SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ :
นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น
นำยฮำกีม ผูหำดำ
นักวิจัยอิสระ
ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
รำยละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
บรรณำธิกำร: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้เขียน : นายฮากีม ผูหาดา
ผู้ช่วยบรรณำธิกำร : อุสมาน วาจิ
ภำพปก : http://assets.inhabitat.com/wp-content/blogs.dir/1/files/2015/10/Fukushima-Daiichi-
nuclear-power-plant.jpg
เผยแพร่ : ตุลาคม 2560
ที่อยู่
สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
1
ที่มาภาพ http://www.infiniteunknown.net/2011/03/12/japan-fallout-map-from-destroyed-fukushima-daiichi-nuclear-plant/
การทดสอบยิงขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 15 กันยายนที่ผ่านมา มีทิศทางมุ่ง
ตรงไปทางภาคเหนือของประเทศญี่ปุ่นโดยข้ามจังหวัด Hokkaido แล้วไปตกลงในมหาสมุทรแปซิฟิก
นับเป็นการยิงขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือที่มุ่งตรงไปทางญี่ปุ่ นเป็นครั้งที่สองในรอบสองสัปดาห์
นอกจากนี้เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2017 เกาหลีเหนือยังได้ทาการทดสอบขีปนาวุธข้ามทวีป
(intercontinental ballistic missile หรือ ICBM) สาเร็จเป็นครั้งแรก โดยทางการเกาหลีเหนืออ้างว่า
สามารถยิงไปที่ไหนก็ได้ทั่วโลก1
และยังอ้างว่าได้ประสบความสาเร็จในการบรรจุระเบิดไฮโดรเจน
(hydrogen bomb) เข้ากับหัวรบของขีปนาวุธข้ามทวีปอีกด้วย ทั้งนี้ เฉพาะในปี 2017 เกาหลีเหนือได้
ทดสอบขีปนาวุธมาแล้วกว่า 15 ครั้ง อย่างไรก็ตาม นักวิชาการยังคงตั้งข้อสังเกตต่อคาอ้างของเกาหลี
เหนือ เพราะกระบวนการบรรจุระเบิดไฮโดรเจนเข้ากับหัวรบเป็นเรื่องยาก และการบังคับให้ขีปนาวุธ
ข้ามทวีปที่มีหัวรบเป็นระเบิดไฮโดรเจนเข้าเป้าหมายก็ไม่ใช่เรื่องง่ายอีกเช่นกัน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การทดสอบขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือข้างต้นเป็นการโหมไฟให้กับความ(ไม่)มั่นคงของ
โลก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อนบ้านของเกาหลีเหนือ
อย่างประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นทางผ่านของเส้นทางการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลีเหนืออยู่บ่อยครั้ง
ส่งผลให้ผู้คนบริเวณพื้นที่เสี่ยงต้องอพยพหาที่หลบภัย เนื่องจากหวาดระแวงกับการมีขีปนาวุธ
บินผ่านที่อยู่อาศัยของตัวเองอยู่เสมอ ปรากฏการณ์ดังกล่าวทาให้สังคมญี่ปุ่นและนานาชาติหัน
มาให้ความสนใจกับประเด็นการเสริมสร้างความมั่นคงของญี่ปุ่นเพื่อป้องกันและรับประกันการ
โจมตีจากเกาหลีเหนือ ประเด็นหนึ่งที่ถูกถกเถียงกันมากคือเรื่องการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของ
ญี่ปุ่ น เอาเข้าจริงแล้วญี่ปุ่ นจัดได้ว่าเป็นประเทศที่เสมือนมีอาวุธนิวเคลียร์ (virtual nuclear
weapons state) ด้วยเหตุผลจากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานนิวเคลียร์ที่มีความก้าวหน้า ญี่ปุ่น
จึงมีความพร้อมอย่างมากในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์แต่โครงการดังกล่าวก็ไม่เกิดขึ้น ประเด็น
นี้จึงเป็นที่น่าศึกษาอย่างยิ่งถึงสาเหตุที่ญี่ปุ่นละเว้นโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อการทหาร
และดาเนินนโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (nonproliferation policy)
Scott Sagan ในงานเขียน “Why Do States Build Nuclear Weapons?” ได้ตอบคาถาม
และเสนอต้นแบบ (model) 3 ต้นแบบที่เป็นเหตุผลให้แต่ละรัฐเลือกที่จะพัฒนาหรือยกเลิก
โครงการอาวุธนิวเคลียร์ไว้อย่างน่าสนใจ อันได้แก่ ต้นแบบด้านความมั่นคง (the Security
Model) ต้นแบบด้านการเมืองภายในประเทศ (the Domestic Model) และต้นแบบด้านบรรทัด
ฐาน (the Norm Model) งานเขียนของ Sagan สาคัญตรงที่ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายของ
สาเหตุ (multicausality) ซึ่งจะช่วยให้สามารถคาดการณ์หรือป้ องกันแนวโน้มในการดาเนิน
นโยบายด้านอาวุธนิวเคลียร์ของแต่ละรัฐได้อย่างเที่ยงตรงมากขึ้น อันเป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง
เงื่อนไขเพื่อหยุดการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ในรัฐต่างๆ ดังนั้น บทความชิ้นนี้จึงนาต้นแบบทั้ง
สามของ Sagan มาใช้วิเคราะห์และประเมินถึงข้อจากัดที่ขัดขวางการพัฒนาโครงการอาวุธ
นิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นที่ทาให้ญี่ปุ่ นยังคงดาเนินนโยบายอาวุธนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม (traditional
nuclear policy) จนถึงปัจจุบัน
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาภาพ https://static01.nyt.com/images/2017/09/17/world/17nkorea/17nkorea-master768.jpg
ควำมมั่นคงของญี่ปุ่ นในยุคสงครำมนิวเคลียร์
นักคิดจากสานักสภาพจริงนิยมใหม่ (neorealism) ให้ความเห็นว่าโครงสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตย ดังนั้นการสร้างความมั่นคงและการช่วยเหลือตัวเองจะเป็น
การรับประกันอธิปไตยและความอยู่รอดของรัฐภายใต้โครงสร้างดังกล่าว ทั้งนี้ ต้นแบบด้านความ
มั่นคงเห็นว่าการสร้างความมั่นคงของรัฐภายใต้ยุคสงครามนิวเคลียร์มีสองทางเลือกคือ 1) การสร้าง
อาวุธนิวเคลียร์เป็นของตัวเอง และ 2) การเป็นพันธมิตรกับรัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์ โดยตัวอย่างรัฐที่
ตัดสินใจพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ด้วยเหตุผลของการถูกคุกคามจากภายนอก (external
threats) เช่น จีนที่พัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่จะถูกโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์
จากสหรัฐฯ หลังจากสงครามเกาหลีและในช่วงสงครามช่องแคบไต้หวัน และปากีสถานที่เร่งรัด
โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์หลังจากเพื่อนบ้านที่เป็นศัตรูอย่างอินเดียประสบความสาเร็จใน
โครงการอาวุธนิวเคลียร์เมื่อปี 1974 เป็นต้น ขณะเดียวกัน ยังมีตัวอย่างรัฐที่ตัดสินใจยกเลิกโครงการ
นิวเคลียร์ด้วยเหตุผลจากการไม่มีภัยคุกคามจากภายนอก เช่น แอฟริกาใต้ที่ทาลายอาวุธนิวเคลียร์
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ขนาดเล็กเมื่อปี 1991 เนื่องจากภัยคุกคามจากกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตเพื่อ
โจมตีแอฟริกาได้อ่อนลง หรืออดีตประเทศที่เคยอยู่ภายใต้สหภาพโซเวียต อย่าง ยูเครน คาซัคสถาน
และเบลารุส ซึ่งเคยมีโครงการอาวุธนิวเคลียร์ในช่วงที่อยู่ภายใต้สหภาพโซเวียต แต่สุดท้ายก็ล้มเลิก
โครงการเนื่องจากกลุ่มประเทศดังกล่าวไม่ได้มองว่ารัฐบาลมอสโคเป็นภัยต่อความมั่นคง ประกอบกับ
