SlideShare a Scribd company logo
1 of 122
Download to read offline
DIGITALDIGITALDIGITAL
RESILIENCERESILIENCERESILIENCE
learn.safeinternet.camp
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
โครงการสรางเยาวชนอินเทอรเน็ตที่มีความรับผิดชอบ
คูมือคุณครู
ผู้ช่วยสําหรับคุณครูเพือการตระหนักรู้เท่าทันสถานการณ์ของโลกดิจิทัล เพือให้สามารถเปน
ผู้ดูแล หรือทีพึงของเยาวชนในยามทีประสบปญหาจากการใช้สือดิจิทัลและอินเทอร์เน็ต ตลอดจน
สามารถนําความรู้ไปถ่ายทอดเพือสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ต (Netizen) ทีมีความรับผิดชอบต่อสังคม
รู้เท่าทันสือดิจิทัล (Digital Literacy) อันเปนทักษะทีสําคัญในศตวรรษที 21หลักสูตร Digital
Resilience นีเกิดขึนภายใต้โครงการสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ตทีมีความรับผิดชอบ
เนืองจาก DTAC หรือบริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จํากัด (มหาชน) เปนองค์กรทีเห็น
ถึงความสําคัญในประเด็นนี ร่วมมือกับกองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์ (Thai Media
Fund) และสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) มาร่วมสนับสนุนให้องค์กรทีขับเคลือนด้านการ
ศึกษา ได้แก่ อินสครู เพจดัง “insKru -พืนทีแบ่งปนไอเดียการสอน” บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด
(Influencer TH) และมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School) มาร่วมออกแบบเนือหาหลักสูตร
และรวบรวมสืออันเปนประโยชน์ต่อคุณครูและนักเรียนไทยให้ใช้งานได้ง่ายและครบถ้วนทุกประเด็น
ซึงหลักสูตรนีได้ทดลองใช้จริงและเห็นผลลัพธ์การเปลียนแปลงของเยาวชนผู้เข้าร่วมเรียบร้อยแล้ว
Digital Resilience
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
2Digital Resilience safeinternet.camp
โครงการสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ตทีมีความรับผิดชอบ
www.safeinternet.camp
สารบัญ
Digital Resilience สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
4
บทนํา
การเชื่อมโยงสูทักษะในศตวรรษที่ 21 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
13
บทที่ 1 การอยูรวมกันบนโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย
Digital Resilience | Empathy | Critical Thinking | Netiquette
29
บทที่ 2 สื่อออนไลนและการปองกันความเสี่ยง
Social Media | Sexual Media | Entertainment | Fake News
68
บทที่ 3 Privacy & Security พื้นที่สวนตัวและความปลอดภัย
83
บทที่ 4 ไมแกลงกันนะ หยุด Cyberbully
98
บทที่ 5 กลโกงในโลกออนไลน
113
บทสรุป
116
บทสรุป
Learning Curve ออกแบบการเรียนรู Digital Resilience ใน 3 คาบเรียน
3Digital Resilience safeinternet.camp
ใชเลมหลักสูตรนี้อยางไร ?
เนือหาเล่มนีจะถูกแบ่งเปน 5 บทใหญ่ ๆ ซึงออกแบบเนือหามาจากปญหาทีเยาวชนไทยพบเจอ
และแต่ละบทจะแบ่งเปน 7 ส่วนย่อย ๆ ทีออกแบบมาให้คุณครูนําไปใช้ได้ง่าย
1
เนื้อหา
นําเสนอเรืองราวและสาระความรู้ พร้อมตัวอย่างทีเข้าใจง่าย
2
วิธีสรางภูมิคุมกัน (Digital Resilience)
แนะนําสิงทีควรทํา ไม่ควรทํา วิธีปองกัน วิธีแก้ไขปญหา ทีสอดคล้องกับแต่ละบท
3
กฎหมายนารู
แนะนํากฎหมายทีเกียวข้อกับแต่ละบท
เพือเปนเครืองมือในการช่วยเหลือตนเอง และเปนเครืองเตือนใจไม่ให้ทําผิด
4
ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Offline
กิจกรรมสอนเรืองภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตทีไม่ต้องใช้อินเทอร์เน็ต
5
ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online
สือการสอนออนไลน์ทีน่าตืนตาตืนใจให้นําไปใช้ฟรี ๆ
6
Worksheet
ใบงานทีพร้อมให้คุณครูนําไปพิมพ์แล้วให้นักเรียนทําได้เลย
7
แบบทดสอบ
ข้อสอบวัดความเข้าใจเล็ก ๆ น้อย ๆ หลังจากได้เรียนรู้มาแล้ว บทละ 5 ข้อ
คุณครูอาจนําคําถามเหล่านีไปใช้ได้เลย (มีเฉลยอยู่ท้ายเล่ม)
4Digital Resilience safeinternet.camp
Digital Resilience
Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
บทบาทของเทคโนโลยี สือดิจิทัล และอินเทอร์เน็ต ตลอดช่วงเวลาทีผ่านมา
เปนปจจัยสําคัญทีทําให้โลกมีการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด
อีกทังสิงเหล่านียิงนับวันยิงเข้ามาผสานแทรกจนแทบจะกลายเปนส่วนหนึง
ของวิถีชีวิตในทุก ๆ ย่างก้าวของผู้คนในสังคม ชวนสังเกตพฤติกรรมการใช้ Smart Phone ของตัวเองว่า
ในวันหนึง เราใช้เวลาไปกับอินเทอร์เน็ต หรือสือโซเชียลมีเดียต่าง ๆ มากขนาดไหน ?
เมือเทคโนโลยีดิจิทัล และอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทสําคัญตังแต่ในวิถีชีวิตระดับ A ไปจนถึงการ
ขับเคลือนโลกไปสู่อนาคตมากมายขนาดนี การศึกษาเพือความเข้าใจ และเท่าทันจึงเปนสิงจําเปนที
ควรต้องเรียนรู้อย่างหลีกเลียงไม่ได้ โดยเฉพาะสําหรับเด็กและเยาวชนทีมีโอกาสต้องเข้าไปสัมผัสกับ
สิงต่างๆ เหล่านีอยู่ทุก ๆ วัน แต่กลับเปนสิงทีไม่มีการสอน หรือให้ความรู้กันอย่างแพร่หลายเท่าทีควร
ในสถาบันการศึกษาทีสําคัญ องค์ความรู้เหล่านีนันไม่ใช่เปนเรืองทีเราเรียนรู้เพียงเพือแค่ทําความ
เข้าใจในการใช้งานหรือปองกันตัวเองจากภัยอันตรายต่างๆเท่านัน แต่ในอีกด้านหนึง สิงนีก็ถือเปน
ทักษะองค์ความรู้ทีจําเปนอย่างยิงในศตวรรษที 21
หลักสูตร Digital Resilience
สําคัญอยางไร ?
จากผลสํารวจพฤติกรรมผูใชงานอินเทอรเน็ตประเทศไทย ป
2562 ของสํานักงาน ETDA พบวา...พฤติกรรมการใชงาน
อินเทอรเน็ตของคนไทยเฉลี่ยสูงถึง 10 ชั่วโมง 22 นาทีตอวัน
ทีมา : ผลสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตประเทศไทย ประจําป 2562
ของสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st-Century Skill)
ICT Literacy (Information and Communications Technology Literacy) หรือความรู้ด้านสือดิจิทัลนัน
เปนหนึงในทักษะทีจําเปนต่อการดํารงชีวิตในศตวรรษที 21 ตามทีสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum:
WEF) ได้ทําการวิจัยออกมาเพือหาว่าทักษะใดทีจําเปนต่ออาชีพในโลกยุคปจจุบัน และสัมพันธ์ไปถึงการประสบ
ความสําเร็จในหน้าทีการงาน ตัวอย่างเช่น ช่องทางการติดต่อสือสารในปจจุบันทังเรืองส่วนตัว และการประสานงาน
ในการทํางานก็มักสือสารผ่านแอปพลิเคชัน LINE หรือการทําธุรกิจซือขายสินค้าต่าง ๆ รวมถึงการทําการตลาด
ก็จําเปนอย่างมากทีจะต้องทําผ่านช่องทางออนไลน์ เพือการเข้าถึงลูกค้าทีมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในยุควิกฤติ
COVID-19 ทีแทบทุกอย่างต้องย้ายมาทําผ่านโลกออนไลน์ เปนต้น ซึงทักษะความรู้ทางดิจิทัลนี เปนสิงทีมี
ความสัมพันธ์กับทักษะอืน ๆ อย่างไม่อาจแยกขาดจากกัน โดยสิงทีสําคัญของการมีทักษะเหล่านีคือ จะทําให้
เด็กคนหนึงมีศักยภาพในการเรียนรู้เพือการปรับตัวและพัฒนาได้ตลอดเวลา ซึง WEF เรียกว่า ‘Lifelong Learning’
หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ทีมา : World Economic Forum, New Vision for Education (2015)
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
6Digital Resilience safeinternet.camp
เท่าทันการเปลียนแปลงของเทคโนโลยี
และรู้จักวิธีใช้เพือการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมาย
ทีมีความเกียวข้องกับการเข้าถึง และการใช้ไอซีที
ICT Literacy
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมต่าง ๆ
ในชีวิตประจําวัน เช่น ทําธุรกรรมออนไลน์
ติดต่อประสานงานร่วมกับผู้อืน
สร้างสรรค์ผลงานและถ่ายทอดความคิดของตน
เข้าใจแนวคิดและการทํางานพืนฐานของเครืองมือ
ดิจิทัล เช่น เข้าใจคําศัพท์สําคัญของระบบคอมพิวเตอร์
เข้าใจการทํางานของอุปกรณ์ คุ้นเคยกับสัญลักษณ์และ
ระบบของเครืองมือดิจิทัล รู้จักระบบปฏิบัติการทีหลาก
หลายและสามารถเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียได้
การใช้ชีวิตในโลกยุคดิจิทัลนัน ลําพังเพียงแค่การเข้าถึงได้ ใช้เปนนันยังไม่เพียงพอ
การจะเปนพลเมืองดิจิทัลทีมีคุณภาพ และใช้อินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุดนัน ต้องมีความรู้หลายมิติควบคู่กัน ดังนี
เลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะกับวัตถุประสงค์
เข้าใจข้อดีข้อเสียของเทคโนโลยีทีมีอยู่ในตลาด เช่น
เลือกใช้แอปพลิเคชันทีช่วยให้การทํางานเกิดสัมฤทธิผลสูงสุด
หรือช่วยในการจัดการข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
ทักษะและความรูพื้นฐานดานไอซีที (ICT Literacy)
ประยุกต์จาก โครงการการพัฒนาทักษะและการเปนพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship; 2018)
และสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.)
รูใช
รูทัน
รูตัว
รูทาง
รูจัก
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
7Digital Resilience safeinternet.camp
ในยุคทีเทคโนโลยีกลายเปนส่วนหนึงของชีวิต และสังคมออนไลน์เปนพืนทีทีเยาวชนส่วนใหญ่ใช้เวลาด้วย
มากกว่าสังคมภายนอกในชีวิตจริง หากมองเห็นเปนโอกาส จะเปรียบเสมือนประตูทีเชือมโยงการเรียนรู้ที
สัมพันธ์กับประสบการณ์และปรากฏการณ์ทีเกิดขึนจริงจากทัวทุกมุมโลก แต่ในอีกด้านหนึง โลกเสมือนใบนีไม่
ต่างจากโลกแห่งความเปนจริงทีเต็มไปด้วยอันตรายมากมายทีเราต่างต้องรู้ให้เท่าทัน และอยู่กับมันได้อย่าง
ปลอดภัย ซึงเปนทักษะความรู้ทีอาจไม่มีสอนในสถาบันการศึกษา ผู้ทีเปนครูหรือผู้ปกครอง จึงมีความจําเปน
อย่างยิงทีจะต้องเรียนรู้เพือให้เท่าทันต่อปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึนในโลกออนไลน์ ด้วยความเข้าใจและพร้อม
ทีจะเปนผู้ช่วยเหลือดูแลเด็กและเยาวชนทีอาจตกเปนเหยือของภัยทางอินเทอร์เน็ต ซึงอาจถูกคุกคามได้ใน
หลายรูปแบบไม่ว่าจะเปนการสูญเสียทรัพย์สิน ถูกทําร้ายทังทางร่างกายและจิตใจ จนอาจถึงขันนําไปสู่การเสีย
ชีวิตได้
ภัยอันตราย และความเสี่ยงบนโลกอินเทอรเน็ต...
สนามการเรียนรูบนโลกเสมือนที่ตองพบเจอในชีวิตจริง
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
8Digital Resilience safeinternet.camp
ความเสี่ยงหลักที่เด็กและเยาวชนไทยมักพบเจอบนโลกอินเทอรเน็ต
