SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การรักษาสมดุลของน้าส้าหรับการออกก้าลังกาย
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
นาย จิรกิตติ์ สุทธิคา เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นาย จิรกิตติ์ สุทธิค้า เลขที่ 11
2
ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การรักษาสมดุลของน้าสาหรับการออกกาลังกาย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Keeping hydrated for exercise
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ท้าโครงงาน นาย จิรกิตติ์ สุทธิคา เลขที่ 11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การออกกาลังกายหนึ่งชั่วโมง ร่างกายจะสูญเสียของเหลวได้มากถึงหนึ่งลิตร ปริมาณอาจแตกต่างกันแล้วแต่
บุคคล ประเภท และความยาวนานของการออกกาลังกาย ส่วนใหญ่ของเหลวจะสูญเสียทางเหงื่อและทางอากาศที่
หายใจออก หากไม่มีการชดเชยก็อาจทาให้เราตกอยู่ในภาวะขาดนาได้ ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพและความสามารถใน
การออกกาลังกายต่อไป ดังนัน จึงเป็นเรื่องสาคัญในการที่จะได้รับปริมาณของเหลวอย่างเหมาะสมทังระหว่าง และ
หลังการออกกาลังกาย ในร่างกายของมนุษย์จะมีนาเป็นองค์ประกอบประมาณ 3 ใน 4 หรือประมาณ 75% ของ
นาหนักตัวโดยนาที่อยู่ในร่างกายสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ นาที่ประกอบอยู่ภายในเซลล์ประมาณ 60% นา
ที่อยู่นอกเซลล์ประมาณ 30% นาที่อยู่ในเนือเยื่อและนาเลือดอีกไม่เกิน 10% ซึ่งนาในแต่ละส่วนจะถูกควบคุมให้มี
ดุลยภาพอยู่ได้ โดยจะมีการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงเพื่อทดแทนกันอยู่ตลอดเวลา ปกติมนุษย์ต้องการนาประมาณวัน
ละ 2-3 ลิตร ซึ่งได้จากการดื่มนา การบริโภคอาหารและจากกระบวนการออกซิเดชันจากสารอาหารอีกประมาณ 200
มล. โดยร่างกายจะมีการขับนาออกจากร่างกายในลักษณะของปสสสาวะ อุจจาระ ลมหายใจ และเหงื่อ ซึ่งวิีีการหลักที่
ร่างกายใช้ในการขับนาออกจากร่างกาย คือ ทางปสสสาวะ โดยในแต่ละวันมนุษย์จะมีการขับนาออกทางปสสสาวะ
ประมาณ 500-2,300 มล. หรือเฉลี่ยวันละประมาณ 1,500 มล จึงทาให้ผู้จัดทาจึงมีความสนในการทาโครงงานเรื่อง
การรักษาสมดุลของนาสาหรับการออกกาลังกาย เพราะมีความจาเป็นในชีวิตประจาวันอย่างมากในการดารงชีวิต
อย่างมาก
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อการศึกษา
2.เพื่อหาวิธีการรักษาสมดุลของน้าในร่างกายได้ถูกต้องและเหมาะสม
3.เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมให้กับผู้ที่สนใจ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาการรักษาสมดุลของน้าในร่างกายสาหรับการออกกาลังกายโดยใช้แหล่งหาข้อมูลได้แก่ google
chrome การสร้างสื่อเพื่อเผยแพร่และส่งเสริมความรู้ในด้านวิชาการและทางปฏิบัติโดยโปรแกรม Adobe
photoshop
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ก่อนออกกำลังกำย
การรับนาอย่างเต็มที่ก่อนการออกกาลังกายเป็นเป็นสิ่งสาคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่อบอุ่น หากอยู่ในภาวะขาดนาก่อนที่จะออกกาลังกาย อุณหภูมิของร่างกายจะเพิ่มเร็วขึนและหัวใจ
จะต้องทางานหนักขึนกว่าปกติ ซึ่งจะส่งผลทางลบต่อประสิทีิภาพการทางานและยังสามารถนาไปสู่ภาวะที่ร้ายแรง
หากได้รับนาในระดับสูงตลอดวัน และยังไม่ได้ออกกาลังกายมาแปดถึงสิบสองชั่วโมง เราก็ควรจะมีความพร้อมที่จะ
ออกกาลังกายในเวลาไหนก็ได้ของวัน วิีีตรวจสอบโดยคร่าว ๆ ด้วยการตรวจสีของปสสสาวะ ซึ่งควรจะเป็นสีเหลือง
อ่อน ยิ่งเข้มเท่าใดแสดงว่าขาดนามากเท่านัน เมื่อรู้สึกว่าขาดนาให้ดื่มนาอย่างน้อยสี่ชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย หากไม่
ผ่านการทดสอบสีปสสสาวะ ให้ดื่มนาเพิ่มอีกสองชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย ซึ่งน่าจะเพียงพอในการกระจายไปทั่ว
