซามินอย่างเห็นได้ชัด ผู้ป่วยมะเร็งที่ต่อมน้าเหลืองขนาดใหญ่ ต้องผ่าตัด แต่
หลังจากนาสารสกัดไปทานร่วมกับยา ก็พบว่าเซลล์มะเร็งต่อมน้าเหลืองที่เป็นก้อนขนาดใหญ่ที่คอ ค่อย ๆ ยุบหายไป
โดยไม่ต้องผ่าตัด ส่วนในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็ง และอยู่ในขั้นตอนการรักษาด้วยการคีโมจนผมร่วง หลังทดลองทานควบคู่
กับยาที่ทานรักษาโรคมะเร็ง ล่าสุดผู้ป่วยรายนี้กลับมามีสุขภาพแข็งแรง ผมขึ้น และเซลล์มะเร็งที่ขยายตัวก็หยุดการ
เจริญเติบโต รศ. ดร.ปรัชญา กล่าวว่า งานวิจัยชิ้นนี้ถือประสบความสาเร็จอย่างมาก เพราะสามารถนาผลงานวิจัยที่
เคยอยู่บนหิ้งมาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ มีการนาเม็ดงามาสกัดผลิตเป็นอาหารเสริมได้โดยไม่มีผลข้างเคียง และยังดีต่อ
สุขภาพ โดยเฉพาะการค้นสารเซซามินที่อยู่ในเมล็ดงาดา
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
pimvipada
 

What's hot (19)

แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrata
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้าย
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
At1
At1At1
At1
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 

Similar to 2560 project (1) (1)

เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
Ploy Gntnd
 

Similar to 2560 project (1) (1) (20)

โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Work
WorkWork
Work
 
Work
WorkWork
Work
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานอุ้ม
แบบร่างโครงงานอุ้มแบบร่างโครงงานอุ้ม
แบบร่างโครงงานอุ้ม
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
1
11
1
 

More from charintip0204

โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆโครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
charintip0204
 
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงานการศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
charintip0204
 
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงานขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
charintip0204
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
charintip0204
 
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
charintip0204
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
charintip0204
 

More from charintip0204 (18)

comfortzone6
comfortzone6comfortzone6
comfortzone6
 
โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆโครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
 
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงานการศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงานขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
2560 project .pdf พิจิตรา สิทธิคำ
 
งานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอินงานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอิน
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 

2560 project (1) (1)