การที่สหรัฐฯ ได้รับรองความมั่นคงให้กับประเทศเหล่านั้น จึงไม่จาเป็นต้องพัฒนาโครงการอาวุธ
นิวเคลียร์ต่อไป
ในกรณีของญี่ปุ่ นนั้นเป็นที่ชัดเจนว่าความสัมพันธ์ของญี่ปุ่ นกับประเทศเพื่อนบ้านซึ่ง
ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์อย่าง จีน รัสเซีย และเกาหลีเหนือเป็นไปอย่างย่าแย่ แม้ว่าจะมีการ
พยายามพัฒนาความสัมพันธ์ก็ตาม แต่การที่เกาหลีเหนือได้ทดสอบยิงขีปนาวุธข้ามญี่ปุ่น ตลอดจน
การอ้างว่าสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการบรรจุไฮโดรเจนเข้ากับขีปนาวุธข้ามทวีปได้สาเร็จ
อย่างที่ได้กล่าวไว้แล้วนั้นถือเป็นภัยคุมคามขั้นสูงสุดที่ญี่ปุ่ นกังวล อย่างไรก็ตาม ภัยคุมคามจาก
ภายนอกสามารถบรรเทาได้ด้วยการสร้างพันธมิตรทั้งรูปแบบทวิภาคีหรือพหุภาคีกับประเทศที่มีอาวุธ
นิวเคลียร์ สาหรับญี่ปุ่นแล้วการเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาคือการการันตีว่าญี่ปุ่นจะอยู่ภายใต้ร่ม
การคุ้มครองโดยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐฯ (the US Nuclear Umbrella) ผ่านข้อตกลง The US-
Japan Security Treaty ที่ได้ลงนามเมื่อปี 1951 และพัฒนาเป็น The Treaty of Mutual Cooperation
and Security ในปี 1960 โดยมีการรับรองว่าญี่ปุ่ นจะอยู่ภายใต้ความคุ้มครองอาวุธนิวเคลียร์ของ
สหรัฐฯ และด้วยเหตุนี้ ญี่ปุ่นจึงไม่มีความจาเป็นต้องพัฒนาและสร้างอาวุธนิวเคลียร์เป็นของตัวเอง
นอกจากนี้ ภายใต้ต้นแบบด้านความมั่นคง Non-proliferation of Nuclear Weapons Treaty
(NPT) เป็นสถาบันหนึ่งที่ช่วยให้รัฐละเว้นจากการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ด้วยการที่สนธิสัญญาดังกล่าว
ช่วยสร้างความมั่นใจให้กับแต่ละรัฐว่า NPT จะเป็นตัวกลางที่ให้คุณ/โทษแก่รัฐที่ดาเนินตามแนวทาง
ของสถาบันนี้ ซึ่งญี่ปุ่ นนั้นได้ลงนามเป็นสมาชิกของสนธิสัญญา NPT ตั้งแต่ปี 1970 และได้มีการ
บังคับใช้เป็นกฎหมายภายในประเทศเมื่อปี 1976 จึงเป็นการผูกมัดว่าญี่ปุ่นจะเป็น “ประเทศที่ไม่มี
ไม่ผลิต ไม่รับอาวุธนิวเคลียร์” อีกทั้งญี่ปุ่นยังได้ลงนามในสนธิสัญญา the Comprehensive Nuclear-
Test-Ban Treaty (CTBT) เมื่อปี 1996 อันจะเป็นอีกหนึ่งกลไกระหว่างประเทศที่จากัดการพัฒนา
และทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น การเป็นสมาชิกของทั้งสองข้อตกลงนี้เป็นการยอมรับว่าญี่ปุ่นจะ
ร่วมรณรงค์ควบคุมอาวุธและห้ามการเผยแพร่อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ โดยเมื่อปี
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1989 ญี่ปุ่ นได้เป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม the UN Conference on Disarmament Issue ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นที่ทาให้ญี่ปุ่ นสนับสนุนการอบรมบุคลากรในประเทศกาลังพัฒนาเพื่อทางานควบคุมการ
จากัดอาวุธและยับยั้งการแพร่ขยายของอาวุธนิวเคลียร์
กลไกทำงกฎหมำยและกำรเมืองของญี่ปุ่ น
ต้นแบบด้านการเมืองภายในประเทศเสนอว่าการตอบสนองผลประโยชน์เฉพาะอย่างในทาง
การเมือง โครงสร้างการเมือง และกฎหมายภายในประเทศ ก็สามารถเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทาให้แต่ละ
ประเทศดาเนินการสร้างหรืองดเว้นโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ด้วยการสร้างเงื่อนไขทางการเมืองที่
ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อย่างในกรณีของอินเดียที่มีคาสั่งพัฒนาโครงการอาวุธ
นิวเคลียร์ในสมัยรัฐบาล Indira Gandhi เมื่อปี 1974 มีการวิเคราะห์ว่าการตัดสินใจพัฒนาอาวุธ
นิวเคลียร์มาจากการที่นาง Gandhi ได้รับคาแนะนาจากกลุ่มที่ปรึกษาและนักวิทยาศาสตร์กลุ่มเล็กๆ
ว่าโครงการดังกล่าวจะใช้ต้นทุนต่าและมีประโยชน์ต่ออินเดีย โดยก่อนหน้านี้กลุ่มคนดังกล่าวได้
แนะนาให้แก่นายกรัฐมนตรี Lal Bahadur Shastri แต่ก็ถูกปฏิเสธ หลังจากที่มีการพัฒนาและทดสอบ
อาวุธนิวเคลียร์สาเร็จแล้วพบว่าคะแนนนิยมทางการเมืองของนาง Gandhi พุ่งสูงขึ้นอย่างมากจากที่
เคยตกต่าในช่วงปี 1973-1974 ก่อนการดาเนินโครงการอาวุธนิวเคลียร์ นอกจากนี้ยังเป็นที่ทราบ
กันดีว่ายุคของนาง Gandhi ถือเป็นยุคอานาจนิยมที่มีการประกาศภาวะฉุกเฉินทั่วทั้งอินเดีย แสดงให้
เห็นว่ากลไกตรวจสอบถ่วงดุลในขณะนั้นมีความอ่อนแอและส่งผลให้อานาจการตัดสินใจผูกขาดอยู่ที่
นายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียว
สาหรับญี่ปุ่นแล้วกลไกทางการเมืองและกฎหมายภายในประเทศที่จากัดการพัฒนาโครงการ
อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นนั้นมีสามประการ ประการแรกคือ the Three Non-nuclear Principles ซึ่ง
เป็นกฎเกณฑ์ที่ระบุว่าญี่ปุ่นจะไม่ครอบครอง ไม่ผลิต และไม่อนุญาตให้มีการแนะนาอาวุธนิวเคลียร์
ในประเทศ อย่างไรก็ตาม the Three Non-nuclear Principles ไม่ได้ถือเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย
แต่สภาไดเอทแห่งชาติ (National Diet) ของญี่ปุ่นได้เสนอว่าเป็นเพียงการแสดงออกถึงเจตนารมณ์
ของรัฐบาลในการดาเนินนโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้น the Three Non-nuclear Princi-
ples จึงไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประการที่สองคือ the Basic Law on Atomic Energy ซึ่งได้ประกาศบังคับใช้เมื่อปี 1955
และถือเป็นกฎหมายที่ควบคุมจัดการให้การใช้พลังงานนิวเคลียร์เป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของพลเรือน
เท่านั้น โดยบทบัญญัติที่ 2 ของกฎหมายดังกล่าวระบุว่า การวิจัย พัฒนา และใช้พลังงานนิวเคลียร์
จะต้องถูกจากัดเฉพาะวัตถุประสงค์เพื่อสันติและจะต้องถูกจัดการภายใต้ระบอบประชาธิปไตย2
กฎหมายนี้มีศักยภาพในการจากัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นในสองทางคือ 1)การ
เปลี่ยนแปลงและแก้ไขกฎหมายดังกล่าวจะต้องผ่านกระบวนการสภา ซึ่งเป็นการลดโอกาสในการ
แก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อความนอกเหนือจากที่กฎหมายระบุไว้ และ 2)กฎหมายได้กาหนดให้ก่อตั้ง
the Atomic Energy Commission ซึ่งเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยภาคพลเรือน และต้องมีการรายงาน
เกี่ยวกับการใช้พลังงานนิวเคลียร์ให้คณะรัฐมนตรีรับทราบ
ประการที่สามคือ ตัวแสดงในการยับยั้ง (veto players) ในโครงสร้างทางการเมืองของญี่ปุ่น
กล่าวคือโครงสร้างทางการเมืองของญี่ปุ่นถูกออกแบบตามแนวคิด Ceteris paribus เป็นแนวคิดที่ให้มี
หลายตัวแสดงที่มีบทบาทยับยั้งทัดทาน ซึ่งการมีตัวแสดงยับยั้งหลายตาแหน่งจะเป็นการปิดโอกาสให้
นักการเมืองหรือรัฐบาลตัดสินใจพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์เพื่อสนองผลประโยชน์เฉพาะตน3