ร่างกายควรตังเป้าไว้ว่าจะดื่มนา 400- 600 มิลลิลิตร ใน 2ชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย
ระหว่ำงกำรออกกำลังกำย
หากมีภาวะขาดนาเพียงเล็กน้อยอาจมีผลกระทบทางลบต่อประสิทีิภาพการทางานของร่างกายได้ ดังนันสิ่ง
สาคัญที่ดีที่สุดคือการดื่มนาเสียแต่เนิ่นๆ ในวงรอบปกติขณะที่กาลังออกกาลังกายปริมาณนาที่ต้องการจะขึนอยู่กับ
ปริมาณเหงื่อที่สูญเสีย ระยะเวลาที่ออกกาลังกาย สามารถคานวณการสูญเสียของเหลวในการออกกาลังกายและ
ประมาณการได้ว่าควรชดเชยนาเข้าไปเท่าใด ระหว่างและหลังการออกกาลังกาย โดยการชั่งนาหนักตัวเองหลังจาก
การออกกาลังกายเปรียบเทียบกับนาหนักก่อนที่จะออกกาลังกาย สาหรับทุกกิโลกรัมของนาหนักตัวที่สูญเสียต้องดื่ม
นาประมาณ 1.5 ลิตรเพื่อชดเชย หากเราออกกาลังกายน้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง นาคือสิ่งเดียวที่จาเป็นในการป้องกันภาวะ
ขาดนา แต่ถ้าหากออกกาลังกายนานกว่าหนึ่งชั่วโมง เครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีคาร์โบไฮเดรต หรือแม้แต่นาผลไม้ จะช่วยได้
มาก หากเรากาลังฝึกเพื่อการแข่งขันก็ควรจะฝึกการดื่มในขณะที่ออกกาลังกายด้วย อันนีจะช่วยให้รู้ว่าเราต้องการนา
เท่าใดและเมื่อใด มันเป็นเรื่องสาคัญที่ไม่ควรรอจนกระทั่งรู้สึกกระหายนาก่อนที่จะดื่ม เมื่อถึงเวลานันก็สายเกินไปแล้ว
เพราะอยู่ในภาวะขาดนาเรียบร้อยแล้ว
4
หลังกำรออกกำลังกำย
หลังออกกาลังมาอย่างหนักเราก็พร้อมที่จะดื่มซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยให้สดชื่นขึนเท่านัน แต่มันช่วยเติมระดับ
ของเหลวในร่างกาย ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนือได้พักฟื้นด้วย พึงระลึกว่าเราจะต้องชดเชยของเหลวที่สูญเสียไปขณะออก
กาลังกาย ไม่ควรรอจนกระทั่งเสร็จสิน ยิ่งชดเชยเร็วเท่าใดก็จะยิ่งฟื้นคืนสภาพได้เร็วเท่านัน เครื่องดื่มเกลือแร่หรือนา
ที่มีเกลือเล็กน้อยจะช่วยได้มาก ลองกินของเค็มๆดูจะรู้สึกกระหายนาทาให้ดื่มนาได้มากขึนและชดเชยนาได้เร็ว
ขึน อย่าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีนหลังการออกกาลังกายเพราะสิ่งเหล่านีเป็นยาขับปสสสาวะ ซึ่ง
หมายความว่ามันจะเอานาออกจากร่างกายเราโดยการเพิ่มปริมาณของปสสสาวะที่ไตของเราผลิต
กำรดื่มมำกเกินไป
แม้ว่าอาจจะกระหายมากหลังการออกกาลังกาย พึงระลึกว่าการดื่มมากเกินไปอาจเป็นอันตรายและอาจ
ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่าภาวะระดับโซเดียมในเลือดต่า ทาให้เซลล์ของร่างกายบวมขึนซึ่งนาไปสู่ปสญหาสุขภาพ
อาการของภาวะที่มีระดับโซเดียมในเลือดต่าจะมีอาการรู้สึกสับสน ปวดศีรษะ รู้สึกไม่สบายตัว อาเจียนและเป็น
ตะคริว ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดภาวะที่มีระดับโซเดียมในเลือดต่าที่รุนแรงอาจนาไปสู่ อาการโคม่า ชัก และเสียชีวิตได้
เครื่องดื่มเกลือแร่
เครื่องดื่มเกลือแร่มีอยู่หลายชนิดทาให้เป็นการยากที่จะเลือกว่าชนิดใดมีประโยชน์จริง คนส่วนใหญ่ที่ออก
กาลังกายปานกลางไม่จาเป็นต้องดื่มสิ่งเหล่านี แต่ถ้าเราออกกาลังกายอย่างหนักเครื่องดื่มเหล่านีมีประโยชน์
นอกจากช่วยในการชดเชยของเหลวที่หายไปแล้ว เครื่องดื่มเหล่านีมี คาร์โบไฮเดรตและเกลือแร่โซเดียม โพแทสเซียม
แมกนีเซียมและ คลอไรด์ ซึ่งให้พลังงาน
แนวทำงปฏิบัติ
- แน่ใจว่าได้รับนาอย่างเพียงพอก่อนที่จะเริ่มการออกกาลังกาย โดยการดื่มเพียงเล็กน้อยแต่บ่อยครังในรอบวัน
- คานวณการสูญเสียเหงื่อ เพื่อที่ว่าระหว่างและหลังการออกกาลังกายเราสามารถทดแทนการสูญเสียได้อย่างถูกต้อง
ตังเป้าไว้ว่าดื่มของเหลว 1.5 ลิตร เพื่อชดเชยกับการสูญเสียนาหนัก 1 กก. ของร่างกาย
-ในระหว่างการออกกาลังกาย พยายามดื่มของเหลวในปริมาณเล็กน้อยแต่บ่อยๆเพื่อรักษาสมดุลของนา
- หากออกกาลังกายนานกว่าหนึ่งชั่วโมง ให้ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เพื่อเพิ่มพลังงานทาให้ออกกาลังกายได้นานขึน