เขาถึงสื่อและเนื้อหาที่มีความเสี่ยง
การกลั่นแกลงบนโลกออนไลน
ภัยคุกคามบนโลกออนไลน
ความปลอดภัยและความเปนสวนตัว
96.96%
44.35%
43.78%
40.44%
ที่มา : ผลสํารวจโดยโครงการสรางเยาวชนอินเทอรเน็ตที่มีความรับผิดชอบ (2563)
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรืองสังคมในโลก
ออนไลน์ และภัยบนโลกอินเทอร์เน็ต
เพือการรู้เท่าทัน
ประโยชนของหลักสูตร Digital Resilience
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
9Digital Resilience safeinternet.camp
เรียนรู้วิธีการรับมือ ปองกัน
และแก้ไข เมือประสบภัย
คุกคามต่าง ๆ จากอินเทอร์เน็ต
ตลอดจนสามารถช่วยให้คํา
แนะนํากับผู้อืนได้
เสริมสร้างความเห็นอกเห็นใจผู้
อืน และเรียนรู้การมีมารยาทบน
โลกอินเทอร์เน็ต ตลอดจนเปน
พลเมืองอินเทอร์เน็ตทีมีความรับ
ผิดชอบต่อตนเองและสังคม
HEAD
HAND HEART
คุณครูประจําวิชาไหนนําไปใชไดบาง ?
การใช้เทคโนโลยีผลกระทบ
ของเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร วิทยาศาสตร สุขศึกษา
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
แก้ไขปญหาอย่างเปนระบบ
ปองกันและหลีกเลียงปจจัย
เสียงทีมีผลต่อสุขภาพจิต
พลเมืองในยุคดิจิทัล
คุณธรรมจริยธรรมใน
การใช้อินเทอร์เน็ต
สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ
การฟงและดูอย่างมีวิจารณญาณ
แสดงความคิดเห็นอย่างวิจารณญาณ
และสร้างสรรค์
ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับ
กาลเทศะ
การดูแลตัวเองและสังคม
แนะแนว ฝายปกครอง กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
การแก้ไขปญหาทีเกียวข้อง
กับดิจิทัล
เสริมสร้างทักษะ
ศตวรรษที 21
Digital Resilience สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
6 กลุมสาระการเรียนรู
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
10
ง 3.1 ป.1/2
ง 3.1 ป.2/1
ง 3.1 ป.2/2
ง 3.1 ป.3/1
ง 3.1 ป.4/3
ง 3.1 ป.5/4
ง 3.1 ป.6/1
Digital Resilience safeinternet.camp
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง)
ง 3.1 ป.6/2
ง 3.1 ป.6/3
ง 3.1 ป.6/4
ง 3.1 ป.6/5
ง 3.1 ม.1/2
ง 3.1 ม.2/2
ง 3.1 ม.2/3
ง 3.1 ม.3/4
ง 3.1 ม.4-6/5
ง 3.1 ม.4-6/9
ง 3.1 ม.4-6/10
ง 3.1 ม.4-6/12
ง 3.1 ม.4-6/13
ง 4.1 ป.5/2
ง 4.1 ป.6/1
ง 4.1 ป.6/2
ง 4.1 ม.2/1
ง 4.1 ม.3/3
ง 4.1 ม.4-6/2
ง 4.1 ม.4-6/3
ว 4.1 ม.1/1
ว 4.1 ม.1/3
ว 4.1 ม.1/4
ว 4.1 ม.2/1
ว 4.1 ม.2/3
ว 4.1 ม.2/4
ว 4.1 ม.3/1
ว 4.1 ม.3/3
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ว)
ว 4.1 ม.3/4
ว 4.1 ม.4/1
ว 4.1 ม.4/2
ว 4.1 ม.4/3
ว 4.1 ม.4/4
ว 4.2 ป.1/5
ว 4.2 ป.2/4
ว 4.2 ป.3/3
ว 4.2 ป.4/1
ว 4.2 ป.4/3
ว 4.2 ป.4/4
ว 4.2 ป.4/5
ว 4.2 ป.5/1
ว 4.2 ป.5/3
ว 4.2 ป.5/4
ว 4.2 ป.5/5
ว 4.2 ป.6/1
ว 4.2 ป.6/3
ว 4.2 ป.6/4
ว 4.2 ม.1/4
ว 4.2 ม.2/4
ว 4.2 ม.3/3
ว 4.2 ม.3/4
ว 4.2 ม.6/1
พ 1.1 ม.2/2
พ 1.1 ม.3/3
พ 2.1 ป.3/2
พ 2.1 ป.3/3
พ 2.1 ป.4/3
พ 2.1 ป.5/3
พ 2.1 ป.6/1
พ 2.1 ป.6/2
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพละศึกษา (พ)
พ 2.1 ม.1/2
พ 2.1 ม.2/3
พ 2.1 ม.2/4
พ 2.1 ม.4-6/2
พ 2.1 ม.4-6/3
พ 4.1 ป.2/3
พ 4.1 ป.4/2
พ 4.1 ป.5/3
พ 2.1 ป.6/3
พ 2.1 ม.2/2
พ 2.1 ม.2/4
พ 2.1 ม.2/6
พ 2.1 ม.4-6/2
พ 5.1 ป.1/1
พ 5.1 ป.1/3
พ 5.1 ป.3/2
พ 5.1 ป.5/4
พ 5.1 ม.2/2
พ 5.1 ม.3/1
พ 5.1 ม.3/3
พ 5.1 ม.4-6/3
พ 5.1 ม.4-6/5
พ 5.1 ม.4-6/6
ส 2.1 ป.1/1
ส 2.1 ป.2/1
ส 2.1 ป.2/3
ส 2.1 ป.2/4
ส 2.1 ป.4/1
ส 2.1 ป.4/3
ส 2.1 ป.4/4
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส)
ส 2.1 ป.5/1
ส 2.1 ป.5/2
ส 2.1 ป.6/1
ส 2.1 ป.6/5
ส 2.1 ม.1/1
ส 2.1 ม.1/3
ส 2.1 ม.1/4
ส 2.1 ม.2/1
ส 2.1 ม.2/2
ส 2.1 ม.3/2
ส 2.1 ม.3/4
ส 2.1 ม.3/5
ส 2.1 ม.4-6/1
ส 2.1 ม.4-6/3
ส 2.1 ม.4-6/4
ส 2.1 ม.4-6/5
ส 2.2 ป.1/2
ส 3.1 ป.4/2
ส 3.1 ป.6/2
ส 3.1 ม.2/4
ส 3.2 ป.1/1
ส 3.2 ม.1/4
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
11
ท 1.1 ป.2/3
ท 1.1 ป.2/4
ท 1.1 ป.2/5
ท 1.1 ป.3/3
ท 1.1 ป.3/4
ท 1.1 ป.4/4
ท 1.1 ป.4/5
ท 1.1 ป.5/4
ท 1.1 ป.6/4
ท 1.1 ม.1/2
ท 1.1 ม.1/3
ท 1.1 ม.1/6
ท 1.1 ม.2/2
ท 1.1 ม.2/4
ท 1.1 ม.2/5
ท 1.1 ม.2/6
ท 1.1 ม.3/3
ท 1.1 ม.3/6
ท 1.1 ม.3/7
ท 1.1 ม.3/8
ท 1.1 ม.4-6/2
ท 1.1 ม.4-6/3
ท 1.1 ม.4-6/4
ท 1.1 ม.4-6/5
ท 1.1 ม.4-6/8
Digital Resilience safeinternet.camp
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (ท)
ท 2.1 ป.1/3
ท 2.1 ป.2/4
ท 2.1 ป.3/6
ท 2.1 ป.4/2
ท 2.1 ป.4/8
ท 2.1 ป.5/2
ท 2.1 ป.5/6
ท 2.1 ป.5/9
ท 2.1 ป.6/2
ท 2.1 ป.6/9
ท 2.1 ม.1/2
ท 2.1 ม.1/6
ท 2.1 ม.1/9
ท 2.1 ม.2/7
ท 2.1 ม.2/8
ท 2.1 ม.3/2
ท 2.1 ม.3/6
ท 2.1 ม.3/7
ท 2.1 ม.3/10
ท 2.1 ม.4-6/1
ท 2.1 ม.4-6/8
ท 3.1 ป.1/3
ท 3.1 ป.1/4
ท 3.1 ป.1/5
ท 3.1 ป.2/3
ท 3.1 ป.2/4
ท 3.1 ป.2/5
ท 3.1 ป.2/6
ท 3.1 ป.2/7
ท 3.1 ป.3/2
ท 3.1 ป.3/3
ท 3.1 ป.3/4
ท 3.1 ป.3/5
ท 3.1 ป.3/6
ท 3.1 ป.4/1
ท 3.1 ป.4/2
ท 3.1 ป.4/3
ท 3.1 ป.4/4
ท 3.1 ป.4/6
ท 3.1 ป.5/1
ท 3.1 ป.5/2
ท 3.1 ป.5/3
ท 3.1 ป.5/5
ท 3.1 ป.6/1
ท 3.1 ป.6/2
ท 3.1 ป.6/3
ท 3.1 ป.6/5
ท 3.1 ป.6/6
ท 3.1 ม.1/1
ท 3.1 ม.1/3
ท 3.1 ม.1/4
ท 3.1 ม.1/6
ท 3.1 ม.2/1
ท 3.1 ม.2/2
ท 3.1 ม.2/3
ท 3.1 ม.2/4
ท 3.1 ม.2/6
ท 3.1 ม.3/1
ท 3.1 ม.3/2
ท 3.1 ม.3/4
ท 3.1 ม.3/5
ท 3.1 ม.3/6
ท 3.1 ม.4-6/1
ท 3.1 ม.4-6/2
ท 3.1 ม.4-6/4
ท 3.1 ม.4-6/5
ท 3.1 ม.4-6/6
ท 4.1 ป.2/5
ท 4.1 ป.3/6
ท 4.1 ป.6/2
ท 4.1 ม.4-6/1
ท 4.1 ม.4-6/3
ท 4.1 ม.4-6/7
ต 1.1 ม.1/4
ต 1.1 ม.2/4
ต 1.1 ม.3/4
ต 1.1 ม.4-6/4
ต 1.2 ป.4/3
ต 1.2 ป.4/5
ต 1.2 ป.5/3
ต 1.2 ป.5/5
ต 1.2 ป.6/3
ต 1.2 ป.6/5
ต 1.2 ม.1/3
ต 1.2 ม.1/4
ต 1.2 ม.1/5
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ต)
ต 1.2 ม.2/3
ต 1.2 ม.2/4
ต 1.2 ม.2/5
ต 1.2 ม.3/3
ต 1.2 ม.3/4
ต 1.2 ม.3/5
ต 1.2 ม.4-6/1
ต 1.2 ม.4-6/3
ต 1.2 ม.4-6/4
ต 1.2 ม.4-6/5
ต 1.3 ป.4/3
ต 1.3 ป.5/3
ต 1.3 ป.6/3
ต 1.3 ม.1/2
ต 1.3 ม.1/3
ต 1.3 ม.2/2
ต 1.3 ม.2/3
ต 1.3 ม.3/2
ต 1.3 ม.3/3
ต 1.3 ม.4-6/2
ต 1.3 ม.4-6/3
ต 2.1 ป.4/1
ต 2.1 ป.5/1
ต 2.1 ป.6/1
ต 2.1 ม.1/1
ต 2.1 ม.2/1
ต 2.1 ม.3/1
ต 2.1 ม.4-6/1
ต 3.1 ม.1/1
ต 3.1 ม.2/1
ต 3.1 ม.3/1
ต 3.1 ม.4-6/1
ต 4.2 ป.4/1
ต 4.2 ป.5/1
ต 4.2 ป.6/1
ต 4.2 ม.1/1
ต 4.2 ม.2/1
ต 4.2 ม.3/1
ต 4.2 ม.4-6/1
1. ข้อใดไม่เกียวข้องกับภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต ?
ก. รู้วิธีปองกันภัยคุกคามในอินเทอร์เน็ต
ข. รู้วิธีแก้ไขปญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต
ค. รู้วิธีลงโทษผู้ทีกระทําผิดบนโลกอินเทอร์เน็ต
ง. รู้ว่าควรทําสิงใด ไม่ควรทําสิงใดบนโลกอินเทอร์เน็ต
2. ข้อใดไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ?
ก. โพสต์ข้อมูลทีไม่จริง
ข. กดถูกใจข้อมูลทีไม่จริง
ค. แชร์ข้อมูลทีไม่จริง
ง. ไม่ลบข้อมูลทีไม่จริงทีคนอืนมาโพสต์ไว้ในเพจของตน
3. ข้อใดไม่ใช่สิงทีบ่งบอกความน่าเชือถือของข้อมูล ?
ก. ชือผู้เขียนข้อมูล
ข. สถิติการเข้าชมข้อมูล
ค. เว็บไซต์ทีเผยแพร่ข้อมูล
ง. วันทีเผยแพร่ข้อมูล
4. ข้อความใดถูกต้อง ?
ก. เด็กทุกคนทีเล่นเกมจะมีอารมณ์รุนแรง
ข. ผู้ใช้แอปพลิเคชันหาคู่มีแต่คนทีหลอกลวง
ค. ข่าวทีอ้างว่า นักจิตวิทยากล่าวว่า… อาจเปนข่าวลวง
ง. การใช้ One Time Password ทีส่งมาทาง SMS
ไม่สามารถถูก Hack ได้
5. ข้อใดไม่ใช่ Passive Digital Footprint ?
ก. การเปดระบบ GPS
ข. ประวัติการค้นหาข้อมูล
ค. IP Address ทีเข้าใช้งาน
ง. การใช้ QR Code Check-in
แบบทดสอบกอนเรียน
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
12Digital Resilience safeinternet.camp
6. ข้อใดไม่ใช่สิทธิใน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ?
ก. สิทธิในการแก้ไขข้อมูล
ข. สิทธิในการลบลืมข้อมูล
ค. สิทธิในการแจ้งข้อมูลเท็จเพือปกปดอัตลักษณ์
ง. สิทธิในการเพิกถอนคํายินยอมการเก็บข้อมูล
7. Catfishing คืออะไร ?
ก. การปล่อยไวรัสใส่อุปกรณ์ของผู้อืน
ข. การดักรหัสผ่านของผู้อืน
ค. การสุ่มรหัสผ่านของผู้อืน
ง. การปลอมแปลงเปนบัญชีของผู้อืน
8. ข้อใดไม่ใช่การกลันแกล้งบนโลกออนไลน์ ?
ก. โพสต์รูปให้คนอืนเห็นบ้านจน ๆ ของเพือน
ข. โพสต์เล่าเรืองราวน่าอายแต่ไม่เอ่ยชือว่าเปนใคร
ค. คอมเมนต์ว่า “ไม่เห็นด้วยกับความคิดนี”
ง. ตังกลุ่มลับนินทาโดยไม่มีเพือนทีถูกนินทาในกลุ่ม
9. ควรทําเช่นไรเพือให้ปลอดภัยจากการโกงธุรกรรม
ทางการเงินออนไลน์ ?
ก. คลิก link เพือดาว์นโหลดแอปพลิเคชันรุ่นใหม่
ทันทีทีได้รับ SMS จากธนาคาร
ข. ตรวจสอบรายการเคลือนไหวในบัญชีอยู่เสมอ
ค. บอกรหัสผ่านให้คนทีไว้ใจได้รับรู้ไว้ เพือเปน
พยานบุคคล
ง. ทําธุรกรรมผ่านทาง Wi-Fi ทุกครังเพือแปลง
สัญญาณการทําธุรกรรม
10. ข้อใดไม่ใช่เปาหมายการคุกคามของมิจฉาชีพ ?
ก. หาช่องโหว่แล้วแจ้งผู้ดูแลเพือรับค่าตอบแทน
ข. เข้าไปรวบรวมข้อมูลทีอยู่ในระบบ
ค. เข้าไปโจมตีระบบให้ใช้งานไม่ได้
ง. เข้าไปเปลียนแปลงแก้ไขข้อมูล
01
Digital Resilience
การอยูรวมกันบนโลก
อินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
14Digital Resilience safeinternet.camp
เข้าใจแนวทางของการอยู่ร่วมกับผู้อืนในโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย
เห็นความสําคัญของการมี Empathy หรือความเห็นอกเห็นใจต่อผู้อืนในโลกอินเทอร์เน็ต
ตระหนักถึงความเสียงบนโลกอินเทอร์เน็ต และเข้าใจทักษะสําคัญเพือการรับมือ
รู้จักมารยาทบนอินเทอร์เน็ต และเรียนรู้การปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมได้
เปาหมายการเรียนรู
1.
2.
3.
4.
บทที่ 1
การอยูรวมกันในโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย
Digital Resilience | Empathy | Critical Thinking | Netiquette
การกระทําบนโลกอินเทอรเน็ตอาจทําให
บนโลกออนไลน์ หรือโลกอินเทอร์เน็ต แม้ว่าจะเปนโลกเสมือนทีถูกจําลองขึน เพือจุดประสงค์และการ
ใช้งานทีแตกต่างกันไปในแต่ละช่องทาง เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชัน เปนพืนทีซึงเปดโอกาสให้เราทําอะไรได้