อย่างน้อยที่สุดการมีอยู่ของตัวแสดงยับยั้งหลายตัวทาให้ญี่ปุ่นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงนโยบายอย่าง
สุดขั้วโดยไม่มีการถกเถียงหรือการอภิปรายทางการเมือง และยังขยายเวลาให้ตัวแสดงในต่างประเทศ
ได้เข้ามาแสดงความเห็น โดยตั้งแต่ทศวรรษ 1950 ได้มีการเพิ่มขึ้นของตัวแสดงยับยั้งในหมู่นักวาง
นโยบายนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น จากเดิมที่นายกรัฐมนตรี Yasuhiro Nakasone ได้วางโครงสร้างกิจการ
นิวเคลียร์ในลักษณะพิระมิดที่นายกรัฐมนตรีมีอานาจเต็มในการรับผิดชอบและตัดสินใจในกิจการ
นิวเคลียร์ โดยในปี 1954 รัฐบาล Nakasone ได้ก่อตั้ง the Preparatory Council for the Use of
Atomic Energy และได้มีการผ่านกฎหมายหลายฉบับเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินโครงสร้าง
กิจการอาวุธนิวเคลียร์ในปี 1955 อีกทั้งยังได้ก่อตั้ง the Atomic Energy Council และ the Science
and Technology Agency (STA) ด้วยหวังว่าจะมีโครงสร้างในลักษณะบังคับบัญชา (top-down)
และเป็นองค์การที่ใช้รัฐเป็นศูนย์กลาง (statecentric) แต่ Nakasone ก็ต้องผิดหวังเนื่องจาก
Matsutaro Shoriki ผู้ที่ Nakasone แต่งตั้งให้เป็ นประธานของ AEC และ STA ต้องการให้
ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ จึงเป็นจุดเริ่มต้นของตัวแสดงยับยั้งไม่ให้เกิดโครงการพัฒนา
อาวุธนิวเคลียร์ แต่เป็นการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจแทน เช่น การดึง
บริษัท the Tokyo Electric Power Company (TEPCO) เข้ามามีส่วนร่วม หรือการสร้าง the Power
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Reactor and Nuclear Fuel Corporation ในปี 1967 ซึ่งเป็นบริษัทที่ร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน
เพื่อใช้นิวเคลียร์ในมิติพลังงาน นอกจากนี้เมื่อปี 1978 กระทรวงการค้าระหว่างประเทศและ
อุตสาหกรรม (MITI) ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม (METI)
ก็เป็นหนึ่งในตัวแสดงยับยั้งที่มีอานาจในระบบราชการ โดยมีอานาจในการรับรองและอนุญาตการ
ก่อสร้างฐานการผลิตพลังงานนิวเคลียร์อันเป็นการยืนยันว่าพลังงานนิวเคลียร์จะไม่ถูกใช้เพื่อ
การทหาร
ญี่ปุ่ นในฐำนะประเทศที่รักสงบ
ในความเห็นของ Sagan อาวุธนิวเคลียร์เป็นมากกว่าเครื่องมือที่ถูกใช้เพื่อรับประกันความ
มั่นคงของชาติ แต่อาวุธนิวเคลียร์ยังทาหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ที่บ่งชี้ถึงบรรทัดฐานความเป็นสมัยใหม่
ความเป็นเอกราช และอัตลักษณ์ของชาติอีกด้วย กรณีการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของฝรั่งเศสจาก
ทัศนคติของผู้นาฝรั่งเศสอย่างประธานาธิบดี Charles de Gaulle ที่เห็นถึงความสาคัญทางสัญลักษณ์
ของอาวุธนิวเคลียร์ โดยมีความเชื่อว่าการเป็นประเทศที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์คือการแสดงถึง
ความเป็นเอกราชของฝรั่งเศสและการมีสถานะเป็นมหาอานาจในระบบการเมืองระหว่างประเทศ
ขณะเดียวกัน การล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครนเป็นอีกกรณีหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าอาวุธ
นิวเคลียร์เป็นสัญลักษณ์ของเอกราชจากการถูกครอบงาโดยนโยบายอาวุธนิวเคลียร์ของรัสเซีย
ตลอดจนการไม่อยากถูกมองจากนานาชาติว่าเป็น “รัฐอันธพาล” อย่างเช่น เกาหลีเหนือ อิหร่าน และ
อิรัก
ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อัตลักษณ์ของชาติญี่ปุ่ นคือการมุ่งสนใจในแนวคิด
“รัฐสันติ” (peace state) หรือ heiwa kokka4
ในภาษาญี่ปุ่น โดยแนวคิดนี้เกิดจากการใคร่ครวญผล
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากแนวคิดทหารนิยมในช่วงก่อนปี 1945 ภายหลังอัตลักษณ์และแนวคิดรัฐ
สันติได้ถูกบรรจุเข้าสู่บทบัญญัติที่ 9 ของรัฐธรรมนูญญี่ปุ่ นที่ยกเลิกสิทธิในการทาสงคราม และ
นโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ก็เป็นหนึ่งในแนวคิดหลักที่ว่าด้วย “รัฐสันติ” นี้เช่นกัน จากการที่
ญี่ปุ่นเป็นประเทศเดียวในโลกที่ผ่านประสบการณ์อันเลวร้ายจากการถูกโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ทา
ให้ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่เชื่อว่าพวกเขามีภารกิจทางศีลธรรมในการเตือนมนุษยชาติถึงอานาจทาลายล้าง
ของอาวุธนิวเคลียร์จากบทเรียนที่ฮิโรชิม่าและนางาซากิ ทั้งนี้ ทัศนคติว่าด้วยการต่อต้านอาวุธ
นิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่นมาจากการกล่อมเกลาผ่านโครงการทางการศึกษา วัฒนธรรมสมัยนิยม และพิธี
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การสาธารณะต่างๆ ที่เป็นการยืนยันว่าประสบการณ์ที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิจะไม่ถูกลืมเลือน
นอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์ที่ส่งผลให้เกิดขบวนการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นนั่นคือการทดสอบ
อาวุธนิวเคลียร์โดยสหรัฐฯ บนเกาะ Bikini Island มหาสมุทรแปซิฟิ ก เมื่อปี 1954 ซึ่งส่งผลให้
เรือประมงญี่ปุ่ นได้รับการปนเปื้ อนจากสารกัมมันตภาพรังสีหรือรังสีนิวเคลียร์ จึงเป็นการเพิ่ม
ความรู้สึกในทางลบต่ออาวุธนิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่นมากขึ้นไปอีก
หลังจากที่ญี่ปุ่นได้ลงนามในสนธิสัญญา NPT ทาให้อัตลักษณ์การต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ใน
ญี่ปุ่นเข้มแข็งยิ่งขึ้น โดยญี่ปุ่นได้รับการสนับสนุนเงินทุนและทรัพยากรบุคคลเพื่อเชื่อมโยงนโยบาย
อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นเข้ากับประสบการณ์ความเสียหายที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิ โดยเมืองฮิโร
ชิม่าได้ลงทุนในแต่ละปีประมาณ 2 พันล้านเยน (18.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ผ่านมูลนิธิ Peace Cul-
tural Foundation ในการรณรงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากสงครามนิวเคลียร์ในระดับ
มหาวิทยาลัยทั่วโลก การจัดนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์ และล็อบบี้ยิสต์ในการประชุมเทศบาล ในแต่ละ
ปีนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นจะเข้าร่วมในกิจกรรมดังกล่าวที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิ และประกาศว่า
ญี่ปุ่นเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีประสบการณ์เป็นเหยื่อของอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งญี่ปุ่ นจะรณรงค์การ
ปลดอาวุธทั่วโลกต่อไป
กิจกรรมข้างต้นแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ Maria Rublee ใช้ในการวิเคราะห์ภาษาของจิตวิทยา
สังคมว่า “ผู้คนส่วนใหญ่ในญี่ปุ่น นักการเมืองทั้งหลาย ตลอดจนนักนโยบายต่างประเทศได้ถูกชักจูง