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน งาดารักษาโรคมะเร็ง ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี ชั้น ม.6/10 เลขที่ 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี ชั้น ม.6/10 เลขที่ 8 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) งาดารักษาโรคมะเร็ง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Black Sesame Seeds ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชรินทร์ทิพย์ หลักดี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การศึกษาวิจัยครั้งนี้และคณะแพทยศาสตร์มหาลัยวิทยาลัยเชียงใหม่ก็ได้เริ่มศึกษาวิจัยมาตั้งแต่ปี 2553 กระทั่งมาประสบความสาเร็จในปีนี้ โดยได้ค้นพบว่าในเมล็ดงาดา มีสารเซซามิน อยู่ภายในซึ่งสารตัวนี้สามารถที่จะ ช่วยในการยับยั้งการพัฒนาโรคมะเร็ง ที่ถือเป็นโรคที่เกิดมากเป็นอันดับ 1 ในขณะนี้ซึ่งเซลล์มะเร็งนั้นจะแพร่กระจาย ไปอย่างรวดเร็ว เพราะมีเส้นเลือดใหม่ที่เกิดขึ้นมาแล้วไปสร้างการหล่อเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็งนั้นๆ จากนั้นก็จะ แพร่กระจายไปเรื่อยซึ่งสารเซซามิน ก็จะเข้าไปปกป้องเซลล์พร้อมกับตัดวงจรหรือลดเส้นเลือดใหม่ที่เป็นน้าเลี้ยงให้กับ เซลล์มะเร็งพร้อมกับค่อยๆ ฟื้นฟูสภาพเซลล์ให้กลับคืนมา นอกจากนี้ เมล็ดงายังอุดมด้วยแร่ธาตุและวิตามินมากมาย เช่น มีแคลเซียมสูง กว่านมวัวถึง 6 เท่า มีธาตุเหล็ก, แมกนีเซียม, สังกะสี, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซียม, ทองแดง และ วิตามินบี ชนิดต่างๆ ที่ช่วยบารุงระบบประสาท การบริโภคงาดาเป็น ประจาจึงทาให้สุขภาพดี เพราะช่วยเสริมการ ทางานของระบบต่างๆ ที่สาคัญในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น ระบบหัวใจ, หลอดเลือด, สมอง, ระบบประสาท, กระดูกและ ฟัน, ผิว หนังและเส้นผม นอกจากนั้นยังช่วยให้นอนหลับ กระปรี้กระเปร่า ป้องกันโรค เหน็บชา ป้องกันอาการท้องผูก รักษาโรคริดสีดวงทวาร และอีกมากมาย ฯลฯ ด้วย คุณค่าที่ประจักษ์มาช้านานนี้ งาจึงเป็นอาหารและยาที่ใช้กัน แพร่หลายในแทบทุก ภูมิภาคของโลกสารสาคัญที่พบได้มากในงาดา คือ ลิกแนน (Lignans) โดยพบว่า sesame lignan มีความสาคัญคือ ทาหน้าที่ในการป้องกันตัวจากแมลง และทาหน้าที่เป็น anti-oxidant และฆ่าแมลง (Insecticides)ด้วย เซซามิน (Sesamin) เป็นสารลิกแนนที่มีมากที่สุดในเมล็ดงา ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติม ในเรื่องสารสกัดจากงาดารักษาโรคมะเร็ง เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้เซซามินสารสกัดจากงาดาเพื่อรักษาโรคมะเร็ง 2.รู้จักประโยชน์ของงาดา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ขอบเขตการทาโครงงานเรื่อง งาดารักษาโรคมะเร็ง มีลักษณะ คือ สร้าง blogger สาหรับการเรียนรู้ เรื่อง การรักษาโรคมะเร็งด้วยงาดา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) รศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ ได้ค้นพบว่าในเมล็ดงาดา มีสารเซซามิน อยู่ภายในซึ่งสารตัวนี้สามารถที่จะช่วยใน การยับยั้งการพัฒนาโรคมะเร็ง ที่ถือเป็นโรคที่เกิดมากเป็นอันดับ 1 ในขณะนี้ซึ่งเซลล์มะเร็งนั้นจะแพร่กระจายไปอย่าง รวดเร็ว เพราะมีเส้นเลือดใหม่ที่เกิดขึ้นมาแล้วไปสร้างการหล่อเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็งนั้นๆ จากนั้นก็จะแพร่กระจายไป เรื่อยซึ่งสารเซซามิน ก็จะเข้าไปปกป้องเซลล์พร้อมกับตัดวงจรหรือลดเส้นเลือดใหม่ที่เป็นน้าเลี้ยงให้กับเซลล์มะเร็ง พร้อมกับค่อยๆ ฟื้นฟูสภาพเซลล์ให้กลับคืนมา โดยผลการวิจัยในห้องทดลองที่ได้ร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท ได้ ทดสอบกับไข่ไก่ที่ปกติจากนั้นได้ทาการฉีดเซลล์หรือสารพิษเข้าไป ก็พบว่าไข่ไก่จะเกิดอาการเป็นพิษหรือคล้ายกับการ เป็นมะเร็ง จากนั้นก็ทาการฉีดสารเซซามิน เข้าไปก็พบว่าการฟื้นฟูของเซลล์เริ่มกลับคืนมาและได้ทดสอบด้วยการฉีด สารเซซามินเข้าไปในไข่ไก่ปกติ แล้วเมื่อเวลาผ่านไป 6ชั่วโมงถึงฉีดสารพิษ หรือเซลล์มะเร็งเข้าไป ก็พบว่ามีการปกป้อง เซลล์ได้มากกว่าไข่ไก่ที่ไม่ถูกฉีดสารเซซามินอย่างเห็นได้ชัด ผู้ป่วยมะเร็งที่ต่อมน้าเหลืองขนาดใหญ่ ต้องผ่าตัด แต่ หลังจากนาสารสกัดไปทานร่วมกับยา ก็พบว่าเซลล์มะเร็งต่อมน้าเหลืองที่เป็นก้อนขนาดใหญ่ที่คอ ค่อย ๆ ยุบหายไป โดยไม่ต้องผ่าตัด ส่วนในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็ง และอยู่ในขั้นตอนการรักษาด้วยการคีโมจนผมร่วง หลังทดลองทานควบคู่ กับยาที่ทานรักษาโรคมะเร็ง ล่าสุดผู้ป่วยรายนี้กลับมามีสุขภาพแข็งแรง ผมขึ้น และเซลล์มะเร็งที่ขยายตัวก็หยุดการ เจริญเติบโต รศ. ดร.ปรัชญา กล่าวว่า งานวิจัยชิ้นนี้ถือประสบความสาเร็จอย่างมาก เพราะสามารถนาผลงานวิจัยที่ เคยอยู่บนหิ้งมาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ มีการนาเม็ดงามาสกัดผลิตเป็นอาหารเสริมได้โดยไม่มีผลข้างเคียง และยังดีต่อ สุขภาพ โดยเฉพาะการค้นสารเซซามินที่อยู่ในเมล็ดงาดา
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________