มากมาย ไม่ว่าจะเปน การนําเสนอแสดงตัวตนของเรา พูดคุยกับผู้อืน หาความรู้ เสพความบันเทิง และ
สร้างสรรค์ข้อมูลกันได้อย่างไม่จบสิน แต่เราต้องไม่ลืมว่า การข้องเกียวปฏิสัมพันธ์บนพืนทีโลกออนไลน์ต่าง ๆ
เหล่านี เปนสิงทีสัมพันธ์และส่งผลกระทบกับชีวิตจริงอย่างไม่อาจแยกขาดจากกัน มิหนําซาการกระทําต่าง ๆ
บนโลกออนไลน์นัน อาจนําไปสู่การถูกส่งต่อ แปรเปลียนสาร ขยายวงกว้าง และทวีความรุนแรงได้อย่างไม่จบสิน
นีจึงเปนสาเหตุสําคัญทีเราควรตระหนัก เรียนรู้ เพือการใช้อย่างเหมาะสมและมีสติ อันจะนําไปสู่การอยู่ร่วมกัน
ในสังคมออนไลน์ได้อย่างปลอดภัยทังกับตัวเราและกับผู้อืน
...ชีวิตจริงบนโลกเสมือน...
การอยูรวมกันบนโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย
เสียทรัพย์…
สาวสระแก้วร้องสือ ถูกหลอกให้เล่นแชร์ออนไลน์
สูญเงินหมดตัว แถมถูกเจ้าของแชร์ขู่ยึดทรัพย์
เปนทุกข์หนัก
เสียใจ…
ชายหนุ่มทีถูกโลกโซเชียลกล่าวหาว่าเปนโรคจิต หลังใส่รองเท้าทีมีรูขาด
ขึนรถไฟฟา BTS แล้วมีผู้ถ่ายภาพไปเผยแพร่บนสังคมออนไลน์พร้อม
กล่าวหาว่า ติดกล้องไว้ทีรองเท้าเพือแอบถ่ายใต้กระโปรงหญิงสาว
"คุณไม่เปนผม คุณไม่รู้หรอกว่า ช่วงเวลานันมันเเย่เเค่ไหน"
เสียชีวิต…
นักร้องนักแสดงชาวเกาหลีใต้วัย 25 ป ฆ่าตัวตาย
เพราะความกดดันจากการทํางาน เสียงวิจารณ์ และ
การกลันแกล้งทางไซเบอร์
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
15Digital Resilience safeinternet.camp
Digital Resilience
ภูมิคุมกันบนโลกดิจิทัล คืออะไร?
“ความสามารถในการตระหนักถึงภัยออนไลน์
และวิธีการรับมือกับความเสียงเหล่านัน
รู้ว่าจะต้องทําอย่างไรเมือเกิดความผิดพลาดขึน
เรียนรู้จากประสบการณ์ในการอยู่บนโลกออนไลน์
และสามารถทีจะกอบกู้สถานการณ์จากความยากลําบากและความไม่สบายใจได้”
The UK Council for Child Internet Safety (UKCCIS)
Resilience Working Group
Digital Resilience เปนทักษะพื้นฐานดานดิจิทัล ในการมีความตระหนัก
และความเขาใจความสัมพันธระหวางการใชเทคโนโลยีและความเสี่ยงที่อาจพบเจอ
เพื่อใหมีศักยภาพในการปองกัน รับมือ และแกไขเมื่อประสบปญหา
ตลอดจนเทาทันการเปลี่ยนแปลงพัฒนาที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
เมือเทคโนโลยี หรืออินเทอร์เน็ต กลายเปนปจจัยที 5 สําหรับการดํารงชีวิตในปจจุบันไปแล้วการเรียนรู้
ปรับตัว และรับมือกับความเสียง และความเปนไปต่าง ๆ บนโลกอินเทอร์เน็ตจึงเปนสิงจําเปน เช่นเดียวกันกับ
การใช้ชีวิตในโลกปกติ ซึงทักษะความสามารถในการเตรียมรับมือ และการปรับตัวต่อการเปลียนแปลง รวมถึง
การทนทานต่อการถูกคุกคาม ตลอดจนความสามารถในการฟนคืนสภาพของตัวเองจากภัยต่าง ๆ ได้นี คือ
ทักษะสําคัญแห่งยุคสมัย ทีเรียกว่า “Resilience”
บนโลกอินเทอร์เน็ตมีสิงทีเปนทังองค์ความรู้ ช่องทางการเรียนรู้ ประตูสู่โลกกว้าง
ตลอดจนประโยชน์อีกมากมายมหาศาล แต่ก็มาพร้อมกับโทษภัยความเสียงหลายอย่าง
เช่นกัน หากผู้ใช้มีภูมิคุ้มกัน ในการใช้อินเทอร์เน็ตทีดีก็จะสามารถใช้อย่างปลอดภัย และ
ได้รับประโยชน์ทีมากกว่า ซึงเกิดขึนได้จากการปลูกฝง และดูแลจากครู หรือผู้ปกครอง
ทีสามารถให้คําแนะนํา และ ช่วยเหลือภูมิคุ้มกันในการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย
มีความรับผิดชอบ และเปนประโยชน์ (Digital Resilience)
16
ภูมิคุมกันบนโลกดิจิทัลสําคัญอยางไร ?
Digital Resilience safeinternet.camp
ควรทําสิงใด
ไม่ควรทําสิงใดเพือให้อยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย อีกทังยังรู้
วิธีปองกัน ด้วยการประเมินความเสียงก่อน แล้วหาวิธีหลีกเลียงความเสียงหรือปองกัน
ความเสียง และรู้
วิธีแก้ไขปญหาเพือฟนสภาพจากภาวะเสียงภัยมาสู่ภาวะปกติได้ เริมจากการตังสติและ
ประเมินสถานการณ์ จากนันตัดสินใจว่าจะแก้ไขด้วยตนเองหรือขอความช่วยเหลือ
1.
2.
3.
4.
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
ซึงการกระทําทัง 4 นีต้องอาศัยความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) และทักษะ
การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ควบคู่กันไปซึงในหลักสูตรนี
จะแนะนําหลัก Digital Resilience ในทุก ๆ หัวข้อให้เห็นว่า
ควรทําอะไร ไม่ควรทําอะไร มีวิธีปองกัน และวิธีแก้ไขอย่างไรบ้าง
ซึงบางอย่างจะสอดคล้องกับมารยาทบนโลกอินเทอร์เน็ต
(Netiquette) และกฎหมายทีบังคับใช้จริงอีกด้วย
17Digital Resilience safeinternet.camp
Digital Resilience คือการรูวา
Digital Resilience
Critical Thinking
Empathy
ควรทํา ไมควรทํา วิธีปองกัน วิธีแกไข
ประเมินความเสี่ยง
หลีกเลี่ยงความเสี่ยง/
ปองกันความเสี่ยง
ตั้งสติ
ประเมินสถานการณ
แกไขดวยตนเอง/
ขอความชวยเหลือ
Empathy
ความเห็นอกเห็นใจ...หัวใจของการอยูรวมกัน
โลกในยุคปจจุบันปจจัยทีทําให้การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมมีความแตกต่างไปจากในอดีต
เราปฏิสัมพันธ์กับผู้คนมากขึน ทังในชีวิตจริงและบนโลกออนไลน์ แต่คุณภาพของความสัมพันธ์
ส่วนใหญ่นันกลับลดลง โดยเฉพาะนาหล่อเลียงสําคัญทีช่วยโอบอุ้ม ทุกความสัมพันธ์ทีขาดหายไป
นันก็คือ “ความเห็นอกเห็นใจ”
“ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) เปนความสามารถในการเข้าถึง
เข้าใจความรู้สึกของผู้อืน และมีส่วนร่วมในความรู้สึกนันผลของความรู้สึกสามารถ
แสดงให้เห็นได้โดยพฤติกรรมทีแสดงออกด้วยภาษา ถ้อยคํา และท่าทาง”
Gerard Egan (1986)
“ความรวดเร็วในโลกออนไลนอาจทําใหเราเห็นอกเห็นใจกันนอยลง
ดังนั้นกอนที่เราจะโพสตหรือคอมเมนทอะไรในโลกออนไลน เราควรคิดไตรตรองใหรอบคอบ
วาสิ่งที่เราโพสตนั้นจะทําใหคนคนนั้นที่มาเห็นรูสึกไมดีหรือไม”
หมอมิน พญ.เบญจพร ตันตสูติ เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา
ความเห็นอกเห็นใจผู้อืนบนโลกออนไลน์ หรือ Online Empathy คือการตระหนักถึงผลกระทบ
ของการกระทําของเราทีมีต่อผู้อืน และเข้าใจถึงความรู้สึกของเขาทีอาจมีต่อการกระทําของเรา
เราจึงควรเรียนรู้ทีจะมีมารยาท และรู้กาลเทศะในการใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกับผู้อืน โดยไม่ลืมทีจะ
เอาใจเขามาใส่ใจเรา ซึงเปนพืนฐานของการเปนผู้ทีมีนาใจและความรับผิดชอบบนโลกออนไลน์
เนืองจากเราไม่ได้พบเจอหรืออยู่ต่อหน้าผู้คนจริง ๆ บางส่วนก็เปนคนทีเรารู้จักอยู่แล้วในชีวิตปกติ
แต่บางส่วนก็เปนผู้คนทีเราไม่รู้จัก ไม่เคยเห็นหน้าหรือพูดคุยกันมาก่อน อีกทังการสือสารบนโลก
อินเทอร์เน็ตนัน มักกระทําผ่านตัวอักษร หรือข้อความเปนหลัก จึงทําให้เราไม่ได้เห็นสีหน้า ท่าทาง
นาเสียง ทีแสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทําให้เกิดระยะห่างระหว่างบุคคลทีปฏิสัมพันธ์กันบนโลก
อินเทอร์เน็ต
ความเห็นอกเห็นใจผูอื่นบนโลกออนไลน Online Empathy
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
18Digital Resilience safeinternet.camp
วิธีสรางนิสัยการมีความเห็นอกเห็นใจในโลกออนไลน
ปฏิบัติดีกับผู้อืนเสมอปฏิบัติดีกับผู้อืน ให้เหมือนกับทีอยากให้ผู้อืนปฏิบัติดีกับเราสิงทีเราทําอาจกระทบต่อความรู้สึกและส่งผลเสียต่อสภาพจิตใจของผู้อืนได้
ถามตัวเองก่อนโพสต์
ถามตัวเองก่อนทีจะโพสต์ข้อความหรือความคิดเห็น
โดยเฉพาะโพสต์ทีมีความเกียวข้องกับผู้อืน
เราจะพูดสิงนันต่อหน้าบุคคลนันหรือไม่ ?
เราจะรู้สึกอย่างไรถ้ามีคนพูดถึงเราแบบเดียวกันนี ?
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
19Digital Resilience safeinternet.camp
คิดก่อนแชร์
คิดก่อนทีจะแชร์วิดีโอหรือรูปภาพมันจะทําให้ใครไม่สบายใจ โกรธ อับอายหรือเปล่า ?มันจะทําให้ใครรู้สึกถูกล่วงละเมิดหรือเปล่า ?จะมีคนกีคนทีจะเห็นโพสต์และแชร์มันต่อ ?
อย่าร่วมกลันแกล้งผู้อืนทางออนไลน์
เมือเห็นมีคนถูกกลันแกล้งออนไลน์
อย่าเข้าไปมีส่วนร่วมแกล้งเปนอันขาด
ให้บอกผู้ใหญ่ทีไว้ใจถึงเรืองการรังแกนัน
เพือช่วยเหลือผู้ทีถูกรังแก
อย่าโต้ตอบกับคนทีรังแกหรือกลุ่มอันธพาลโดยตรง
ถ้ามีคนขอให้ลบภาพของเขา
ทีเราโพสต์ ให้รีบลบทันที
ถ้ามีคนขอให้ลบรูปภาพของเขาทีเราโพสต์ออนไลน์
ให้รีบลบมันทันทีเอาใจเขามาใส่ใจเรา
จงมีความรู้สึกทีดีต่อตัวเองเช่นกัน !ชีวิตของทุกคนไม่ได้ดูดีสมบูรณ์แบบอย่างทีเห็นบนโซเชียลมีเดีย เพราะเปนสิงทีสร้างตกแต่งขึนได้อย่าเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อืนให้รู้สึกเปนทุกข์ หรืออิจฉา
Critical Thinking Skills
ทักษะการคิดเชิงวิพากษ
Critical Thinking ในเชิงวิชาการ ให้คําแปลไว้ว่า “การคิดเชิงวิพากษ์” หมายถึง “กระบวนการคิดรูปแบบหนึง ทีใช้ในการสร้าง
และประเมินข้อสรุปจากหลักฐานหรือสภาวการณ์ใด ๆ ได้อย่างถูกต้องตามความเปนจริงเปนทักษะทีจําเปนอย่างยิงในการเสพ
ข้อมูลออนไลน์ โดยเราต้องตังคําถามกับตัวเองเสมอว่าสิงทีเรากําลังอ่านอยู่เปนเรืองจริงหรือไม่ โดยไม่เชืออะไรง่าย ๆ ก่อนทีจะคิด
อย่างรอบคอบถ้วนถี โดยใช้ตรรกะเหตุผลมาช่วยพิจารณาหาความเชือมโยงระหว่างข้อมูลทีได้รับ กับความเปนจริงทีเกียวข้อง ซึง
ทักษะนีเปนพืนฐานของการเรียนรู้แบบ Active Learning ทีผู้เรียนเปนคนตังคําถามเพือคิดวิเคราะห์ด้วยตัวเอง มากกว่าการเปนรับ
ข้อมูลความรู้เพียงอย่างเดียว อันเปนประตูสําคัญทีจะนําไปสู่การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพสําหรับทุก ๆ เรืองราวในชีวิต
แนวทาง
การฝกเพื่อใหมีทักษะ
การคิดเชิงวิพากษ
ตังคําถามกับทุกอย่าง
ดูหลายมุมมอง องค์ประกอบ และบริบท
พิจารณา เปรียบเทียบมุมมองทีแตกต่าง
มองไปให้ไกลและลึกว่าทีเห็น
ตรวจสอบข้อมูลอย่างรอบคอบ
หลีกเลียงการคาดเดาไปเอง
หาหลักฐานประกอบ
ใช้ตรรกะ เหตุผลในข้อถกเถียง
แยกแยะ ไม่ให้ถูกชีนํา
ระวังข้อมูลทีเจือด้วยอคติ
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
20Digital Resilience safeinternet.camp
ตังคําถาม
กับทุกอย่าง
ดูหลายมุมมอง
องค์ประกอบ
และบริบท
พิจารณา
เปรียบเทียบ
มุมมองทีแตกต่าง
ระวังข้อมูล
ทีเจือด้วยอคติ
แยกแยะ
ไม่ให้ถูกชีนํา
ใช้ตรรกะ
เหตุผลใน
ข้อถกเถียง
หาหลักฐาน
ประกอบ
หลีกเลียง
การคาดเดา
ไปเอง
ตรวจสอบข้อมูล
อย่างรอบคอบ
มองไปให้ไกล
และลึกว่าทีเห็น
แนวทางการ
ฝกเพื่อใหมีทักษะการคิดเชิงวิพากษ