ให้คิดว่าอาวุธนิวเคลียร์เป็นสิ่งที่ผิดทางศีลธรรม และจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมายในทาง
การเมืองหรือเป็นเครื่องมือทางทหารก็ตาม”5
หลักฐานที่ยืนยันว่าชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีอัตลักษณ์ต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์นั้น แสดงออกได้จาก
ผลสารวจสาธารณะ (public poll) ตั้งแต่หลังสงครามเย็นเป็นต้นมา และแม้กระทั่งหลังจากที่เกาหลี
เหนือกลายเป็นรัฐนิวเคลียร์ (nuclear state) โดยผลการสารวจแสดงให้เห็นว่าชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่
ยังคงไม่เห็นด้วยกับการที่ญี่ปุ่นจะพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ เช่น ผลสารวจความเห็นของชาว
ญี่ปุ่นหลังจากที่เกาหลีเหนือได้ปล่อยดาวเทียมเมื่อปี 2009 พบว่า คนญี่ปุ่นร้อยละ 19.4 สนับสนุน
ให้ญี่ปุ่นพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ในขณะที่เสียงส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 72.8 ไม่เห็นด้วย6
Llewelyn Hughes ผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นได้วิเคราะห์ว่า “ความเห็นสาธารณะของชาวญี่ปุ่นจะยังคง
เป็นข้อจากัดในการเปลี่ยนแปลงนโยบายอาวุธนิวเคลียร์ที่สาคัญ แม้ว่าญี่ปุ่นจะไม่มีสหรัฐฯ เป็น
พันธมิตรก็ตาม”7
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
พลวัตรทั้งสำมต้นแบบ
เมื่อพิจารณาจากกรณีการดาเนินนโยบายไม่เผยแพร่อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นที่มีต้นแบบทั้ง
สามเป็นข้อจากัดที่รัดกุมและแข็งแรง อีกทั้งยังเกี่ยวพันกันจนดูเหมือนว่าต้นแบบทั้งสามไม่อาจ
เปลี่ยนแปลงหรือถูกทาลายลงได้ แต่ในข้อเท็จจริงแล้วต้นแบบทั้งสามต่างก็มีพลวัตรเป็นของตัวเอง
และพร้อมจะเปลี่ยนแปลงได้เสมอ อย่างความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่ นกับสหรัฐฯ เองที่ไม่ได้ราบรื่น
เสมอไปแม้จะถูกมองว่าเป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิดกันมากที่สุด โดยเหตุการณ์ที่ทาให้ความสัมพันธ์ของ
ทั้งสองประเทศมีความอ่อนไหวครั้งล่าสุดคือการที่นาย Donald Trump ในขณะที่เป็นผู้สมัครชิง
ตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้หาเสียงโจมตีนโยบายการค้าของญี่ปุ่นและกล่าวหาญี่ปุ่นว่าไม่ลงทุน
งบประมาณเพื่อป้องกันประเทศตัวเอง อย่างไรก็ตามนายกรัฐมนตรี Shinzo Abe ของญี่ปุ่นก็ได้ปรับ
ความเข้าใจกับประธานาธิบดี Trump และออกมาประกาศว่าความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงของทั้งสอง
ประเทศยังคงมีความสาคัญ อีกทั้งวอชิงตังยังคงมีความรับผิดชอบในการปกป้องญี่ปุ่นจากภัยคุมคาม
ต่างๆ และญี่ปุ่นจะยังอยู่ภายใต้ร่มอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐฯ8
กฎ the Three Non-nuclear Principles เองก็ดูเหมือนจะถูกละเมิดไปแล้วในกฎข้อที่สามที่ว่า
ด้วยการไม่อนุญาตให้มีการแนะนาอาวุธนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น โดยในช่วงสงครามเย็นที่รัฐบาล Eisaku
Sato ได้มีข้อตกลงลับที่อนุญาตให้สหรัฐฯ สร้างสถานีอาวุธนิวเคลียร์บนเกาะโอกินาว่าได้หากมีเหตุ
ฉุกเฉิน นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2016 นายกรัฐมนตรี Abe ไม่ได้ให้คาสัญญาว่าจะทาตามกฎ
the Three Non-nuclear Principles ระหว่างการกล่าวปาฐกถาประจาปี เพื่อราลึกถึงเหยื่อ
ผู้เคราะห์ร้ายจากการโจมตีโดยระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิม่า9
ในส่วนของ the Basic Law on Atomic
Energy ก็ได้มีการแก้ไขเมื่อปี 2012 โดยมีการระบุว่าพลังงานนิวเคลียร์ควรมีส่วนในการใช้เพื่อ
“ความมั่นคงของชาติ”10
ทาให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์และข้อถกเถียงทั้งในและต่างประเทศถึง
ความตั้งใจที่แท้จริงในการแก้ไขกฎหมายนั้น โดยมีกระแสออกมาว่าข้อความที่ระบุถึง “ความมั่นคง
ของชาติ” สามารถเบิกทางให้ญี่ปุ่ นพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ในอนาคต ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกทาง
กฎหมายเองยังเปิดช่องให้มีการแก้ไขได้หากสถานการณ์เปลี่ยนไป
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เช่นเดียวกับอัตลักษณ์ที่ว่าด้วยการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่ นที่แม้จะดูคงทีแต่ก็มี
ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เห็นได้จากเดิมที่ประเด็นเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์เป็น
เรื่องต้องห้ามในการพูดคุยถกเถียงในญี่ปุ่ น (nuclear taboo) แต่ปัจจุบันการแสดงความเห็นและ
ถกเถียงในประเด็นดังกล่าวมีมากขึ้นถึงขั้นว่ามีเสียงสนับสนุนให้ญี่ปุ่นพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์
เลยทีเดียว
สรุปแล้วถึงแม้แต่ละต้นแบบจะมีพลวัตรและความเปลี่ยนแปลงภายในตัวเองก็ตาม แต่การที่
ญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายอาวุธนิวเคลียร์แบบดั้งเดิมจนถึงปัจจุบันก็เป็นหลักฐานที่บ่งชี้ว่าต้นแบบทั้ง
สามยังคงทางานจากัดการพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นได้อย่างแข็งขัน และการดาเนิน
นโยบายนิวเคลียร์แบบดั้งเดิมก็ยังไม่อาจถูกทาลายได้ ทั้งนี้ ญี่ปุ่นเป็นประเทศสาคัญในการกาหนด
ความมั่นคงของภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีการคาดการณ์ว่าหากญี่ปุ่ นผลักดันตัวเองไปสู่การเป็น
ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์แล้ว ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอย่างเกาหลีใต้และไต้หวันก็มีแนวโน้มที่จะ
พัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ด้วยเช่นกัน ซึ่งจะส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเต็มไปด้วยการ
แข่งขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียร์ที่จะเป็นการเพิ่มความตึงเครียดให้กับภูมิภาค ดังนั้น การศึกษา
ต้นแบบข้อจากัดข้างต้นสามารถนามาเป็นบทเรียนให้กับนักนโยบายที่วางยุทธศาสตร์หยุดการแพร่
ขยายอาวุธนิวเคลียร์ให้กับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นแบบอย่างและสร้างสันติภาพให้กับโลกที่ปราศจาก
อาวุธนิวเคลียร์ในอนาคตได้
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
[1] Joshua Berlinger (2017), North Korea’s missile tests by the numbers, accessed on 22 September 2017 <http://
edition.cnn.com/2017/05/29/asia/north-korea-missile-tests/index.html>
[2] Atomic Energy Basic Act, accessed on 22 September 2017 <http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/
detail_main?re=02&vm=2&id=2233#en_ch1at2>
[3] Jacques Hymans (2011), “Veto Players, Nuclear Energy, and Nonproliferation”, International Security, 36(2), pp.
