SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน หอยเชอรี่
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นาย ธนกฤต สมฤทธิ์ เลขที่12 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม .……
1นาย ธนกฤต สมฤทธิ์ เลขที่12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
หอยเชอรี่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
(Pomocea canaliculata)
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนกฤต สมฤทธิ์
ชื่อที่ปรึกษา เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยอาหารหลักที่ส่งออกคือข้าวแต่มีวัชพืชหรือแมลงจานวนมาก เช่น หอยเชอรี่ ทาให้
เป็นปัญหาหรืออุปสรรคในการทานาทาให้ผลผลิตของขาวนาได้รับความเสียหายและผลกระทบถึงประเทศทาให้
คุณภาพของข้าวลดลงและทาให้ประเทศคู่แข่งมากขึ้นผู้ทาโครงงานจึงได้ศึกษาเรื่องหอยเชอรี่การกาจัดหอยเชอรี่ทาให้
ได้ผลมากที่สุดเพื่อคุณภาพข้าวของ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทุกราย พบการระบาดของหอยเชอร ี่ และเกษตรกรพบ ตัว
หอยเชอร ี่และไข่หอยเชอร ี่ อาศัยอยู่ในแปลงเป็น ส่วนใหญ่ ระยะการระบาดของหอยเชอร ี่ เกษตรกร ส่วนใหญ่พบ
การระบาดในระยะกล้า สาหรับรูปแบบการจัดการหอยเชอร ี่ในนาข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ วิธีการใช้สารป้องกัน
กาจัดหอยเชอรี่
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้จานวนหอยเชอรี่ในพื้นที่นาลดลง
2.ทาให้ผลผลิตข้าวของชาวนาออกมาที่คุณภาพที่ดี
3.ควบคุมการรบาดของหอยเชอรี่
ขอบเขตโครงงาน
การวิจัยคร ั้งน ี้ ทาการศึกษา การจัดการหอยเชอร ี่ในนาข้าวของเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 ฤดูกาลนาปรัง
กลุ่มตัวอย่าง จานวน 2 ราย
3
หลักการและทฤษฎี
หอยเชอรี่ มีถิ่นกาเนิดในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ประเทศ
ชิลี อาร์เจนตินา สุรินัม โบลิเวีย บราซิล ปารากวัย อุรุกวัย ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น มลรัฐฟลอริด้าและ
เทกซัสของสหรัฐอเมริกา ในแถบอเมริกากลาง เช่น จาไมก้า คิวบา ทรินิแดด โดมินิกัน เป็นต้น (น่มีนาหอยเชอรี่
จากประเทศญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์มาสู่ประเทศไทยประมาณ พ.ศ. 2525-2526 เพื่อเลี้ยงเป็นการค้า โดยเลี้ยงขายเป็น
หอยสวยงามในตู้ปลา นอกจากนั้นยังมีการทาฟาร์มเลี้ยงเพื่อหวังส่งออกเป็นอาหาร เมื่อหาตลาดไม่ได้ ประกอบกับ
หอยเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ได้รวดเร็ว จึงเพิ่มปริมาณมากและแพร่กระจายไปสู่แหล่งน้า ลาคลองและแม่น้า ใน
ที่สุดได้แพร่ไปสู่นาข้าวในท้องที่รอบๆ กรุงเทพมหานคร และต่อไปสู่ที่ราบภาคกลางอันเป็นอู่ข้าวอู่น้าของ
ประเทศ ปัจจุบันพบหอยเชอรี่ระบาดไปทั่วประเทศ ทาความเสียหายแก่ต้นข้าวและพืชน้าต่างๆ ในท้องที่เกือบทุก
จังหวัด หอยเชอรี่ทาลายพืชเศรษฐกิจต่างๆ ของประเทศเป็นมูลค่ามหาศาลเช่นเดียวกันกับที่ประเทศญี่ปุ่นและ
ฟิลิปปินส์ประสบมาแล้วเมื่อ พ.ศ.2526 แล พ.ศ.2528 ในปัจจุบันหอยเชอรี่นับว่าเป็นปัญหาระดับโลก เนื่องจาก
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามได้ร้องขอความช่วยเหลือเป็นทางการจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
ตั้งแต่ พ.ศ.2538 เป็นต้นมา ปัญหาหอยเชอรี่ระบาดในประเทศแถบเอเชีย ซึ่งเป็นแหล่งปลูกข้าวและส่งออกข้าวราย
ใหญ่ของโลกนับเป็นเรื่องที่องค์การนานาชาติหลายแห่งให้ความสนใจอย่างยิ่ง นอกจากประเทศ
ไทย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ และเวียดนามแล้ว ประเทศที่มีปัญหาเช่นเดียวกันนี้อีก ได้แก่
ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไต้หวัน จีน ซาบาร์ ปาปัวนิวกินี มลรัฐฮาวายของ
สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ออสเตรเลีย เป็นต้น
การป้องกันและกาจัด
1). ใช้วัสดุกั้น ทุกทางที่น้าเข้าได้ด้วยเฝือกและตาข่าย
2). เก็บตัวหอยและไข่ด้วยกระชอนที่มีด้ามยาวและที่แซะไข่แล้วนาไปทาลายทุกสัปดาห์ ตลอด 6 สัปดาห์หลังปล่อย
น้าเข้าแปลงนา
3). ปล่อยให้เป็ดกินหลังเกี่ยวข้าว
4).ใช้สารกาจัดหอย นิโคลซาไมด์ (ไบลุไซด์ 70%ดับบลิวพี)อัตรา 50 กรัมต่อไร่ หรือ เมทัลดีไฮด์ (แองโกล-สลัก 5%
หรือเดทมีล 4%)หว่านอัตรา 0.5-1.0 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเดทมีล 80% ชนิดผง อัตรา 100 กรัมต่อไร่ หรือโปรเทก
หว่านอัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ คอปเปอร์ ซัลเฟต ละลายน้าอัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่ ทันทีหลังปักดาเสร็จ หรือ
หลังจากหว่านข้าวและไขน้าเข้านาแล้ว 1 – 2 ชั่วโมง โดยมีระดับน้าในนาสูง 5 เซนติเมตร
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
5
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์benjawan punyawarin
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621Geenpp21
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 