More Related Content

What's hot (20)

2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
Worf 34-608
Worf 34-608Worf 34-608
Worf 34-608
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
2561 project computer
2561 project  computer2561 project  computer
2561 project computer
 
Jj
JjJj
Jj
 
Chel
ChelChel
Chel
 
11111
1111111111
11111
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
 

Similar to โครงงานคอม

โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35Paramet Vee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานjutamart muemsittiprae
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5Chanin Monkai
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์Nattaphong Kaewtathip
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานxQler
 
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่าโครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่าพีพี ปฐพี
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 

Similar to โครงงานคอม (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Project11
Project11Project11
Project11
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่าโครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
โครงร่างโครงงาน โรคไบโพล่า
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 

More from Jirakit Suttikham

More from Jirakit Suttikham (6)

กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3
 
work1
work1work1
work1
 
Jiratchaya
JiratchayaJiratchaya
Jiratchaya
 
work1
work1work1
work1
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การรักษาสมดุลของน้าส้าหรับการออกก้าลังกาย ชื่อผู้ท้าโครงงาน นาย จิรกิตติ์ สุทธิคา เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นาย จิรกิตติ์ สุทธิค้า เลขที่ 11
  • 2. 2 ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การรักษาสมดุลของน้าสาหรับการออกกาลังกาย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Keeping hydrated for exercise ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ท้าโครงงาน นาย จิรกิตติ์ สุทธิคา เลขที่ 11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 – 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การออกกาลังกายหนึ่งชั่วโมง ร่างกายจะสูญเสียของเหลวได้มากถึงหนึ่งลิตร ปริมาณอาจแตกต่างกันแล้วแต่ บุคคล ประเภท และความยาวนานของการออกกาลังกาย ส่วนใหญ่ของเหลวจะสูญเสียทางเหงื่อและทางอากาศที่ หายใจออก หากไม่มีการชดเชยก็อาจทาให้เราตกอยู่ในภาวะขาดนาได้ ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพและความสามารถใน การออกกาลังกายต่อไป ดังนัน จึงเป็นเรื่องสาคัญในการที่จะได้รับปริมาณของเหลวอย่างเหมาะสมทังระหว่าง และ หลังการออกกาลังกาย ในร่างกายของมนุษย์จะมีนาเป็นองค์ประกอบประมาณ 3 ใน 4 หรือประมาณ 75% ของ นาหนักตัวโดยนาที่อยู่ในร่างกายสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ นาที่ประกอบอยู่ภายในเซลล์ประมาณ 60% นา ที่อยู่นอกเซลล์ประมาณ 30% นาที่อยู่ในเนือเยื่อและนาเลือดอีกไม่เกิน 10% ซึ่งนาในแต่ละส่วนจะถูกควบคุมให้มี ดุลยภาพอยู่ได้ โดยจะมีการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงเพื่อทดแทนกันอยู่ตลอดเวลา ปกติมนุษย์ต้องการนาประมาณวัน ละ 2-3 ลิตร ซึ่งได้จากการดื่มนา การบริโภคอาหารและจากกระบวนการออกซิเดชันจากสารอาหารอีกประมาณ 200 มล. โดยร่างกายจะมีการขับนาออกจากร่างกายในลักษณะของปสสสาวะ อุจจาระ ลมหายใจ และเหงื่อ ซึ่งวิีีการหลักที่ ร่างกายใช้ในการขับนาออกจากร่างกาย คือ ทางปสสสาวะ โดยในแต่ละวันมนุษย์จะมีการขับนาออกทางปสสสาวะ ประมาณ 500-2,300 มล. หรือเฉลี่ยวันละประมาณ 1,500 มล จึงทาให้ผู้จัดทาจึงมีความสนในการทาโครงงานเรื่อง การรักษาสมดุลของนาสาหรับการออกกาลังกาย เพราะมีความจาเป็นในชีวิตประจาวันอย่างมากในการดารงชีวิต อย่างมาก วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อการศึกษา 2.เพื่อหาวิธีการรักษาสมดุลของน้าในร่างกายได้ถูกต้องและเหมาะสม 3.เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมให้กับผู้ที่สนใจ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาการรักษาสมดุลของน้าในร่างกายสาหรับการออกกาลังกายโดยใช้แหล่งหาข้อมูลได้แก่ google chrome การสร้างสื่อเพื่อเผยแพร่และส่งเสริมความรู้ในด้านวิชาการและทางปฏิบัติโดยโปรแกรม Adobe photoshop หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ก่อนออกกำลังกำย การรับนาอย่างเต็มที่ก่อนการออกกาลังกายเป็นเป็นสิ่งสาคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่อบอุ่น หากอยู่ในภาวะขาดนาก่อนที่จะออกกาลังกาย อุณหภูมิของร่างกายจะเพิ่มเร็วขึนและหัวใจ จะต้องทางานหนักขึนกว่าปกติ ซึ่งจะส่งผลทางลบต่อประสิทีิภาพการทางานและยังสามารถนาไปสู่ภาวะที่ร้ายแรง หากได้รับนาในระดับสูงตลอดวัน และยังไม่ได้ออกกาลังกายมาแปดถึงสิบสองชั่วโมง เราก็ควรจะมีความพร้อมที่จะ ออกกาลังกายในเวลาไหนก็ได้ของวัน วิีีตรวจสอบโดยคร่าว ๆ ด้วยการตรวจสีของปสสสาวะ ซึ่งควรจะเป็นสีเหลือง อ่อน ยิ่งเข้มเท่าใดแสดงว่าขาดนามากเท่านัน เมื่อรู้สึกว่าขาดนาให้ดื่มนาอย่างน้อยสี่ชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย หากไม่ ผ่านการทดสอบสีปสสสาวะ ให้ดื่มนาเพิ่มอีกสองชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย ซึ่งน่าจะเพียงพอในการกระจายไปทั่ว ร่างกายควรตังเป้าไว้ว่าจะดื่มนา 400- 600 มิลลิลิตร ใน 2ชั่วโมงก่อนออกกาลังกาย ระหว่ำงกำรออกกำลังกำย หากมีภาวะขาดนาเพียงเล็กน้อยอาจมีผลกระทบทางลบต่อประสิทีิภาพการทางานของร่างกายได้ ดังนันสิ่ง สาคัญที่ดีที่สุดคือการดื่มนาเสียแต่เนิ่นๆ ในวงรอบปกติขณะที่กาลังออกกาลังกายปริมาณนาที่ต้องการจะขึนอยู่กับ ปริมาณเหงื่อที่สูญเสีย ระยะเวลาที่ออกกาลังกาย สามารถคานวณการสูญเสียของเหลวในการออกกาลังกายและ ประมาณการได้ว่าควรชดเชยนาเข้าไปเท่าใด ระหว่างและหลังการออกกาลังกาย โดยการชั่งนาหนักตัวเองหลังจาก การออกกาลังกายเปรียบเทียบกับนาหนักก่อนที่จะออกกาลังกาย สาหรับทุกกิโลกรัมของนาหนักตัวที่สูญเสียต้องดื่ม