160
[4] Mike Mochizuki (2007), “Japan Tests the Nuclear Taboo”, Nonproliferation Review, 14 (2), pp. 306
[5] Maria Rublee (2009), Nonproliferation Norms: Why States Choose Nuclear Restraint, Georgia: University of Geor-
gia Press, pp. 79
[6] William Larn (2014), The Future of Japan’s Non-nuclear Weapons Status, accessed on 18 April 2017 <http://
www.internationalaffairs.org.au/the-future-of-japans-non-nuclear-weapons-status/>
[7] Maria Rublee (2009), Nonproliferation Norms: Why States Choose Nuclear Restraint, Georgia: University of Geor-
gia Press, pp. 80
[8] Julian Ryall (2017), Why Japan is Relieved about Trump, accessed on 18 April 2017 <http://www.scmp.com/week-
asia/geopolitics/article/2071849/why-japan-relieved-about-trump>
[9] Reiji Yoshida (2015), Exclusion of Nonnuclear Principles from Abe’s Hiroshima Speech Causes Stir, accessed on
18 April 2017 <http://www.japantimes.co.jp/news/2015/08/06/national/politics-diplomacy/exclusion-nonnuclear-
principles-abes-hiroshima-speech-causes-stir/#.WPtppvmGPIU>
[10] Bonny Lin (2015), “Chinese Views of Japanese Nuclear Capabilities and Ambitions”, Nuclear Scholars Initiative,
pp. 104
ข้อจำกัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น

More Related Content

What's hot

F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
on2539
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
Makiya Khompong
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
 

What's hot (20)

o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 

Similar to ข้อจำกัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น

Similar to ข้อจำกัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น (6)

ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
 
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตคาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
 
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
 
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
 
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกสงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
สงกรานต์ที่ปากีสถาน : ทัศนศึกษาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
 

More from Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ข้อจำกัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น

  • 1. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น นำยฮำกีม ผูหำดำ นักวิจัยอิสระ
  • 2. ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รำยละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com บรรณำธิกำร: ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้เขียน : นายฮากีม ผูหาดา ผู้ช่วยบรรณำธิกำร : อุสมาน วาจิ ภำพปก : http://assets.inhabitat.com/wp-content/blogs.dir/1/files/2015/10/Fukushima-Daiichi- nuclear-power-plant.jpg เผยแพร่ : ตุลาคม 2560 ที่อยู่ สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
  • 3. 1 ที่มาภาพ http://www.infiniteunknown.net/2011/03/12/japan-fallout-map-from-destroyed-fukushima-daiichi-nuclear-plant/ การทดสอบยิงขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 15 กันยายนที่ผ่านมา มีทิศทางมุ่ง ตรงไปทางภาคเหนือของประเทศญี่ปุ่นโดยข้ามจังหวัด Hokkaido แล้วไปตกลงในมหาสมุทรแปซิฟิก นับเป็นการยิงขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือที่มุ่งตรงไปทางญี่ปุ่ นเป็นครั้งที่สองในรอบสองสัปดาห์ นอกจากนี้เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2017 เกาหลีเหนือยังได้ทาการทดสอบขีปนาวุธข้ามทวีป (intercontinental ballistic missile หรือ ICBM) สาเร็จเป็นครั้งแรก โดยทางการเกาหลีเหนืออ้างว่า สามารถยิงไปที่ไหนก็ได้ทั่วโลก1 และยังอ้างว่าได้ประสบความสาเร็จในการบรรจุระเบิดไฮโดรเจน (hydrogen bomb) เข้ากับหัวรบของขีปนาวุธข้ามทวีปอีกด้วย ทั้งนี้ เฉพาะในปี 2017 เกาหลีเหนือได้ ทดสอบขีปนาวุธมาแล้วกว่า 15 ครั้ง อย่างไรก็ตาม นักวิชาการยังคงตั้งข้อสังเกตต่อคาอ้างของเกาหลี เหนือ เพราะกระบวนการบรรจุระเบิดไฮโดรเจนเข้ากับหัวรบเป็นเรื่องยาก และการบังคับให้ขีปนาวุธ ข้ามทวีปที่มีหัวรบเป็นระเบิดไฮโดรเจนเข้าเป้าหมายก็ไม่ใช่เรื่องง่ายอีกเช่นกัน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อจำกัดกำรพัฒนำอำวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น
  • 4. 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การทดสอบขีปนาวุธโดยเกาหลีเหนือข้างต้นเป็นการโหมไฟให้กับความ(ไม่)มั่นคงของ โลก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อนบ้านของเกาหลีเหนือ อย่างประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นทางผ่านของเส้นทางการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลีเหนืออยู่บ่อยครั้ง ส่งผลให้ผู้คนบริเวณพื้นที่เสี่ยงต้องอพยพหาที่หลบภัย เนื่องจากหวาดระแวงกับการมีขีปนาวุธ บินผ่านที่อยู่อาศัยของตัวเองอยู่เสมอ ปรากฏการณ์ดังกล่าวทาให้สังคมญี่ปุ่นและนานาชาติหัน มาให้ความสนใจกับประเด็นการเสริมสร้างความมั่นคงของญี่ปุ่นเพื่อป้องกันและรับประกันการ โจมตีจากเกาหลีเหนือ ประเด็นหนึ่งที่ถูกถกเถียงกันมากคือเรื่องการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของ ญี่ปุ่ น เอาเข้าจริงแล้วญี่ปุ่ นจัดได้ว่าเป็นประเทศที่เสมือนมีอาวุธนิวเคลียร์ (virtual nuclear weapons state) ด้วยเหตุผลจากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานนิวเคลียร์ที่มีความก้าวหน้า ญี่ปุ่น จึงมีความพร้อมอย่างมากในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์แต่โครงการดังกล่าวก็ไม่เกิดขึ้น ประเด็น นี้จึงเป็นที่น่าศึกษาอย่างยิ่งถึงสาเหตุที่ญี่ปุ่นละเว้นโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อการทหาร และดาเนินนโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (nonproliferation policy) Scott Sagan ในงานเขียน “Why Do States Build Nuclear Weapons?” ได้ตอบคาถาม และเสนอต้นแบบ (model) 3 ต้นแบบที่เป็นเหตุผลให้แต่ละรัฐเลือกที่จะพัฒนาหรือยกเลิก โครงการอาวุธนิวเคลียร์ไว้อย่างน่าสนใจ อันได้แก่ ต้นแบบด้านความมั่นคง (the Security Model) ต้นแบบด้านการเมืองภายในประเทศ (the Domestic Model) และต้นแบบด้านบรรทัด ฐาน (the Norm Model) งานเขียนของ Sagan สาคัญตรงที่ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายของ สาเหตุ (multicausality) ซึ่งจะช่วยให้สามารถคาดการณ์หรือป้ องกันแนวโน้มในการดาเนิน นโยบายด้านอาวุธนิวเคลียร์ของแต่ละรัฐได้อย่างเที่ยงตรงมากขึ้น อันเป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง เงื่อนไขเพื่อหยุดการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ในรัฐต่างๆ ดังนั้น บทความชิ้นนี้จึงนาต้นแบบทั้ง สามของ Sagan มาใช้วิเคราะห์และประเมินถึงข้อจากัดที่ขัดขวางการพัฒนาโครงการอาวุธ นิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นที่ทาให้ญี่ปุ่ นยังคงดาเนินนโยบายอาวุธนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม (traditional nuclear policy) จนถึงปัจจุบัน