What's hot (20)

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
11111
1111111111
11111
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
มม
มมมม
มม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to 2560 project

ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์Nattaphong Kaewtathip
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมJirakit Suttikham
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35Paramet Vee
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5Chanin Monkai
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิchompunutuknow
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา Tcnk Pond
 

Similar to 2560 project (20)

ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
ณัฐพงศื แก้วตาทิพย์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
77
7777
77
 
48532
4853248532
48532
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน หอยเชอรี่ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย ธนกฤต สมฤทธิ์ เลขที่12 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม .…… 1นาย ธนกฤต สมฤทธิ์ เลขที่12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หอยเชอรี่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) (Pomocea canaliculata) ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนกฤต สมฤทธิ์ ชื่อที่ปรึกษา เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยอาหารหลักที่ส่งออกคือข้าวแต่มีวัชพืชหรือแมลงจานวนมาก เช่น หอยเชอรี่ ทาให้ เป็นปัญหาหรืออุปสรรคในการทานาทาให้ผลผลิตของขาวนาได้รับความเสียหายและผลกระทบถึงประเทศทาให้ คุณภาพของข้าวลดลงและทาให้ประเทศคู่แข่งมากขึ้นผู้ทาโครงงานจึงได้ศึกษาเรื่องหอยเชอรี่การกาจัดหอยเชอรี่ทาให้ ได้ผลมากที่สุดเพื่อคุณภาพข้าวของ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทุกราย พบการระบาดของหอยเชอร ี่ และเกษตรกรพบ ตัว หอยเชอร ี่และไข่หอยเชอร ี่ อาศัยอยู่ในแปลงเป็น ส่วนใหญ่ ระยะการระบาดของหอยเชอร ี่ เกษตรกร ส่วนใหญ่พบ การระบาดในระยะกล้า สาหรับรูปแบบการจัดการหอยเชอร ี่ในนาข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ วิธีการใช้สารป้องกัน กาจัดหอยเชอรี่ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้จานวนหอยเชอรี่ในพื้นที่นาลดลง 2.ทาให้ผลผลิตข้าวของชาวนาออกมาที่คุณภาพที่ดี 3.ควบคุมการรบาดของหอยเชอรี่ ขอบเขตโครงงาน การวิจัยคร ั้งน ี้ ทาการศึกษา การจัดการหอยเชอร ี่ในนาข้าวของเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 ฤดูกาลนาปรัง กลุ่มตัวอย่าง จานวน 2 ราย