นาประมาณ 1.5 ลิตรเพื่อชดเชย หากเราออกกาลังกายน้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง นาคือสิ่งเดียวที่จาเป็นในการป้องกันภาวะ ขาดนา แต่ถ้าหากออกกาลังกายนานกว่าหนึ่งชั่วโมง เครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีคาร์โบไฮเดรต หรือแม้แต่นาผลไม้ จะช่วยได้ มาก หากเรากาลังฝึกเพื่อการแข่งขันก็ควรจะฝึกการดื่มในขณะที่ออกกาลังกายด้วย อันนีจะช่วยให้รู้ว่าเราต้องการนา เท่าใดและเมื่อใด มันเป็นเรื่องสาคัญที่ไม่ควรรอจนกระทั่งรู้สึกกระหายนาก่อนที่จะดื่ม เมื่อถึงเวลานันก็สายเกินไปแล้ว เพราะอยู่ในภาวะขาดนาเรียบร้อยแล้ว
  • 4. 4 หลังกำรออกกำลังกำย หลังออกกาลังมาอย่างหนักเราก็พร้อมที่จะดื่มซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยให้สดชื่นขึนเท่านัน แต่มันช่วยเติมระดับ ของเหลวในร่างกาย ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนือได้พักฟื้นด้วย พึงระลึกว่าเราจะต้องชดเชยของเหลวที่สูญเสียไปขณะออก กาลังกาย ไม่ควรรอจนกระทั่งเสร็จสิน ยิ่งชดเชยเร็วเท่าใดก็จะยิ่งฟื้นคืนสภาพได้เร็วเท่านัน เครื่องดื่มเกลือแร่หรือนา ที่มีเกลือเล็กน้อยจะช่วยได้มาก ลองกินของเค็มๆดูจะรู้สึกกระหายนาทาให้ดื่มนาได้มากขึนและชดเชยนาได้เร็ว ขึน อย่าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีนหลังการออกกาลังกายเพราะสิ่งเหล่านีเป็นยาขับปสสสาวะ ซึ่ง หมายความว่ามันจะเอานาออกจากร่างกายเราโดยการเพิ่มปริมาณของปสสสาวะที่ไตของเราผลิต กำรดื่มมำกเกินไป แม้ว่าอาจจะกระหายมากหลังการออกกาลังกาย พึงระลึกว่าการดื่มมากเกินไปอาจเป็นอันตรายและอาจ ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่าภาวะระดับโซเดียมในเลือดต่า ทาให้เซลล์ของร่างกายบวมขึนซึ่งนาไปสู่ปสญหาสุขภาพ อาการของภาวะที่มีระดับโซเดียมในเลือดต่าจะมีอาการรู้สึกสับสน ปวดศีรษะ รู้สึกไม่สบายตัว อาเจียนและเป็น ตะคริว ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดภาวะที่มีระดับโซเดียมในเลือดต่าที่รุนแรงอาจนาไปสู่ อาการโคม่า ชัก และเสียชีวิตได้ เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มเกลือแร่มีอยู่หลายชนิดทาให้เป็นการยากที่จะเลือกว่าชนิดใดมีประโยชน์จริง คนส่วนใหญ่ที่ออก กาลังกายปานกลางไม่จาเป็นต้องดื่มสิ่งเหล่านี แต่ถ้าเราออกกาลังกายอย่างหนักเครื่องดื่มเหล่านีมีประโยชน์ นอกจากช่วยในการชดเชยของเหลวที่หายไปแล้ว เครื่องดื่มเหล่านีมี คาร์โบไฮเดรตและเกลือแร่โซเดียม โพแทสเซียม แมกนีเซียมและ คลอไรด์ ซึ่งให้พลังงาน แนวทำงปฏิบัติ - แน่ใจว่าได้รับนาอย่างเพียงพอก่อนที่จะเริ่มการออกกาลังกาย โดยการดื่มเพียงเล็กน้อยแต่บ่อยครังในรอบวัน - คานวณการสูญเสียเหงื่อ เพื่อที่ว่าระหว่างและหลังการออกกาลังกายเราสามารถทดแทนการสูญเสียได้อย่างถูกต้อง ตังเป้าไว้ว่าดื่มของเหลว 1.5 ลิตร เพื่อชดเชยกับการสูญเสียนาหนัก 1 กก. ของร่างกาย -ในระหว่างการออกกาลังกาย พยายามดื่มของเหลวในปริมาณเล็กน้อยแต่บ่อยๆเพื่อรักษาสมดุลของนา - หากออกกาลังกายนานกว่าหนึ่งชั่วโมง ให้ดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เพื่อเพิ่มพลังงานทาให้ออกกาลังกายได้นานขึน