  • 5. 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มาภาพ https://static01.nyt.com/images/2017/09/17/world/17nkorea/17nkorea-master768.jpg ควำมมั่นคงของญี่ปุ่ นในยุคสงครำมนิวเคลียร์ นักคิดจากสานักสภาพจริงนิยมใหม่ (neorealism) ให้ความเห็นว่าโครงสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตย ดังนั้นการสร้างความมั่นคงและการช่วยเหลือตัวเองจะเป็น การรับประกันอธิปไตยและความอยู่รอดของรัฐภายใต้โครงสร้างดังกล่าว ทั้งนี้ ต้นแบบด้านความ มั่นคงเห็นว่าการสร้างความมั่นคงของรัฐภายใต้ยุคสงครามนิวเคลียร์มีสองทางเลือกคือ 1) การสร้าง อาวุธนิวเคลียร์เป็นของตัวเอง และ 2) การเป็นพันธมิตรกับรัฐที่มีอาวุธนิวเคลียร์ โดยตัวอย่างรัฐที่ ตัดสินใจพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ด้วยเหตุผลของการถูกคุกคามจากภายนอก (external threats) เช่น จีนที่พัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่จะถูกโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ จากสหรัฐฯ หลังจากสงครามเกาหลีและในช่วงสงครามช่องแคบไต้หวัน และปากีสถานที่เร่งรัด โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์หลังจากเพื่อนบ้านที่เป็นศัตรูอย่างอินเดียประสบความสาเร็จใน โครงการอาวุธนิวเคลียร์เมื่อปี 1974 เป็นต้น ขณะเดียวกัน ยังมีตัวอย่างรัฐที่ตัดสินใจยกเลิกโครงการ นิวเคลียร์ด้วยเหตุผลจากการไม่มีภัยคุกคามจากภายนอก เช่น แอฟริกาใต้ที่ทาลายอาวุธนิวเคลียร์
  • 6. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ขนาดเล็กเมื่อปี 1991 เนื่องจากภัยคุกคามจากกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตเพื่อ โจมตีแอฟริกาได้อ่อนลง หรืออดีตประเทศที่เคยอยู่ภายใต้สหภาพโซเวียต อย่าง ยูเครน คาซัคสถาน และเบลารุส ซึ่งเคยมีโครงการอาวุธนิวเคลียร์ในช่วงที่อยู่ภายใต้สหภาพโซเวียต แต่สุดท้ายก็ล้มเลิก โครงการเนื่องจากกลุ่มประเทศดังกล่าวไม่ได้มองว่ารัฐบาลมอสโคเป็นภัยต่อความมั่นคง ประกอบกับ การที่สหรัฐฯ ได้รับรองความมั่นคงให้กับประเทศเหล่านั้น จึงไม่จาเป็นต้องพัฒนาโครงการอาวุธ นิวเคลียร์ต่อไป ในกรณีของญี่ปุ่ นนั้นเป็นที่ชัดเจนว่าความสัมพันธ์ของญี่ปุ่ นกับประเทศเพื่อนบ้านซึ่ง ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์อย่าง จีน รัสเซีย และเกาหลีเหนือเป็นไปอย่างย่าแย่ แม้ว่าจะมีการ พยายามพัฒนาความสัมพันธ์ก็ตาม แต่การที่เกาหลีเหนือได้ทดสอบยิงขีปนาวุธข้ามญี่ปุ่น ตลอดจน การอ้างว่าสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการบรรจุไฮโดรเจนเข้ากับขีปนาวุธข้ามทวีปได้สาเร็จ อย่างที่ได้กล่าวไว้แล้วนั้นถือเป็นภัยคุมคามขั้นสูงสุดที่ญี่ปุ่ นกังวล อย่างไรก็ตาม ภัยคุมคามจาก ภายนอกสามารถบรรเทาได้ด้วยการสร้างพันธมิตรทั้งรูปแบบทวิภาคีหรือพหุภาคีกับประเทศที่มีอาวุธ นิวเคลียร์ สาหรับญี่ปุ่นแล้วการเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาคือการการันตีว่าญี่ปุ่นจะอยู่ภายใต้ร่ม การคุ้มครองโดยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐฯ (the US Nuclear Umbrella) ผ่านข้อตกลง The US- Japan Security Treaty ที่ได้ลงนามเมื่อปี 1951 และพัฒนาเป็น The Treaty of Mutual Cooperation and Security ในปี 1960 โดยมีการรับรองว่าญี่ปุ่ นจะอยู่ภายใต้ความคุ้มครองอาวุธนิวเคลียร์ของ สหรัฐฯ และด้วยเหตุนี้ ญี่ปุ่นจึงไม่มีความจาเป็นต้องพัฒนาและสร้างอาวุธนิวเคลียร์เป็นของตัวเอง นอกจากนี้ ภายใต้ต้นแบบด้านความมั่นคง Non-proliferation of Nuclear Weapons Treaty (NPT) เป็นสถาบันหนึ่งที่ช่วยให้รัฐละเว้นจากการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ด้วยการที่สนธิสัญญาดังกล่าว ช่วยสร้างความมั่นใจให้กับแต่ละรัฐว่า NPT จะเป็นตัวกลางที่ให้คุณ/โทษแก่รัฐที่ดาเนินตามแนวทาง ของสถาบันนี้ ซึ่งญี่ปุ่ นนั้นได้ลงนามเป็นสมาชิกของสนธิสัญญา NPT ตั้งแต่ปี 1970 และได้มีการ บังคับใช้เป็นกฎหมายภายในประเทศเมื่อปี 1976 จึงเป็นการผูกมัดว่าญี่ปุ่นจะเป็น “ประเทศที่ไม่มี ไม่ผลิต ไม่รับอาวุธนิวเคลียร์” อีกทั้งญี่ปุ่นยังได้ลงนามในสนธิสัญญา the Comprehensive Nuclear- Test-Ban Treaty (CTBT) เมื่อปี 1996 อันจะเป็นอีกหนึ่งกลไกระหว่างประเทศที่จากัดการพัฒนา และทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น การเป็นสมาชิกของทั้งสองข้อตกลงนี้เป็นการยอมรับว่าญี่ปุ่นจะ ร่วมรณรงค์ควบคุมอาวุธและห้ามการเผยแพร่อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ โดยเมื่อปี
  • 7. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1989 ญี่ปุ่ นได้เป็นเจ้าภาพในการจัดประชุม the UN Conference on Disarmament Issue ซึ่งเป็น จุดเริ่มต้นที่ทาให้ญี่ปุ่ นสนับสนุนการอบรมบุคลากรในประเทศกาลังพัฒนาเพื่อทางานควบคุมการ จากัดอาวุธและยับยั้งการแพร่ขยายของอาวุธนิวเคลียร์ กลไกทำงกฎหมำยและกำรเมืองของญี่ปุ่ น ต้นแบบด้านการเมืองภายในประเทศเสนอว่าการตอบสนองผลประโยชน์เฉพาะอย่างในทาง การเมือง โครงสร้างการเมือง และกฎหมายภายในประเทศ ก็สามารถเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทาให้แต่ละ ประเทศดาเนินการสร้างหรืองดเว้นโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ด้วยการสร้างเงื่อนไขทางการเมืองที่ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อย่างในกรณีของอินเดียที่มีคาสั่งพัฒนาโครงการอาวุธ นิวเคลียร์ในสมัยรัฐบาล Indira Gandhi เมื่อปี 1974 มีการวิเคราะห์ว่าการตัดสินใจพัฒนาอาวุธ นิวเคลียร์มาจากการที่นาง Gandhi ได้รับคาแนะนาจากกลุ่มที่ปรึกษาและนักวิทยาศาสตร์กลุ่มเล็กๆ ว่าโครงการดังกล่าวจะใช้ต้นทุนต่าและมีประโยชน์ต่ออินเดีย โดยก่อนหน้านี้กลุ่มคนดังกล่าวได้ แนะนาให้แก่นายกรัฐมนตรี Lal Bahadur Shastri แต่ก็ถูกปฏิเสธ หลังจากที่มีการพัฒนาและทดสอบ อาวุธนิวเคลียร์สาเร็จแล้วพบว่าคะแนนนิยมทางการเมืองของนาง Gandhi พุ่งสูงขึ้นอย่างมากจากที่ เคยตกต่าในช่วงปี 1973-1974 ก่อนการดาเนินโครงการอาวุธนิวเคลียร์ นอกจากนี้ยังเป็นที่ทราบ กันดีว่ายุคของนาง Gandhi ถือเป็นยุคอานาจนิยมที่มีการประกาศภาวะฉุกเฉินทั่วทั้งอินเดีย แสดงให้ เห็นว่ากลไกตรวจสอบถ่วงดุลในขณะนั้นมีความอ่อนแอและส่งผลให้อานาจการตัดสินใจผูกขาดอยู่ที่ นายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียว สาหรับญี่ปุ่นแล้วกลไกทางการเมืองและกฎหมายภายในประเทศที่จากัดการพัฒนาโครงการ อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นนั้นมีสามประการ ประการแรกคือ the Three Non-nuclear Principles ซึ่ง เป็นกฎเกณฑ์ที่ระบุว่าญี่ปุ่นจะไม่ครอบครอง ไม่ผลิต และไม่อนุญาตให้มีการแนะนาอาวุธนิวเคลียร์ ในประเทศ อย่างไรก็ตาม the Three Non-nuclear Principles ไม่ได้ถือเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย แต่สภาไดเอทแห่งชาติ (National Diet) ของญี่ปุ่นได้เสนอว่าเป็นเพียงการแสดงออกถึงเจตนารมณ์ ของรัฐบาลในการดาเนินนโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้น the Three Non-nuclear Princi- ples จึงไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย
  • 8. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประการที่สองคือ the Basic Law on Atomic Energy ซึ่งได้ประกาศบังคับใช้เมื่อปี 1955 และถือเป็นกฎหมายที่ควบคุมจัดการให้การใช้พลังงานนิวเคลียร์เป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของพลเรือน เท่านั้น โดยบทบัญญัติที่ 2 ของกฎหมายดังกล่าวระบุว่า การวิจัย พัฒนา และใช้พลังงานนิวเคลียร์ จะต้องถูกจากัดเฉพาะวัตถุประสงค์เพื่อสันติและจะต้องถูกจัดการภายใต้ระบอบประชาธิปไตย2 กฎหมายนี้มีศักยภาพในการจากัดการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ นในสองทางคือ 1)การ เปลี่ยนแปลงและแก้ไขกฎหมายดังกล่าวจะต้องผ่านกระบวนการสภา ซึ่งเป็นการลดโอกาสในการ แก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อความนอกเหนือจากที่กฎหมายระบุไว้ และ 2)กฎหมายได้กาหนดให้ก่อตั้ง the Atomic Energy Commission ซึ่งเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยภาคพลเรือน และต้องมีการรายงาน เกี่ยวกับการใช้พลังงานนิวเคลียร์ให้คณะรัฐมนตรีรับทราบ ประการที่สามคือ ตัวแสดงในการยับยั้ง (veto players) ในโครงสร้างทางการเมืองของญี่ปุ่น กล่าวคือโครงสร้างทางการเมืองของญี่ปุ่นถูกออกแบบตามแนวคิด Ceteris paribus เป็นแนวคิดที่ให้มี หลายตัวแสดงที่มีบทบาทยับยั้งทัดทาน ซึ่งการมีตัวแสดงยับยั้งหลายตาแหน่งจะเป็นการปิดโอกาสให้ นักการเมืองหรือรัฐบาลตัดสินใจพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์เพื่อสนองผลประโยชน์เฉพาะตน3 อย่างน้อยที่สุดการมีอยู่ของตัวแสดงยับยั้งหลายตัวทาให้ญี่ปุ่นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงนโยบายอย่าง สุดขั้วโดยไม่มีการถกเถียงหรือการอภิปรายทางการเมือง และยังขยายเวลาให้ตัวแสดงในต่างประเทศ ได้เข้ามาแสดงความเห็น โดยตั้งแต่ทศวรรษ 1950 ได้มีการเพิ่มขึ้นของตัวแสดงยับยั้งในหมู่นักวาง นโยบายนิวเคลียร์ของญี่ปุ่ น จากเดิมที่นายกรัฐมนตรี Yasuhiro Nakasone ได้วางโครงสร้างกิจการ นิวเคลียร์ในลักษณะพิระมิดที่นายกรัฐมนตรีมีอานาจเต็มในการรับผิดชอบและตัดสินใจในกิจการ นิวเคลียร์ โดยในปี 1954 รัฐบาล Nakasone ได้ก่อตั้ง the Preparatory Council for the Use of Atomic Energy และได้มีการผ่านกฎหมายหลายฉบับเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการดาเนินโครงสร้าง กิจการอาวุธนิวเคลียร์ในปี 1955 อีกทั้งยังได้ก่อตั้ง the Atomic Energy Council และ the Science and Technology Agency (STA) ด้วยหวังว่าจะมีโครงสร้างในลักษณะบังคับบัญชา (top-down) และเป็นองค์การที่ใช้รัฐเป็นศูนย์กลาง (statecentric) แต่ Nakasone ก็ต้องผิดหวังเนื่องจาก Matsutaro Shoriki ผู้ที่ Nakasone แต่งตั้งให้เป็ นประธานของ AEC และ STA ต้องการให้ ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ จึงเป็นจุดเริ่มต้นของตัวแสดงยับยั้งไม่ให้เกิดโครงการพัฒนา อาวุธนิวเคลียร์ แต่เป็นการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจแทน เช่น การดึง บริษัท the Tokyo Electric Power Company (TEPCO) เข้ามามีส่วนร่วม หรือการสร้าง the Power
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Reactor and Nuclear Fuel Corporation ในปี 1967 ซึ่งเป็นบริษัทที่ร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน เพื่อใช้นิวเคลียร์ในมิติพลังงาน นอกจากนี้เมื่อปี 1978 กระทรวงการค้าระหว่างประเทศและ อุตสาหกรรม (MITI) ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม (METI) ก็เป็นหนึ่งในตัวแสดงยับยั้งที่มีอานาจในระบบราชการ โดยมีอานาจในการรับรองและอนุญาตการ ก่อสร้างฐานการผลิตพลังงานนิวเคลียร์อันเป็นการยืนยันว่าพลังงานนิวเคลียร์จะไม่ถูกใช้เพื่อ การทหาร ญี่ปุ่ นในฐำนะประเทศที่รักสงบ ในความเห็นของ Sagan อาวุธนิวเคลียร์เป็นมากกว่าเครื่องมือที่ถูกใช้เพื่อรับประกันความ มั่นคงของชาติ แต่อาวุธนิวเคลียร์ยังทาหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ที่บ่งชี้ถึงบรรทัดฐานความเป็นสมัยใหม่ ความเป็นเอกราช และอัตลักษณ์ของชาติอีกด้วย กรณีการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของฝรั่งเศสจาก ทัศนคติของผู้นาฝรั่งเศสอย่างประธานาธิบดี Charles de Gaulle ที่เห็นถึงความสาคัญทางสัญลักษณ์ ของอาวุธนิวเคลียร์ โดยมีความเชื่อว่าการเป็นประเทศที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์คือการแสดงถึง ความเป็นเอกราชของฝรั่งเศสและการมีสถานะเป็นมหาอานาจในระบบการเมืองระหว่างประเทศ ขณะเดียวกัน การล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครนเป็นอีกกรณีหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าอาวุธ นิวเคลียร์เป็นสัญลักษณ์ของเอกราชจากการถูกครอบงาโดยนโยบายอาวุธนิวเคลียร์ของรัสเซีย ตลอดจนการไม่อยากถูกมองจากนานาชาติว่าเป็น “รัฐอันธพาล” อย่างเช่น เกาหลีเหนือ อิหร่าน และ อิรัก ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อัตลักษณ์ของชาติญี่ปุ่ นคือการมุ่งสนใจในแนวคิด “รัฐสันติ” (peace state) หรือ heiwa kokka4 ในภาษาญี่ปุ่น โดยแนวคิดนี้เกิดจากการใคร่ครวญผล ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากแนวคิดทหารนิยมในช่วงก่อนปี 1945 ภายหลังอัตลักษณ์และแนวคิดรัฐ สันติได้ถูกบรรจุเข้าสู่บทบัญญัติที่ 9 ของรัฐธรรมนูญญี่ปุ่ นที่ยกเลิกสิทธิในการทาสงคราม และ นโยบายไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ก็เป็นหนึ่งในแนวคิดหลักที่ว่าด้วย “รัฐสันติ” นี้เช่นกัน จากการที่ ญี่ปุ่นเป็นประเทศเดียวในโลกที่ผ่านประสบการณ์อันเลวร้ายจากการถูกโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ทา ให้ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่เชื่อว่าพวกเขามีภารกิจทางศีลธรรมในการเตือนมนุษยชาติถึงอานาจทาลายล้าง ของอาวุธนิวเคลียร์จากบทเรียนที่ฮิโรชิม่าและนางาซากิ ทั้งนี้ ทัศนคติว่าด้วยการต่อต้านอาวุธ นิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่นมาจากการกล่อมเกลาผ่านโครงการทางการศึกษา วัฒนธรรมสมัยนิยม และพิธี
  • 10. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การสาธารณะต่างๆ ที่เป็นการยืนยันว่าประสบการณ์ที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิจะไม่ถูกลืมเลือน นอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์ที่ส่งผลให้เกิดขบวนการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นนั่นคือการทดสอบ อาวุธนิวเคลียร์โดยสหรัฐฯ บนเกาะ Bikini Island มหาสมุทรแปซิฟิ ก เมื่อปี 1954 ซึ่งส่งผลให้ เรือประมงญี่ปุ่ นได้รับการปนเปื้ อนจากสารกัมมันตภาพรังสีหรือรังสีนิวเคลียร์ จึงเป็นการเพิ่ม ความรู้สึกในทางลบต่ออาวุธนิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่นมากขึ้นไปอีก หลังจากที่ญี่ปุ่นได้ลงนามในสนธิสัญญา NPT ทาให้อัตลักษณ์การต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ใน ญี่ปุ่นเข้มแข็งยิ่งขึ้น โดยญี่ปุ่นได้รับการสนับสนุนเงินทุนและทรัพยากรบุคคลเพื่อเชื่อมโยงนโยบาย อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นเข้ากับประสบการณ์ความเสียหายที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิ โดยเมืองฮิโร ชิม่าได้ลงทุนในแต่ละปีประมาณ 2 พันล้านเยน (18.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ผ่านมูลนิธิ Peace Cul- tural Foundation ในการรณรงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากสงครามนิวเคลียร์ในระดับ มหาวิทยาลัยทั่วโลก การจัดนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์ และล็อบบี้ยิสต์ในการประชุมเทศบาล ในแต่ละ ปีนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นจะเข้าร่วมในกิจกรรมดังกล่าวที่เมืองฮิโรชิม่าและนางาซากิ และประกาศว่า ญี่ปุ่นเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีประสบการณ์เป็นเหยื่อของอาวุธนิวเคลียร์ซึ่งญี่ปุ่ นจะรณรงค์การ ปลดอาวุธทั่วโลกต่อไป กิจกรรมข้างต้นแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ Maria Rublee ใช้ในการวิเคราะห์ภาษาของจิตวิทยา สังคมว่า “ผู้คนส่วนใหญ่ในญี่ปุ่น นักการเมืองทั้งหลาย ตลอดจนนักนโยบายต่างประเทศได้ถูกชักจูง ให้คิดว่าอาวุธนิวเคลียร์เป็นสิ่งที่ผิดทางศีลธรรม และจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นสิ่งที่ถูกกฎหมายในทาง การเมืองหรือเป็นเครื่องมือทางทหารก็ตาม”5 หลักฐานที่ยืนยันว่าชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีอัตลักษณ์ต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์นั้น แสดงออกได้จาก ผลสารวจสาธารณะ (public poll) ตั้งแต่หลังสงครามเย็นเป็นต้นมา และแม้กระทั่งหลังจากที่เกาหลี เหนือกลายเป็นรัฐนิวเคลียร์ (nuclear state) โดยผลการสารวจแสดงให้เห็นว่าชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ยังคงไม่เห็นด้วยกับการที่ญี่ปุ่นจะพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ เช่น ผลสารวจความเห็นของชาว ญี่ปุ่นหลังจากที่เกาหลีเหนือได้ปล่อยดาวเทียมเมื่อปี 2009 พบว่า คนญี่ปุ่นร้อยละ 19.4 สนับสนุน ให้ญี่ปุ่นพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ในขณะที่เสียงส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 72.8 ไม่เห็นด้วย6 Llewelyn Hughes ผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นได้วิเคราะห์ว่า “ความเห็นสาธารณะของชาวญี่ปุ่นจะยังคง เป็นข้อจากัดในการเปลี่ยนแปลงนโยบายอาวุธนิวเคลียร์ที่สาคัญ แม้ว่าญี่ปุ่นจะไม่มีสหรัฐฯ เป็น พันธมิตรก็ตาม”7