เตือนตัวเองเสมอว่าเรากําลังติดต่อกับคนจริง ๆ อยู่นะ
รู้กาลเทศะของแต่ละชุมชนในอินเทอร์เน็ต
เคารพเวลาและการใช้แบนวิธ
ปฏิบัติตัวสุภาพและเปนมิตร
แบ่งปนความรู้
เคารพความเปนส่วนตัวของผู้อืน
ให้อภัยในความผิดพลาดของผู้อืน
ควรทํา
Netiquette
มารยาทบนอินเทอรเน็ต
เมื่อโลกอินเทอรเน็ตเปนพื้นที่หนึ่งที่ผูคนตองใชชีวิตอยูรวมกันเปนสังคมออนไลน
การสื่อสารและปฏิสัมพันธกับผูอื่นอยางมีมารยาท จึงเปนสิ่งที่ควรทําเชนเดียวกันกับในโลก
ความเปนจริง Netiquette คือ วิธีประพฤติตนที่เหมาะสมเมื่อใชอินเทอรเน็ต ที่หลายครั้ง
เราอาจลืมไปวา กําลังมีปฏิสัมพันธกับคนจริง ๆ ที่มีชีวิตจิตใจ ไมใชหุนยนตหรือตัวอักษร
Netiquette มารยาทบนอินเทอร์เน็ต
คือชุดวิธีประพฤติตนทีเหมาะสมเมือใช้อินเทอร์เน็ต
Virginia Shea (1994)
หนังสือ มารยาทเน็ต (Netiquette)
โดย เวอรจิเนีย เชีย ไดเขียนหลักการพื้นฐาน
ที่สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตัวบนโลกอินเทอรเน็ตเอาไว 10 ขอ ดังนี้
ไมควรทํา
ไม่ควรเปนนักเลงคีย์บอร์ด
(สือสารแบบเดียวกับโลกออฟไลน์)
ไม่ควรใส่อารมณ์ ควรควบคุมอารมณ์
ไม่ควรใช้อํานาจในทางทีไม่สร้างสรรค์
มารยาทบนอินเทอรเน็ตสอนใหเราควบคุมตัวเอง
แตความจริงเราตองปองกันความเสี่ยง และเรียนรูวิธีรับมือกับปญหาดวย
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
21Digital Resilience safeinternet.camp
ส่ง Email ขายของถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท
ฝากร้านใน Facebook Instagram ถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท
การโพสต์ด่าหรือว่าผู้อืน หากไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหาเอาผิดผู้โพสต์ได้
โทษจําคุกไม่เกิน 3 ป ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การให้ข้อมูลเกียวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทําให้เกิดความเสือมเสียชือเสียง หรือถูกดูหมิน
เกลียดชัง ญาติสามารถฟองร้องได้
แอดมินเพจทีเปดให้มีการแสดงความเห็น เมือพบข้อความทีผิด พ.ร.บ.ฯ และเปนผู้ลบออก
ออกจากพืนทีทีตนดูแล จะถือว่าเปนผู้พ้นผิด
การโพสต์เกียวกับเด็ก เยาวชน ต้องปดบังใบหน้า ยกเว้นการเชิดชู หรือชืนชม อย่างให้
เกียรติ
ไม่ทําการละเมิดลิขสิทธิผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ
ไม่โพสต์สิงลามกอนาจาร ทีทําให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้
ส่งรูปภาพทีแชร์จากผู้อืนไม่ผิด หากไม่นําไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้
ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่ได้รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนันได้ ไม่เช่นนัน
ถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท
กด Like ได้ไม่ผิด ยกเว้นการกดไลค์ข้อมูลทีมีฐานความผิด และมีผลกระทบต่อสังคม
เศรษฐกิจ และความมันคง โดยเมือไต่สวนแล้วมีเจตนาในเนือหานัน
กด Share ถือเปนการเผยแพร่ข้อมูล หากข้อมูลทีแชร์ไปไม่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ
และความมันคง หรือไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ถือว่าไม่มีความผิด
หากพบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ใช่สิงทีเจ้าของคอมพิวเตอร์
กระทําเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานทีรับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออก เจ้าของ
ก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย
สรุป พ.ร.บ.คอมพิวเตอร
กฎหมายนารู
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
22Digital Resilience safeinternet.camp
ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Offline
รอบที 1 : No ! but ...
รอบที 2 : Yes ! and ...
ชวนนักเรียนสะท้อนการเรียนรู้ว่าทัง 2 รอบรู้สึกต่างกันอย่างไร
ครูให้โจทย์สถานการณ์ 1 อย่าง ให้นักเรียนผลัดกันแสดงความคิดเห็น
ก่อนแสดงความคิดให้พูดแย้งเพือนว่า "ไม่ ! มันต้อง..." แล้วเติมความคิดเห็นตนเอง เช่น
"ทํายังไงเราถึงจะเรียนดี ?"
"เราต้องอ่านหนังสือทุกวัน"
"ไม่ ! มันต้องตังใจเรียนในห้องเรียน"
ก่อนแสดงความคิดให้พูดเสริมเพือนว่า "ใช่ ! แล้วก็..." แล้วเติมความคิดเห็นตนเอง เช่น
"ทํายังไงเราถึงจะเรียนดี ?"
"เราต้องกินอาหารทีดีต่อสมอง"
"ใช่ แล้วก็ต้องพักผ่อนให้เพียงพอ"
การทีเราเปดใจรับฟงความคิดเห็นคนอืนและเสริมความคิดเห็นเราโดยไม่ปดกัน ทําให้เกิดผลดียังไง
คิดว่าการเลือกใช้คําพูดทีแตกต่าง แต่ความหมายเหมือนเดิมให้ผลทีต่างไหม
เราจะประยุกต์เรืองนีไปใช้ในโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร
Yes ! and ... No ! but ...
เปดใจรับฟงผู้อืนโดยไม่ปดกัน ทําความเข้าใจผู้อืน
ใช้ถ้อยคําทีเหมาะสม เห็นอกเห็นใจผู้อืน
เปาหมายการเรียนรู
วิธีการ
คําถามชวนนักเรียนคิด
ใช ! แลวก็... | ไมใช ! มันตอง ...
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
23Digital Resilience safeinternet.camp
ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online
ชวนนักเรียนดูสือทีเล่าถึงเทคโนโลยีทีพัฒนาไปไกล และปญหาทีเกิดขึนตามมา
เมือดูจบ ชวนนักเรียนสะท้อนการเรียนรู้
เช่น ชวนดูการแคสเกม Detroit: Become Human บางตอนจาก YouTube ทีเล่าถึงโลกอนาคต
ทีมนุษย์ใช้ชีวิตร่วมกับหุ่นยนต์ แต่แล้ววันหนึงหุ่นยนต์กลับมีความรู้สึก และเริมไม่ทําตามคําสัง
ของมนุษย์ และออกมาเรียกร้องอิสรภาพของจักรกล
ถ้าโลกพัฒนาไปไกลแบบในเกม Detroit: Become Human ควรมีกฎหมายใดเพิม
ชวนวิเคราะหโลกอนาคต
เห็นสิงทีอาจเกิดขึนในอนาคตเมือเกิดการพัฒนาเทคโนโลยี
วิเคราะห์แนวทางการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
เปาหมายการเรียนรู
วิธีการ
คําถามชวนนักเรียนคิด
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
24Digital Resilience safeinternet.camp
ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online
ให้นักเรียนเข้าไปที www.safeinternetforkid.com ซึงเปนเกมทีนักเรียนสามารถเรียนรู้
การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยและรู้เท่าทันด้วยตัวเองได้ และเมือเล่นจบก็สามารถรับ
ประกาศนียบัตรทีแสดงว่าได้เรียนรู้ผ่านเกมนีแล้ว
ในชีวิตจริงทีเราเล่นอินเทอร์เน็ต เคยเจอเหตุการณ์คล้ายคลึงกับในเกมนีหรือไม่
เวลาทีเราเจอเหตุการณ์แบบนีเรารู้สึกอย่างไร
ต่อจากนีหากเจอเหตุการณ์ลักษณะนีอีก เราจะรับมือ หรือปฏิบัติตัวอย่างไร
Safe Internet for Kid
พัฒนาความรู้และทักษะทีจําเปนในการท่องโลกออนไลน์อย่างปลอดภัย
สือสารอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
สามารถระบุความเสียงต่าง ๆ หลีกเลียงความเสียง และขอความช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
เปาหมายการเรียนรู
คําถามชวนนักเรียนคิด
www.safeinternetforkid.com
วิธีการ
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
25Digital Resilience safeinternet.camp
Worksheet : พูดดี ๆ กันนะ
เปลี่ยนประโยคเหลานี้ใหสุภาพ สรางสรรคมากขึ้น โดยสื่อสารใหไดใจความเดิม
ลองตอบกลับอยางสุภาพและสรางสรรคหนอย ถามีคนพิมพมาหาเราแบบนี้
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
A : เปนเหมือนกันทังบ้านเลยเน๊าะ
แต่งตัวแบบนีดูอ้วนนะ ! รําคาญพวกแวนกับสกอยวะ !
นอนไมหลับเลย
รองไหเปนผูหญิงไปได ทําไมชอบบังคับวะ
ไอสัส !
ไอเดียจาก Be Internet Awesome
26Digital Resilience safeinternet.camp
A : ทําไมตอแหลขนาดนี
Me : Me :
Me : Me :
A : ทําไมโง่จัง !
A :
สมมติวาเราเปนผูเชี่ยวชาญดานการปองกันภัยรายบนโลกอินเทอรเน็ต แลวมีเพื่อน ๆ ทักมาขอคํา
แนะนําในการแกไขปญหา เราจะแนะนําเพื่อนแตละคนวาอะไรดี โดยที่วิธีการแกไขของเรานั้นไมไปกอ
ใหเกิดปญหาใหมขึ้นมา
ขอความชวยเหลือ คําแนะนํา
Digital Resilience
Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
Worksheet : ทํายังไงดี
มีพีคนหนึง รูปโปรไฟล์หล่อมาก เราเลยรับแอด แล้วก็คุยกัน
หลังจากนันเขาทักมายืมเงินเราทุกวันเลย และขู่ว่าถ้าเราไม่ให้
จะไปดักเจอตอนหลังเลิกเรียน เพราะตอนนี
เขารู้แล้วว่าเราเรียนทีไหน เราทําไงดี ?
แอนนา
เพือนคนหนึงของเราชอบแอบถ่ายรูปเรา
ตอนทําหน้าเหวอ แล้วเขาก็ชอบเอาไปโพสต์
เรารู้สึกไม่ชอบเลย แต่ก็ไม่รู้จะทํายังไงให้เขาหยุด
ปโป
เราเข้าเว็บดูหนังอยู่ดี ๆ ก็มีหน้าต่างเด้งขึนมาว่า
เข้าสู่ระบบ Facebook ใหม่ทีนีเพือรับรางวัล เราก็กรอกไปแล้ว
หลังจากนันเพือนก็โทรมาว่า เราแชทไปหลอกยืมเงินคนอืนทําไม
ซึงเราไม่ได้ทํา จนเราต้องโพสต์บอกว่าเราน่าจะโดนแฮก
แต่ก็ยังมีคนได้รับข้อความยืมเงินอยู่ ทําไงดี ๆ ?
กระถิน
คุณยายเราส่งข้อความทาง LINE มาบอกเรา
ว่าต้องดืมนามะนาวผสมโซดาทุก ๆ วันนะ
มันรักษามะเร็งได้ แต่คุณครูพยาบาลทีโรงเรียนบอกว่า
มันเปนข่าวลวง เราจะบอกคุณยายยังไงดีให้ท่านเชือเรา ?
ซีดี
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
27Digital Resilience safeinternet.camp
1. เพราะเหตุใดผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรฝกความเห็นอกเห็นใจและความเข้าใจกัน ?
ก. เพราะในอินเทอร์เน็ตมีอักขระพิเศษทีเข้าใจยาก
ข. เพราะผลงานในอินเทอร์เน็ตสร้างยากและใช้เวลานาน
ค. เพราะผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกว่า 78% ขาดแคลนทุนทรัพย์
ง. เพราะอาจการสือสารอาจคลาดเคลือนจากการไม่รู้นาเสียง
2. การคิดเชิงวิพากย์เสริมสร้างความเห็นอกเห็นใจและความเข้าใจกันได้อย่างไร ?
ก. ทําให้เข้าใจความซับซ้อนของคอมพิวเตอร์
ข. ทําให้ไม่ถูกชีนําด้วยอคติและการคาดเดาไปเอง
ค. ทําให้เกิดความผ่องใสในจิตใจ
ง. ทําให้เกิดความเปนหนึงเดียวกันระหว่างภาษามนุษย์และภาษาจักรกล
3. ข้อใดถือเปนมารยาทบนอินเทอร์เน็ต ?
ก. ไม่เคียวเสียงดังหน้ากล้องเว็บแคม
ข. คุมอารมณ์ก่อนโพสต์ข้อความ
ค. เดินก้มศีรษะเวลาเดินผ่านหน้าจอ
ง. พิมพ์ “สวัสดี” ทุกครังทีแชทหาเพือน
4. เพราะเหตุใดจึงควรสร้างข้อตกลงหรือมารยาทบนอินเทอร์เน็ตใหม่เรือย ๆ ?
ก. เพราะเมือใช้อินเทอร์เน็ตมาก ๆ จะเปนคนลืมง่าย
ข. เพราะจํานวนผู้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตผกผันทุกวัน
ค. เพราะโลกเปลียน พฤติกรรมคนเปลียน และมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ง. เพราะทีมีอยู่แล้วใช้สํานวนโบราณ ทําให้คนรุ่นใหม่ไม่เข้าใจ
5. ข้อใดไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ?
ก. โพสต์ข้อมูลทีไม่จริง
ข. กดถูกใจข้อมูลทีไม่จริง
ค. แชร์ข้อมูลทีไม่จริง
ง. ไม่ยุ่ง ไม่ลบข้อมูลทีไม่จริงทีคนอืนมาโพสต์ไว้ในเพจของตน
แบบทดสอบ บทที่ 1
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
28Digital Resilience safeinternet.camp
02
Medias • Fake News
สื่อออนไลนและ
การปองกันความเสี่ยง
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
30Digital Resilience safeinternet.camp
ตระหนักถึงประโยชน์และโทษของสือสังคมออนไลน์ (Social Media)
รู้จักลักษณะของข่าวลวง (Fake News) และผลกระทบต่อผู้อืนและสังคม
เรียนรู้วิธีการวิเคราะห์เพือแยกแยะระหว่างข่าวจริงกับข่าวลวง
รู้จักสือเรืองเพศ (Sexual Media) ผ่านรูปแบบและมุมมองทีเปดกว้างหลากหลาย
รู้จักและเรียนรู้การใช้สือบันเทิงได้อย่างเหมาะสมและเปนประโยชน์
เปาหมายการเรียนรู
1.
2.
3.
4.
5.
บทที่ 2
สื่อออนไลนและการปองกันความเสี่ยง
Social Media | Sexual Media | Entertainment | Fake News
ในยุคปจจุบันเทคโนโลยีเปนสิงทีมีการพัฒนาและสร้างการเปลียนอย่างรวดเร็วให้กับสังคม
“สือ” จากแต่เดิมทีเคยมีแค่ หนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ เมือเริมมีอุปกรณ์เครืองมือดิจิทัล
คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตเข้ามา ทําให้เกิดสือหลากหลายรูปแบบจากเดิมทีเราเคยต้องคอย
ติดตามสือต่าง ๆ ด้วยตัวเอง สือก็เริมกลายเปนสิงทีพบเห็นได้แทบทุกทีไม่ว่าจะเปนในอาคาร
สถานที หรือบนท้องถนน และเมือมือถือแบบ “สมาร์ทโฟน” กลายเปนสิงทีใช้กันอย่างแพร่
หลาย สือต่าง ๆ ก็กลายเปนสิงทีตามติดตัวเรา และพยายามทีจะดึงความสนใจสร้างปฏิสัมพันธ์
กับเราเพือเปาหมายต่าง ๆ มากขึนเรือย ๆ … มากเสียจนหลายครังก็กลายเปนสิงทีคุกคามเรา
เพราะท่ามกลางสือทีมีอยู่มากมายมหาศาลนัน ก็มีทังสือทีดี และทีเปนภัย หรือเต็มไปด้วยความ
เสียงหลายรูปแบบ เราจึงควรเรียนรู้ให้เท่าทันเพือการปองกันตัวเอง
TICAC จับกุมหนึงในเครือข่าย VK และกลุ่ม Telegram
ชือดังทีตังชือกลุ่มพนันบอลแอบแฝงการแชร์สือลามกอนาจารเด็ก
Digital Resilience
Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
เราติดตามสื่อ สื่อติดตามเรา
ทีมา : คณะทํางานปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต (TICAC)
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
31Digital Resilience safeinternet.camp
Social Media สื่อสังคม
ปจจุบันสือสังคมบนโลกอินเทอร์เน็ตมีบทบาทในการสร้างแรงขับเคลือนสังคมโลกอย่างใหญ่เพราะกิจกรรมแทบทุกอย่าง
ตังแต่การสือสารในระดับปจเจก การเสพสือความบันเทิง การทําธุรกรรมทางการเงิน การทําธุรกิจการค้า
การสร้างกลุ่มสร้างเครือข่ายต่าง ๆ ไปจนถึงการแลกเปลียนเชือมโยงทางไกลข้ามทวีปนัน ล้วนทําได้บนโลกออนไลน์
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
32Digital Resilience safeinternet.camp
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
33Digital Resilience safeinternet.camp
ประโยชนของ Social Media
เรียนรู้ทักษะการสือสาร
หาข้อมูลความรู้
ขยายมุมมองหรือโลกทัศน์ จากการแลกเปลียนแสดงความคิดเห็น
เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การสังเคราะห์ และการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์
เรียนรู้เพิมทักษะเพือพัฒนาตัวเองในศาสตร์ต่าง ๆ
เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน
เปนพืนทีนําเสนอและแสดงออกตัวตน
เชือมโยงความสัมพันธ์กับผู้อืน
การติดตามข่าวสาร และอัพเดทเทรนด์ต่าง ๆ
การรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายในประเด็นเฉพาะทาง
เสพสือเพือความผ่อนคลาย
กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
สร้างแรงบันดาลใจ
เปนเครืองมือตัวช่วยในการทํางาน
เปนช่องทางการทําธุรกิจ หารายได้
เปนช่องทางประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการตลาด
บันทึกเรืองราวเก็บข้อมูลต่าง ๆ
ดานการศึกษา
ดานสังคม
ดานความบันเทิง
ดานการงานและเศรษฐกิจ
อื่น ๆ
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
34Digital Resilience safeinternet.camp
โทษภัยและความเสี่ยงของ Social Media
ทําใหติดจนเกิดปญหาชีวิตในหลายดาน
หากใช้โซเชียลมีเดียมากเกินไปจนติด จะทําให้เสียเวลาในชีวิต และเสียสุขภาพกาย สุขภาพจิต ส่งผลกระทบกับ
ชีวิตการเรียนและการงาน หรือความสัมพันธ์กับคนรอบข้างได้
เกิดความทุกขทางจิตใจ
การเสพสิงทีอยู่บนโซเชียลมีเดียมาก ๆ หากมีภูมิคุ้มกันในตัวเองไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้เกิดการเปรียบเทียบกับ
ผู้อืน กระตุ้นความอยากได้อยากมี หรือรู้สึกด้อยคุณค่าจนอาจเกิดภาวะเครียดซึมเศร้าได้
เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมที่เปนอันตราย
โซเชียลมีเดียมักเปนสือทีนํากระแสและเทรนด์ต่าง ๆ มากมาย หลายครังก็ทําให้เกิดกระแสการทําตาม ๆ กันใน
เรืองทีเปนอันตราย เช่น การท้าให้เพือนกระโดด แล้วสองคนทียืนข้าง ๆ เตะตัดขาพร้อมกันจนทําให้คนที
กระโดดล้มหงายหลังศีรษะฟาดพืนจนเสียชีวิตได้ เปนต้น
ถูกนําขอมูลสวนตัวไปใชในทางไมดี
หากเราใส่หรือแชร์ข้อมูลส่วนตัวบนอินเทอร์เน็ตมากเกินไป อาจทําให้เกิดความเสียงต่อการถูกเข้าถึง และนําไป
ใช้ในทางทีไม่ดีได้ เช่น เอาช่องทางการติดต่อไปใช้เพือเข้าถึงตัวเรา ถูกสวมรอย เปนต้น
โดนหลอกจากผูประสงคราย
บนโซเชียลมีเดียทําให้เราติดต่อสือสารกับผู้คนมากมายได้ทังทีรู้จักและไม่รู้จัก ซึงอาจมีมิจฉาชีพแฝงตัวมาเพือ
หลอกลวงเราในแบบต่าง ๆ ได้
โดนละเมิดลิขสิทธิ์ผลงานตาง ๆ
เมือเราแชร์รูปภาพ หรือผลงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ ลงบนโซเชียลมีเดีย อาจมีผู้ทีนําเนือหาเหล่านันไปดัดแปลง
หรือแชร์ต่อโดยอ้างว่าเปนผลงานของตัวเองได้
การใช Social Media
Digital Resilience
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
35Digital Resilience safeinternet.camp
ไมควรทํา
ไม่ควร Check in บ่อยเกินไป เพราะผู้ไม่
หวังดีจะทราบความเคลือนไหวของเราหรือ
อาจมาดักรอเราไม่ควรเปดเผยข้อมูลต่อไป
นีอย่างไม่ระวัง
ชือ - นามสกุล
วัน เดือน ปเกิด
เลขบัตรประจําตัวประชาชน
ทีอยู่/เชคอินตําแหน่งปจจุบัน
เบอร์โทรติดต่อ
รหัสผ่านต่าง ๆ
ภาพลับหรือภาพอริยาบทต่าง ๆ
ควรทํา
รับคําขอเปนเพือนเฉพาะคนรู้จัก
ก่อน Post ควรนึกถึงผลทีจะตามมา
แสดงความคิดเห็นอย่างมีสติ เพือไม่ให้เกิด
การโต้แย้งทีรุนแรงหรืออาจเปนความผิดได้
กดไลค์ในสิงสร้างสรรค์
วิธีแกไข
ตังสติ
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปองกัน
อย่าลืม log out หรือออกจากระบบ และ
อย่ากด Remember me เมือใช้คอมพิวเตอร์
สาธารณะ เพือปองกันผู้อืนสวมรอย
ระวังผู้ประสงค์ร้ายหลอกถามข้อมูลส่วนตัว
ใช้การคิดเชิงวิพากษ์กับทุกข้อมูล เช็คก่อน
แชร์ ไม่แน่ใจอย่าแชร์ หากแชร์เรืองไม่ดีหรือ
ไม่จริง อาจทําให้เกิดผลเสียและเปนความ
ผิดได้
การใส่ความผู้อืน ทําให้เสียชือเสียง ถูกดูหมินเกลียดชัง มีความผิดฐานหมินประมาท
โทษจําคุกไม่เกิน 1 ป หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทังจําทังปรับ
การใส่ความผู้ตาย และเปนเหตุให้ผู้ตาย หรือพ่อแม่ ญาติพีน้อง คู่สมรส บุตร เสียชือเสียง
ถูกดูหมินเกลียดชัง มีความผิดฐานหมินประมาท โทษจําคุกไม่เกิน 1 ป หรือปรับไม่เกิน
20,000 บาท หรือทังจําทังปรับ
Social Media
กฎหมายนารู
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
36
คําว่า “ใส่ความ” คือ เอาความไปใส่เขา ซึงอาจเท็จหรือจริงก็ได้ ไม่ใช่จริงไม่ผิด เท็จจึงผิด
หลักศาลจึงว่า “ยิงจริง ยิงผิด”
วิธีใส่ความคือ แสดงข้อความให้ปรากฎด้วยวิธีใด ๆ ก็ได้ เช่น พูด เขียน วาด ใช้นาเสียง
บอกใบ้ ทํากริยาท่าทาง ฯ ถือเปนการใส่ความหมด
ความผิดฐานหมินประมาท ไม่จําเปนต้องมีผลเสียหายเกิดขึนจริงจากการใส่ความ
แค่ “ความทีใส่” น่าจะทําให้เขาเสียชือเสียง ก็เปนความผิด
Digital Resilience safeinternet.camp
จากการศึกษาข้อความใน Twitter 126,000 ข้อความ
ที tweet กว่า 4.5 ล้านครัง โดย user 3.5 ล้านคน ตังแต่ป 2006 - 2017
พบว่า Fake news สามารถแพร่กระจายได้รวดเร็วกว่าข่าวจริงถึง 100 เท่า
โดย Fake news มักถูก Retweet มากกว่าข่าวจริงถึง 70%
ข้อมูลจากนักวิจัย MIT (MIT Initiative on the Digital Economy)
ด้วยความง่ายในการสร้างและเผยแพร่ข้อมูลในโลกยุคปจจุบัน จึงเรียกได้ว่าเปนยุคทีใครก็ได้ สามารถเปน
ผู้สร้างและเผยแพร่สือ หรือข้อมูลต่าง ๆ ออกไปโดยไม่ต้องได้รับการตรวจสอบ ปรากฏการณ์ทีเกิดขึนจึงส่งผล
ทําให้มี “Fake News” หรือ ข่าวลวง จํานวนมาก ถูกเผยแพร่ออกสู่สังคม อีกทังยังถูกส่งต่ออย่างไม่จบสินเปน
ระยะเวลายาวนาน ขยายจํานวนและพืนทีวงกว้างออกไป จนแทบจะสืบหาต้นตอของข่าวลวงเหล่านีไม่ได้
เลยทีเดียว
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
37Digital Resilience safeinternet.camp
Fake News
ขาวลวง
ดื่มนํ้าอุนแชมะนาวฆาเซลลมะเร็งได ?
สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
38Digital Resilience safeinternet.camp
เพือเปนการแสดงให้เห็นถึงปญหาของข่าวลวง ในประเทศไต้หวัน ได้สร้าง LINE Bot หรือโปรแกรมทีคอย
เก็บสถิติของการเกิดข่าวปลอมขึนมา โดยจากการเริมต้นเก็บข่าวปลอมตังแต่วันที 1 เมษายน 2018 จนถึงเดือน
ธันวาคมป 2020 พบว่า ข่าวปลอมนันมีอายุยาวนานถึงมากกว่า 980 วัน ทียังคงปรากฏอยู่ และยังถูกส่งต่ออยู่ใน
สังคมอย่างต่อเนือง สิงนีแสดงให้เห็นว่า หากเราไม่มีความตระหนักและระมัดระวังถึงภัยของข่าวปลอมเหล่านี
และเผลอกลายเปนผู้ส่งต่อออกไปโดยไม่รู้ตัว เราก็จะกลายเปนส่วนหนึงทีสร้างความรู้ความเข้าใจผิด ๆ ทีอาจ
ส่งผลร้ายแรงถึงชีวิตใครบางคนได้แม้จะไม่ตังใจ
ทีมา : Cofacts analytics - LINE Bot - Message Lifetime
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต

More Related Content

What's hot

การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Pornarun Srihanat
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1Prachyanun Nilsook
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1krupornpana55
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานKawinTheSinestron
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 

What's hot (20)

การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
 
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
แผ่นพับเสนอผลงานนวัตกรรม หน้า 1
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษานโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Similar to Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต

การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลssuser0f881d
 
Social Media, Digital Intelligence
Social Media, Digital IntelligenceSocial Media, Digital Intelligence
Social Media, Digital IntelligenceKitt Tientanopajai
 
Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2ETDAofficialRegist
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
เทคโนโลยีดิจิทัล2018
เทคโนโลยีดิจิทัล2018เทคโนโลยีดิจิทัล2018
เทคโนโลยีดิจิทัล2018Prachyanun Nilsook
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตInfluencer TH
 
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์KRUTHANASIN
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 

Similar to Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต (20)

การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัลหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
 
Social Media, Digital Intelligence
Social Media, Digital IntelligenceSocial Media, Digital Intelligence
Social Media, Digital Intelligence
 
Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2
22
2
 
เทคโนโลยีดิจิทัล2018
เทคโนโลยีดิจิทัล2018เทคโนโลยีดิจิทัล2018
เทคโนโลยีดิจิทัล2018
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
 
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์
Dtac parent guide : คู่มือพ่อแม่ยุคดิจิทัล เข้าใจลูก เข้าใจโลกไซเบอร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

More from Influencer TH

โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE WorkshopInfluencer TH
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteInfluencer TH
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMInfluencer TH
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineInfluencer TH
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundInfluencer TH
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning WorkshopInfluencer TH
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteInfluencer TH
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวA new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าA new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าInfluencer TH
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nInfluencer TH
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?Influencer TH
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Influencer TH
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsInfluencer TH
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Influencer TH
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนInfluencer TH
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIInfluencer TH
 
Safe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopSafe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopInfluencer TH
 

More from Influencer TH (20)

โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual Note
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD Turnaround
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual Note
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
 
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัวA new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
A new you is coming! ตอน การสื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในครอบครัว
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game Detox
 
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้าA new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against Drugs
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CI
 
Safe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopSafe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid Workshop
 

Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต

  • 2. ผู้ช่วยสําหรับคุณครูเพือการตระหนักรู้เท่าทันสถานการณ์ของโลกดิจิทัล เพือให้สามารถเปน ผู้ดูแล หรือทีพึงของเยาวชนในยามทีประสบปญหาจากการใช้สือดิจิทัลและอินเทอร์เน็ต ตลอดจน สามารถนําความรู้ไปถ่ายทอดเพือสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ต (Netizen) ทีมีความรับผิดชอบต่อสังคม รู้เท่าทันสือดิจิทัล (Digital Literacy) อันเปนทักษะทีสําคัญในศตวรรษที 21หลักสูตร Digital Resilience นีเกิดขึนภายใต้โครงการสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ตทีมีความรับผิดชอบ เนืองจาก DTAC หรือบริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จํากัด (มหาชน) เปนองค์กรทีเห็น ถึงความสําคัญในประเด็นนี ร่วมมือกับกองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์ (Thai Media Fund) และสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) มาร่วมสนับสนุนให้องค์กรทีขับเคลือนด้านการ ศึกษา ได้แก่ อินสครู เพจดัง “insKru -พืนทีแบ่งปนไอเดียการสอน” บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด (Influencer TH) และมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School) มาร่วมออกแบบเนือหาหลักสูตร และรวบรวมสืออันเปนประโยชน์ต่อคุณครูและนักเรียนไทยให้ใช้งานได้ง่ายและครบถ้วนทุกประเด็น ซึงหลักสูตรนีได้ทดลองใช้จริงและเห็นผลลัพธ์การเปลียนแปลงของเยาวชนผู้เข้าร่วมเรียบร้อยแล้ว Digital Resilience สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 2Digital Resilience safeinternet.camp โครงการสร้างเยาวชนอินเทอร์เน็ตทีมีความรับผิดชอบ www.safeinternet.camp
  • 3. สารบัญ Digital Resilience สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 4 บทนํา การเชื่อมโยงสูทักษะในศตวรรษที่ 21 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 13 บทที่ 1 การอยูรวมกันบนโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย Digital Resilience | Empathy | Critical Thinking | Netiquette 29 บทที่ 2 สื่อออนไลนและการปองกันความเสี่ยง Social Media | Sexual Media | Entertainment | Fake News 68 บทที่ 3 Privacy & Security พื้นที่สวนตัวและความปลอดภัย 83 บทที่ 4 ไมแกลงกันนะ หยุด Cyberbully 98 บทที่ 5 กลโกงในโลกออนไลน 113 บทสรุป 116 บทสรุป Learning Curve ออกแบบการเรียนรู Digital Resilience ใน 3 คาบเรียน 3Digital Resilience safeinternet.camp
  • 4. ใชเลมหลักสูตรนี้อยางไร ? เนือหาเล่มนีจะถูกแบ่งเปน 5 บทใหญ่ ๆ ซึงออกแบบเนือหามาจากปญหาทีเยาวชนไทยพบเจอ และแต่ละบทจะแบ่งเปน 7 ส่วนย่อย ๆ ทีออกแบบมาให้คุณครูนําไปใช้ได้ง่าย 1 เนื้อหา นําเสนอเรืองราวและสาระความรู้ พร้อมตัวอย่างทีเข้าใจง่าย 2 วิธีสรางภูมิคุมกัน (Digital Resilience) แนะนําสิงทีควรทํา ไม่ควรทํา วิธีปองกัน วิธีแก้ไขปญหา ทีสอดคล้องกับแต่ละบท 3 กฎหมายนารู แนะนํากฎหมายทีเกียวข้อกับแต่ละบท เพือเปนเครืองมือในการช่วยเหลือตนเอง และเปนเครืองเตือนใจไม่ให้ทําผิด 4 ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Offline กิจกรรมสอนเรืองภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตทีไม่ต้องใช้อินเทอร์เน็ต 5 ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online สือการสอนออนไลน์ทีน่าตืนตาตืนใจให้นําไปใช้ฟรี ๆ 6 Worksheet ใบงานทีพร้อมให้คุณครูนําไปพิมพ์แล้วให้นักเรียนทําได้เลย 7 แบบทดสอบ ข้อสอบวัดความเข้าใจเล็ก ๆ น้อย ๆ หลังจากได้เรียนรู้มาแล้ว บทละ 5 ข้อ คุณครูอาจนําคําถามเหล่านีไปใช้ได้เลย (มีเฉลยอยู่ท้ายเล่ม) 4Digital Resilience safeinternet.camp
  • 5. Digital Resilience Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต บทบาทของเทคโนโลยี สือดิจิทัล และอินเทอร์เน็ต ตลอดช่วงเวลาทีผ่านมา เปนปจจัยสําคัญทีทําให้โลกมีการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด อีกทังสิงเหล่านียิงนับวันยิงเข้ามาผสานแทรกจนแทบจะกลายเปนส่วนหนึง ของวิถีชีวิตในทุก ๆ ย่างก้าวของผู้คนในสังคม ชวนสังเกตพฤติกรรมการใช้ Smart Phone ของตัวเองว่า ในวันหนึง เราใช้เวลาไปกับอินเทอร์เน็ต หรือสือโซเชียลมีเดียต่าง ๆ มากขนาดไหน ? เมือเทคโนโลยีดิจิทัล และอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทสําคัญตังแต่ในวิถีชีวิตระดับ A ไปจนถึงการ ขับเคลือนโลกไปสู่อนาคตมากมายขนาดนี การศึกษาเพือความเข้าใจ และเท่าทันจึงเปนสิงจําเปนที ควรต้องเรียนรู้อย่างหลีกเลียงไม่ได้ โดยเฉพาะสําหรับเด็กและเยาวชนทีมีโอกาสต้องเข้าไปสัมผัสกับ สิงต่างๆ เหล่านีอยู่ทุก ๆ วัน แต่กลับเปนสิงทีไม่มีการสอน หรือให้ความรู้กันอย่างแพร่หลายเท่าทีควร ในสถาบันการศึกษาทีสําคัญ องค์ความรู้เหล่านีนันไม่ใช่เปนเรืองทีเราเรียนรู้เพียงเพือแค่ทําความ เข้าใจในการใช้งานหรือปองกันตัวเองจากภัยอันตรายต่างๆเท่านัน แต่ในอีกด้านหนึง สิงนีก็ถือเปน ทักษะองค์ความรู้ทีจําเปนอย่างยิงในศตวรรษที 21 หลักสูตร Digital Resilience สําคัญอยางไร ? จากผลสํารวจพฤติกรรมผูใชงานอินเทอรเน็ตประเทศไทย ป 2562 ของสํานักงาน ETDA พบวา...พฤติกรรมการใชงาน อินเทอรเน็ตของคนไทยเฉลี่ยสูงถึง 10 ชั่วโมง 22 นาทีตอวัน ทีมา : ผลสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตประเทศไทย ประจําป 2562 ของสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต
  • 6. ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st-Century Skill) ICT Literacy (Information and Communications Technology Literacy) หรือความรู้ด้านสือดิจิทัลนัน เปนหนึงในทักษะทีจําเปนต่อการดํารงชีวิตในศตวรรษที 21 ตามทีสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ได้ทําการวิจัยออกมาเพือหาว่าทักษะใดทีจําเปนต่ออาชีพในโลกยุคปจจุบัน และสัมพันธ์ไปถึงการประสบ ความสําเร็จในหน้าทีการงาน ตัวอย่างเช่น ช่องทางการติดต่อสือสารในปจจุบันทังเรืองส่วนตัว และการประสานงาน ในการทํางานก็มักสือสารผ่านแอปพลิเคชัน LINE หรือการทําธุรกิจซือขายสินค้าต่าง ๆ รวมถึงการทําการตลาด ก็จําเปนอย่างมากทีจะต้องทําผ่านช่องทางออนไลน์ เพือการเข้าถึงลูกค้าทีมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในยุควิกฤติ COVID-19 ทีแทบทุกอย่างต้องย้ายมาทําผ่านโลกออนไลน์ เปนต้น ซึงทักษะความรู้ทางดิจิทัลนี เปนสิงทีมี ความสัมพันธ์กับทักษะอืน ๆ อย่างไม่อาจแยกขาดจากกัน โดยสิงทีสําคัญของการมีทักษะเหล่านีคือ จะทําให้ เด็กคนหนึงมีศักยภาพในการเรียนรู้เพือการปรับตัวและพัฒนาได้ตลอดเวลา ซึง WEF เรียกว่า ‘Lifelong Learning’ หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ทีมา : World Economic Forum, New Vision for Education (2015) สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 6Digital Resilience safeinternet.camp
  • 7. เท่าทันการเปลียนแปลงของเทคโนโลยี และรู้จักวิธีใช้เพือการเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมาย ทีมีความเกียวข้องกับการเข้าถึง และการใช้ไอซีที ICT Literacy ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจําวัน เช่น ทําธุรกรรมออนไลน์ ติดต่อประสานงานร่วมกับผู้อืน สร้างสรรค์ผลงานและถ่ายทอดความคิดของตน เข้าใจแนวคิดและการทํางานพืนฐานของเครืองมือ ดิจิทัล เช่น เข้าใจคําศัพท์สําคัญของระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจการทํางานของอุปกรณ์ คุ้นเคยกับสัญลักษณ์และ ระบบของเครืองมือดิจิทัล รู้จักระบบปฏิบัติการทีหลาก หลายและสามารถเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียได้ การใช้ชีวิตในโลกยุคดิจิทัลนัน ลําพังเพียงแค่การเข้าถึงได้ ใช้เปนนันยังไม่เพียงพอ การจะเปนพลเมืองดิจิทัลทีมีคุณภาพ และใช้อินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุดนัน ต้องมีความรู้หลายมิติควบคู่กัน ดังนี เลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะกับวัตถุประสงค์ เข้าใจข้อดีข้อเสียของเทคโนโลยีทีมีอยู่ในตลาด เช่น เลือกใช้แอปพลิเคชันทีช่วยให้การทํางานเกิดสัมฤทธิผลสูงสุด หรือช่วยในการจัดการข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ทักษะและความรูพื้นฐานดานไอซีที (ICT Literacy) ประยุกต์จาก โครงการการพัฒนาทักษะและการเปนพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship; 2018) และสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) รูใช รูทัน รูตัว รูทาง รูจัก สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 7Digital Resilience safeinternet.camp
  • 8. ในยุคทีเทคโนโลยีกลายเปนส่วนหนึงของชีวิต และสังคมออนไลน์เปนพืนทีทีเยาวชนส่วนใหญ่ใช้เวลาด้วย มากกว่าสังคมภายนอกในชีวิตจริง หากมองเห็นเปนโอกาส จะเปรียบเสมือนประตูทีเชือมโยงการเรียนรู้ที สัมพันธ์กับประสบการณ์และปรากฏการณ์ทีเกิดขึนจริงจากทัวทุกมุมโลก แต่ในอีกด้านหนึง โลกเสมือนใบนีไม่ ต่างจากโลกแห่งความเปนจริงทีเต็มไปด้วยอันตรายมากมายทีเราต่างต้องรู้ให้เท่าทัน และอยู่กับมันได้อย่าง ปลอดภัย ซึงเปนทักษะความรู้ทีอาจไม่มีสอนในสถาบันการศึกษา ผู้ทีเปนครูหรือผู้ปกครอง จึงมีความจําเปน อย่างยิงทีจะต้องเรียนรู้เพือให้เท่าทันต่อปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึนในโลกออนไลน์ ด้วยความเข้าใจและพร้อม ทีจะเปนผู้ช่วยเหลือดูแลเด็กและเยาวชนทีอาจตกเปนเหยือของภัยทางอินเทอร์เน็ต ซึงอาจถูกคุกคามได้ใน หลายรูปแบบไม่ว่าจะเปนการสูญเสียทรัพย์สิน ถูกทําร้ายทังทางร่างกายและจิตใจ จนอาจถึงขันนําไปสู่การเสีย ชีวิตได้ ภัยอันตราย และความเสี่ยงบนโลกอินเทอรเน็ต... สนามการเรียนรูบนโลกเสมือนที่ตองพบเจอในชีวิตจริง สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 8Digital Resilience safeinternet.camp ความเสี่ยงหลักที่เด็กและเยาวชนไทยมักพบเจอบนโลกอินเทอรเน็ต เขาถึงสื่อและเนื้อหาที่มีความเสี่ยง การกลั่นแกลงบนโลกออนไลน ภัยคุกคามบนโลกออนไลน ความปลอดภัยและความเปนสวนตัว 96.96% 44.35% 43.78% 40.44% ที่มา : ผลสํารวจโดยโครงการสรางเยาวชนอินเทอรเน็ตที่มีความรับผิดชอบ (2563)