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี หอยเชอรี่ มีถิ่นกาเนิดในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ประเทศ ชิลี อาร์เจนตินา สุรินัม โบลิเวีย บราซิล ปารากวัย อุรุกวัย ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น มลรัฐฟลอริด้าและ เทกซัสของสหรัฐอเมริกา ในแถบอเมริกากลาง เช่น จาไมก้า คิวบา ทรินิแดด โดมินิกัน เป็นต้น (น่มีนาหอยเชอรี่ จากประเทศญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์มาสู่ประเทศไทยประมาณ พ.ศ. 2525-2526 เพื่อเลี้ยงเป็นการค้า โดยเลี้ยงขายเป็น หอยสวยงามในตู้ปลา นอกจากนั้นยังมีการทาฟาร์มเลี้ยงเพื่อหวังส่งออกเป็นอาหาร เมื่อหาตลาดไม่ได้ ประกอบกับ หอยเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ได้รวดเร็ว จึงเพิ่มปริมาณมากและแพร่กระจายไปสู่แหล่งน้า ลาคลองและแม่น้า ใน ที่สุดได้แพร่ไปสู่นาข้าวในท้องที่รอบๆ กรุงเทพมหานคร และต่อไปสู่ที่ราบภาคกลางอันเป็นอู่ข้าวอู่น้าของ ประเทศ ปัจจุบันพบหอยเชอรี่ระบาดไปทั่วประเทศ ทาความเสียหายแก่ต้นข้าวและพืชน้าต่างๆ ในท้องที่เกือบทุก จังหวัด หอยเชอรี่ทาลายพืชเศรษฐกิจต่างๆ ของประเทศเป็นมูลค่ามหาศาลเช่นเดียวกันกับที่ประเทศญี่ปุ่นและ ฟิลิปปินส์ประสบมาแล้วเมื่อ พ.ศ.2526 แล พ.ศ.2528 ในปัจจุบันหอยเชอรี่นับว่าเป็นปัญหาระดับโลก เนื่องจาก สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามได้ร้องขอความช่วยเหลือเป็นทางการจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ตั้งแต่ พ.ศ.2538 เป็นต้นมา ปัญหาหอยเชอรี่ระบาดในประเทศแถบเอเชีย ซึ่งเป็นแหล่งปลูกข้าวและส่งออกข้าวราย ใหญ่ของโลกนับเป็นเรื่องที่องค์การนานาชาติหลายแห่งให้ความสนใจอย่างยิ่ง นอกจากประเทศ ไทย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ และเวียดนามแล้ว ประเทศที่มีปัญหาเช่นเดียวกันนี้อีก ได้แก่ ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไต้หวัน จีน ซาบาร์ ปาปัวนิวกินี มลรัฐฮาวายของ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ออสเตรเลีย เป็นต้น การป้องกันและกาจัด 1). ใช้วัสดุกั้น ทุกทางที่น้าเข้าได้ด้วยเฝือกและตาข่าย 2). เก็บตัวหอยและไข่ด้วยกระชอนที่มีด้ามยาวและที่แซะไข่แล้วนาไปทาลายทุกสัปดาห์ ตลอด 6 สัปดาห์หลังปล่อย น้าเข้าแปลงนา 3). ปล่อยให้เป็ดกินหลังเกี่ยวข้าว 4).ใช้สารกาจัดหอย นิโคลซาไมด์ (ไบลุไซด์ 70%ดับบลิวพี)อัตรา 50 กรัมต่อไร่ หรือ เมทัลดีไฮด์ (แองโกล-สลัก 5% หรือเดทมีล 4%)หว่านอัตรา 0.5-1.0 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเดทมีล 80% ชนิดผง อัตรา 100 กรัมต่อไร่ หรือโปรเทก หว่านอัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ คอปเปอร์ ซัลเฟต ละลายน้าอัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่ ทันทีหลังปักดาเสร็จ หรือ หลังจากหว่านข้าวและไขน้าเข้านาแล้ว 1 – 2 ชั่วโมง โดยมีระดับน้าในนาสูง 5 เซนติเมตร วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________