  • 11. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต พลวัตรทั้งสำมต้นแบบ เมื่อพิจารณาจากกรณีการดาเนินนโยบายไม่เผยแพร่อาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นที่มีต้นแบบทั้ง สามเป็นข้อจากัดที่รัดกุมและแข็งแรง อีกทั้งยังเกี่ยวพันกันจนดูเหมือนว่าต้นแบบทั้งสามไม่อาจ เปลี่ยนแปลงหรือถูกทาลายลงได้ แต่ในข้อเท็จจริงแล้วต้นแบบทั้งสามต่างก็มีพลวัตรเป็นของตัวเอง และพร้อมจะเปลี่ยนแปลงได้เสมอ อย่างความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่ นกับสหรัฐฯ เองที่ไม่ได้ราบรื่น เสมอไปแม้จะถูกมองว่าเป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิดกันมากที่สุด โดยเหตุการณ์ที่ทาให้ความสัมพันธ์ของ ทั้งสองประเทศมีความอ่อนไหวครั้งล่าสุดคือการที่นาย Donald Trump ในขณะที่เป็นผู้สมัครชิง ตาแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ได้หาเสียงโจมตีนโยบายการค้าของญี่ปุ่นและกล่าวหาญี่ปุ่นว่าไม่ลงทุน งบประมาณเพื่อป้องกันประเทศตัวเอง อย่างไรก็ตามนายกรัฐมนตรี Shinzo Abe ของญี่ปุ่นก็ได้ปรับ ความเข้าใจกับประธานาธิบดี Trump และออกมาประกาศว่าความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงของทั้งสอง ประเทศยังคงมีความสาคัญ อีกทั้งวอชิงตังยังคงมีความรับผิดชอบในการปกป้องญี่ปุ่นจากภัยคุมคาม ต่างๆ และญี่ปุ่นจะยังอยู่ภายใต้ร่มอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐฯ8 กฎ the Three Non-nuclear Principles เองก็ดูเหมือนจะถูกละเมิดไปแล้วในกฎข้อที่สามที่ว่า ด้วยการไม่อนุญาตให้มีการแนะนาอาวุธนิวเคลียร์ในญี่ปุ่น โดยในช่วงสงครามเย็นที่รัฐบาล Eisaku Sato ได้มีข้อตกลงลับที่อนุญาตให้สหรัฐฯ สร้างสถานีอาวุธนิวเคลียร์บนเกาะโอกินาว่าได้หากมีเหตุ ฉุกเฉิน นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2016 นายกรัฐมนตรี Abe ไม่ได้ให้คาสัญญาว่าจะทาตามกฎ the Three Non-nuclear Principles ระหว่างการกล่าวปาฐกถาประจาปี เพื่อราลึกถึงเหยื่อ ผู้เคราะห์ร้ายจากการโจมตีโดยระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิม่า9 ในส่วนของ the Basic Law on Atomic Energy ก็ได้มีการแก้ไขเมื่อปี 2012 โดยมีการระบุว่าพลังงานนิวเคลียร์ควรมีส่วนในการใช้เพื่อ “ความมั่นคงของชาติ”10 ทาให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์และข้อถกเถียงทั้งในและต่างประเทศถึง ความตั้งใจที่แท้จริงในการแก้ไขกฎหมายนั้น โดยมีกระแสออกมาว่าข้อความที่ระบุถึง “ความมั่นคง ของชาติ” สามารถเบิกทางให้ญี่ปุ่ นพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ในอนาคต ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกทาง กฎหมายเองยังเปิดช่องให้มีการแก้ไขได้หากสถานการณ์เปลี่ยนไป
  • 12. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เช่นเดียวกับอัตลักษณ์ที่ว่าด้วยการต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ของชาวญี่ปุ่ นที่แม้จะดูคงทีแต่ก็มี ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เห็นได้จากเดิมที่ประเด็นเกี่ยวกับอาวุธนิวเคลียร์เป็น เรื่องต้องห้ามในการพูดคุยถกเถียงในญี่ปุ่ น (nuclear taboo) แต่ปัจจุบันการแสดงความเห็นและ ถกเถียงในประเด็นดังกล่าวมีมากขึ้นถึงขั้นว่ามีเสียงสนับสนุนให้ญี่ปุ่นพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ เลยทีเดียว สรุปแล้วถึงแม้แต่ละต้นแบบจะมีพลวัตรและความเปลี่ยนแปลงภายในตัวเองก็ตาม แต่การที่ ญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายอาวุธนิวเคลียร์แบบดั้งเดิมจนถึงปัจจุบันก็เป็นหลักฐานที่บ่งชี้ว่าต้นแบบทั้ง สามยังคงทางานจากัดการพัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของญี่ปุ่นได้อย่างแข็งขัน และการดาเนิน นโยบายนิวเคลียร์แบบดั้งเดิมก็ยังไม่อาจถูกทาลายได้ ทั้งนี้ ญี่ปุ่นเป็นประเทศสาคัญในการกาหนด ความมั่นคงของภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีการคาดการณ์ว่าหากญี่ปุ่ นผลักดันตัวเองไปสู่การเป็น ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์แล้ว ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอย่างเกาหลีใต้และไต้หวันก็มีแนวโน้มที่จะ พัฒนาโครงการอาวุธนิวเคลียร์ด้วยเช่นกัน ซึ่งจะส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเต็มไปด้วยการ แข่งขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียร์ที่จะเป็นการเพิ่มความตึงเครียดให้กับภูมิภาค ดังนั้น การศึกษา ต้นแบบข้อจากัดข้างต้นสามารถนามาเป็นบทเรียนให้กับนักนโยบายที่วางยุทธศาสตร์หยุดการแพร่ ขยายอาวุธนิวเคลียร์ให้กับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นแบบอย่างและสร้างสันติภาพให้กับโลกที่ปราศจาก อาวุธนิวเคลียร์ในอนาคตได้
  • 13. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง [1] Joshua Berlinger (2017), North Korea’s missile tests by the numbers, accessed on 22 September 2017 <http:// edition.cnn.com/2017/05/29/asia/north-korea-missile-tests/index.html> [2] Atomic Energy Basic Act, accessed on 22 September 2017 <http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/ detail_main?re=02&vm=2&id=2233#en_ch1at2> [3] Jacques Hymans (2011), “Veto Players, Nuclear Energy, and Nonproliferation”, International Security, 36(2), pp. 160 [4] Mike Mochizuki (2007), “Japan Tests the Nuclear Taboo”, Nonproliferation Review, 14 (2), pp. 306 [5] Maria Rublee (2009), Nonproliferation Norms: Why States Choose Nuclear Restraint, Georgia: University of Geor- gia Press, pp. 79 [6] William Larn (2014), The Future of Japan’s Non-nuclear Weapons Status, accessed on 18 April 2017 <http:// www.internationalaffairs.org.au/the-future-of-japans-non-nuclear-weapons-status/> [7] Maria Rublee (2009), Nonproliferation Norms: Why States Choose Nuclear Restraint, Georgia: University of Geor- gia Press, pp. 80 [8] Julian Ryall (2017), Why Japan is Relieved about Trump, accessed on 18 April 2017 <http://www.scmp.com/week- asia/geopolitics/article/2071849/why-japan-relieved-about-trump> [9] Reiji Yoshida (2015), Exclusion of Nonnuclear Principles from Abe’s Hiroshima Speech Causes Stir, accessed on 18 April 2017 <http://www.japantimes.co.jp/news/2015/08/06/national/politics-diplomacy/exclusion-nonnuclear- principles-abes-hiroshima-speech-causes-stir/#.WPtppvmGPIU> [10] Bonny Lin (2015), “Chinese Views of Japanese Nuclear Capabilities and Ambitions”, Nuclear Scholars Initiative, pp. 104