  • 9. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรืองสังคมในโลก ออนไลน์ และภัยบนโลกอินเทอร์เน็ต เพือการรู้เท่าทัน ประโยชนของหลักสูตร Digital Resilience สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 9Digital Resilience safeinternet.camp เรียนรู้วิธีการรับมือ ปองกัน และแก้ไข เมือประสบภัย คุกคามต่าง ๆ จากอินเทอร์เน็ต ตลอดจนสามารถช่วยให้คํา แนะนํากับผู้อืนได้ เสริมสร้างความเห็นอกเห็นใจผู้ อืน และเรียนรู้การมีมารยาทบน โลกอินเทอร์เน็ต ตลอดจนเปน พลเมืองอินเทอร์เน็ตทีมีความรับ ผิดชอบต่อตนเองและสังคม HEAD HAND HEART คุณครูประจําวิชาไหนนําไปใชไดบาง ? การใช้เทคโนโลยีผลกระทบ ของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร วิทยาศาสตร สุขศึกษา เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม แก้ไขปญหาอย่างเปนระบบ ปองกันและหลีกเลียงปจจัย เสียงทีมีผลต่อสุขภาพจิต พลเมืองในยุคดิจิทัล คุณธรรมจริยธรรมใน การใช้อินเทอร์เน็ต สังคมศึกษา ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ การฟงและดูอย่างมีวิจารณญาณ แสดงความคิดเห็นอย่างวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับ กาลเทศะ การดูแลตัวเองและสังคม แนะแนว ฝายปกครอง กิจกรรมพัฒนาผูเรียน การแก้ไขปญหาทีเกียวข้อง กับดิจิทัล เสริมสร้างทักษะ ศตวรรษที 21
  • 10. Digital Resilience สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 6 กลุมสาระการเรียนรู สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 10 ง 3.1 ป.1/2 ง 3.1 ป.2/1 ง 3.1 ป.2/2 ง 3.1 ป.3/1 ง 3.1 ป.4/3 ง 3.1 ป.5/4 ง 3.1 ป.6/1 Digital Resilience safeinternet.camp กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง) ง 3.1 ป.6/2 ง 3.1 ป.6/3 ง 3.1 ป.6/4 ง 3.1 ป.6/5 ง 3.1 ม.1/2 ง 3.1 ม.2/2 ง 3.1 ม.2/3 ง 3.1 ม.3/4 ง 3.1 ม.4-6/5 ง 3.1 ม.4-6/9 ง 3.1 ม.4-6/10 ง 3.1 ม.4-6/12 ง 3.1 ม.4-6/13 ง 4.1 ป.5/2 ง 4.1 ป.6/1 ง 4.1 ป.6/2 ง 4.1 ม.2/1 ง 4.1 ม.3/3 ง 4.1 ม.4-6/2 ง 4.1 ม.4-6/3 ว 4.1 ม.1/1 ว 4.1 ม.1/3 ว 4.1 ม.1/4 ว 4.1 ม.2/1 ว 4.1 ม.2/3 ว 4.1 ม.2/4 ว 4.1 ม.3/1 ว 4.1 ม.3/3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ว) ว 4.1 ม.3/4 ว 4.1 ม.4/1 ว 4.1 ม.4/2 ว 4.1 ม.4/3 ว 4.1 ม.4/4 ว 4.2 ป.1/5 ว 4.2 ป.2/4 ว 4.2 ป.3/3 ว 4.2 ป.4/1 ว 4.2 ป.4/3 ว 4.2 ป.4/4 ว 4.2 ป.4/5 ว 4.2 ป.5/1 ว 4.2 ป.5/3 ว 4.2 ป.5/4 ว 4.2 ป.5/5 ว 4.2 ป.6/1 ว 4.2 ป.6/3 ว 4.2 ป.6/4 ว 4.2 ม.1/4 ว 4.2 ม.2/4 ว 4.2 ม.3/3 ว 4.2 ม.3/4 ว 4.2 ม.6/1 พ 1.1 ม.2/2 พ 1.1 ม.3/3 พ 2.1 ป.3/2 พ 2.1 ป.3/3 พ 2.1 ป.4/3 พ 2.1 ป.5/3 พ 2.1 ป.6/1 พ 2.1 ป.6/2 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพละศึกษา (พ) พ 2.1 ม.1/2 พ 2.1 ม.2/3 พ 2.1 ม.2/4 พ 2.1 ม.4-6/2 พ 2.1 ม.4-6/3 พ 4.1 ป.2/3 พ 4.1 ป.4/2 พ 4.1 ป.5/3 พ 2.1 ป.6/3 พ 2.1 ม.2/2 พ 2.1 ม.2/4 พ 2.1 ม.2/6 พ 2.1 ม.4-6/2 พ 5.1 ป.1/1 พ 5.1 ป.1/3 พ 5.1 ป.3/2 พ 5.1 ป.5/4 พ 5.1 ม.2/2 พ 5.1 ม.3/1 พ 5.1 ม.3/3 พ 5.1 ม.4-6/3 พ 5.1 ม.4-6/5 พ 5.1 ม.4-6/6 ส 2.1 ป.1/1 ส 2.1 ป.2/1 ส 2.1 ป.2/3 ส 2.1 ป.2/4 ส 2.1 ป.4/1 ส 2.1 ป.4/3 ส 2.1 ป.4/4 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส) ส 2.1 ป.5/1 ส 2.1 ป.5/2 ส 2.1 ป.6/1 ส 2.1 ป.6/5 ส 2.1 ม.1/1 ส 2.1 ม.1/3 ส 2.1 ม.1/4 ส 2.1 ม.2/1 ส 2.1 ม.2/2 ส 2.1 ม.3/2 ส 2.1 ม.3/4 ส 2.1 ม.3/5 ส 2.1 ม.4-6/1 ส 2.1 ม.4-6/3 ส 2.1 ม.4-6/4 ส 2.1 ม.4-6/5 ส 2.2 ป.1/2 ส 3.1 ป.4/2 ส 3.1 ป.6/2 ส 3.1 ม.2/4 ส 3.2 ป.1/1 ส 3.2 ม.1/4
  • 11. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 11 ท 1.1 ป.2/3 ท 1.1 ป.2/4 ท 1.1 ป.2/5 ท 1.1 ป.3/3 ท 1.1 ป.3/4 ท 1.1 ป.4/4 ท 1.1 ป.4/5 ท 1.1 ป.5/4 ท 1.1 ป.6/4 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/3 ท 1.1 ม.1/6 ท 1.1 ม.2/2 ท 1.1 ม.2/4 ท 1.1 ม.2/5 ท 1.1 ม.2/6 ท 1.1 ม.3/3 ท 1.1 ม.3/6 ท 1.1 ม.3/7 ท 1.1 ม.3/8 ท 1.1 ม.4-6/2 ท 1.1 ม.4-6/3 ท 1.1 ม.4-6/4 ท 1.1 ม.4-6/5 ท 1.1 ม.4-6/8 Digital Resilience safeinternet.camp กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (ท) ท 2.1 ป.1/3 ท 2.1 ป.2/4 ท 2.1 ป.3/6 ท 2.1 ป.4/2 ท 2.1 ป.4/8 ท 2.1 ป.5/2 ท 2.1 ป.5/6 ท 2.1 ป.5/9 ท 2.1 ป.6/2 ท 2.1 ป.6/9 ท 2.1 ม.1/2 ท 2.1 ม.1/6 ท 2.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.2/7 ท 2.1 ม.2/8 ท 2.1 ม.3/2 ท 2.1 ม.3/6 ท 2.1 ม.3/7 ท 2.1 ม.3/10 ท 2.1 ม.4-6/1 ท 2.1 ม.4-6/8 ท 3.1 ป.1/3 ท 3.1 ป.1/4 ท 3.1 ป.1/5 ท 3.1 ป.2/3 ท 3.1 ป.2/4 ท 3.1 ป.2/5 ท 3.1 ป.2/6 ท 3.1 ป.2/7 ท 3.1 ป.3/2 ท 3.1 ป.3/3 ท 3.1 ป.3/4 ท 3.1 ป.3/5 ท 3.1 ป.3/6 ท 3.1 ป.4/1 ท 3.1 ป.4/2 ท 3.1 ป.4/3 ท 3.1 ป.4/4 ท 3.1 ป.4/6 ท 3.1 ป.5/1 ท 3.1 ป.5/2 ท 3.1 ป.5/3 ท 3.1 ป.5/5 ท 3.1 ป.6/1 ท 3.1 ป.6/2 ท 3.1 ป.6/3 ท 3.1 ป.6/5 ท 3.1 ป.6/6 ท 3.1 ม.1/1 ท 3.1 ม.1/3 ท 3.1 ม.1/4 ท 3.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/2 ท 3.1 ม.2/3 ท 3.1 ม.2/4 ท 3.1 ม.2/6 ท 3.1 ม.3/1 ท 3.1 ม.3/2 ท 3.1 ม.3/4 ท 3.1 ม.3/5 ท 3.1 ม.3/6 ท 3.1 ม.4-6/1 ท 3.1 ม.4-6/2 ท 3.1 ม.4-6/4 ท 3.1 ม.4-6/5 ท 3.1 ม.4-6/6 ท 4.1 ป.2/5 ท 4.1 ป.3/6 ท 4.1 ป.6/2 ท 4.1 ม.4-6/1 ท 4.1 ม.4-6/3 ท 4.1 ม.4-6/7 ต 1.1 ม.1/4 ต 1.1 ม.2/4 ต 1.1 ม.3/4 ต 1.1 ม.4-6/4 ต 1.2 ป.4/3 ต 1.2 ป.4/5 ต 1.2 ป.5/3 ต 1.2 ป.5/5 ต 1.2 ป.6/3 ต 1.2 ป.6/5 ต 1.2 ม.1/3 ต 1.2 ม.1/4 ต 1.2 ม.1/5 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ต) ต 1.2 ม.2/3 ต 1.2 ม.2/4 ต 1.2 ม.2/5 ต 1.2 ม.3/3 ต 1.2 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/5 ต 1.2 ม.4-6/1 ต 1.2 ม.4-6/3 ต 1.2 ม.4-6/4 ต 1.2 ม.4-6/5 ต 1.3 ป.4/3 ต 1.3 ป.5/3 ต 1.3 ป.6/3 ต 1.3 ม.1/2 ต 1.3 ม.1/3 ต 1.3 ม.2/2 ต 1.3 ม.2/3 ต 1.3 ม.3/2 ต 1.3 ม.3/3 ต 1.3 ม.4-6/2 ต 1.3 ม.4-6/3 ต 2.1 ป.4/1 ต 2.1 ป.5/1 ต 2.1 ป.6/1 ต 2.1 ม.1/1 ต 2.1 ม.2/1 ต 2.1 ม.3/1 ต 2.1 ม.4-6/1 ต 3.1 ม.1/1 ต 3.1 ม.2/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 3.1 ม.4-6/1 ต 4.2 ป.4/1 ต 4.2 ป.5/1 ต 4.2 ป.6/1 ต 4.2 ม.1/1 ต 4.2 ม.2/1 ต 4.2 ม.3/1 ต 4.2 ม.4-6/1
  • 12. 1. ข้อใดไม่เกียวข้องกับภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต ? ก. รู้วิธีปองกันภัยคุกคามในอินเทอร์เน็ต ข. รู้วิธีแก้ไขปญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต ค. รู้วิธีลงโทษผู้ทีกระทําผิดบนโลกอินเทอร์เน็ต ง. รู้ว่าควรทําสิงใด ไม่ควรทําสิงใดบนโลกอินเทอร์เน็ต 2. ข้อใดไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ? ก. โพสต์ข้อมูลทีไม่จริง ข. กดถูกใจข้อมูลทีไม่จริง ค. แชร์ข้อมูลทีไม่จริง ง. ไม่ลบข้อมูลทีไม่จริงทีคนอืนมาโพสต์ไว้ในเพจของตน 3. ข้อใดไม่ใช่สิงทีบ่งบอกความน่าเชือถือของข้อมูล ? ก. ชือผู้เขียนข้อมูล ข. สถิติการเข้าชมข้อมูล ค. เว็บไซต์ทีเผยแพร่ข้อมูล ง. วันทีเผยแพร่ข้อมูล 4. ข้อความใดถูกต้อง ? ก. เด็กทุกคนทีเล่นเกมจะมีอารมณ์รุนแรง ข. ผู้ใช้แอปพลิเคชันหาคู่มีแต่คนทีหลอกลวง ค. ข่าวทีอ้างว่า นักจิตวิทยากล่าวว่า… อาจเปนข่าวลวง ง. การใช้ One Time Password ทีส่งมาทาง SMS ไม่สามารถถูก Hack ได้ 5. ข้อใดไม่ใช่ Passive Digital Footprint ? ก. การเปดระบบ GPS ข. ประวัติการค้นหาข้อมูล ค. IP Address ทีเข้าใช้งาน ง. การใช้ QR Code Check-in แบบทดสอบกอนเรียน สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 12Digital Resilience safeinternet.camp 6. ข้อใดไม่ใช่สิทธิใน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ? ก. สิทธิในการแก้ไขข้อมูล ข. สิทธิในการลบลืมข้อมูล ค. สิทธิในการแจ้งข้อมูลเท็จเพือปกปดอัตลักษณ์ ง. สิทธิในการเพิกถอนคํายินยอมการเก็บข้อมูล 7. Catfishing คืออะไร ? ก. การปล่อยไวรัสใส่อุปกรณ์ของผู้อืน ข. การดักรหัสผ่านของผู้อืน ค. การสุ่มรหัสผ่านของผู้อืน ง. การปลอมแปลงเปนบัญชีของผู้อืน 8. ข้อใดไม่ใช่การกลันแกล้งบนโลกออนไลน์ ? ก. โพสต์รูปให้คนอืนเห็นบ้านจน ๆ ของเพือน ข. โพสต์เล่าเรืองราวน่าอายแต่ไม่เอ่ยชือว่าเปนใคร ค. คอมเมนต์ว่า “ไม่เห็นด้วยกับความคิดนี” ง. ตังกลุ่มลับนินทาโดยไม่มีเพือนทีถูกนินทาในกลุ่ม 9. ควรทําเช่นไรเพือให้ปลอดภัยจากการโกงธุรกรรม ทางการเงินออนไลน์ ? ก. คลิก link เพือดาว์นโหลดแอปพลิเคชันรุ่นใหม่ ทันทีทีได้รับ SMS จากธนาคาร ข. ตรวจสอบรายการเคลือนไหวในบัญชีอยู่เสมอ ค. บอกรหัสผ่านให้คนทีไว้ใจได้รับรู้ไว้ เพือเปน พยานบุคคล ง. ทําธุรกรรมผ่านทาง Wi-Fi ทุกครังเพือแปลง สัญญาณการทําธุรกรรม 10. ข้อใดไม่ใช่เปาหมายการคุกคามของมิจฉาชีพ ? ก. หาช่องโหว่แล้วแจ้งผู้ดูแลเพือรับค่าตอบแทน ข. เข้าไปรวบรวมข้อมูลทีอยู่ในระบบ ค. เข้าไปโจมตีระบบให้ใช้งานไม่ได้ ง. เข้าไปเปลียนแปลงแก้ไขข้อมูล
  • 14. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 14Digital Resilience safeinternet.camp เข้าใจแนวทางของการอยู่ร่วมกับผู้อืนในโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย เห็นความสําคัญของการมี Empathy หรือความเห็นอกเห็นใจต่อผู้อืนในโลกอินเทอร์เน็ต ตระหนักถึงความเสียงบนโลกอินเทอร์เน็ต และเข้าใจทักษะสําคัญเพือการรับมือ รู้จักมารยาทบนอินเทอร์เน็ต และเรียนรู้การปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมได้ เปาหมายการเรียนรู 1. 2. 3. 4. บทที่ 1 การอยูรวมกันในโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย Digital Resilience | Empathy | Critical Thinking | Netiquette
  • 15. การกระทําบนโลกอินเทอรเน็ตอาจทําให บนโลกออนไลน์ หรือโลกอินเทอร์เน็ต แม้ว่าจะเปนโลกเสมือนทีถูกจําลองขึน เพือจุดประสงค์และการ ใช้งานทีแตกต่างกันไปในแต่ละช่องทาง เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชัน เปนพืนทีซึงเปดโอกาสให้เราทําอะไรได้ มากมาย ไม่ว่าจะเปน การนําเสนอแสดงตัวตนของเรา พูดคุยกับผู้อืน หาความรู้ เสพความบันเทิง และ สร้างสรรค์ข้อมูลกันได้อย่างไม่จบสิน แต่เราต้องไม่ลืมว่า การข้องเกียวปฏิสัมพันธ์บนพืนทีโลกออนไลน์ต่าง ๆ เหล่านี เปนสิงทีสัมพันธ์และส่งผลกระทบกับชีวิตจริงอย่างไม่อาจแยกขาดจากกัน มิหนําซาการกระทําต่าง ๆ บนโลกออนไลน์นัน อาจนําไปสู่การถูกส่งต่อ แปรเปลียนสาร ขยายวงกว้าง และทวีความรุนแรงได้อย่างไม่จบสิน นีจึงเปนสาเหตุสําคัญทีเราควรตระหนัก เรียนรู้ เพือการใช้อย่างเหมาะสมและมีสติ อันจะนําไปสู่การอยู่ร่วมกัน ในสังคมออนไลน์ได้อย่างปลอดภัยทังกับตัวเราและกับผู้อืน ...ชีวิตจริงบนโลกเสมือน... การอยูรวมกันบนโลกอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัย เสียทรัพย์… สาวสระแก้วร้องสือ ถูกหลอกให้เล่นแชร์ออนไลน์ สูญเงินหมดตัว แถมถูกเจ้าของแชร์ขู่ยึดทรัพย์ เปนทุกข์หนัก เสียใจ… ชายหนุ่มทีถูกโลกโซเชียลกล่าวหาว่าเปนโรคจิต หลังใส่รองเท้าทีมีรูขาด ขึนรถไฟฟา BTS แล้วมีผู้ถ่ายภาพไปเผยแพร่บนสังคมออนไลน์พร้อม กล่าวหาว่า ติดกล้องไว้ทีรองเท้าเพือแอบถ่ายใต้กระโปรงหญิงสาว "คุณไม่เปนผม คุณไม่รู้หรอกว่า ช่วงเวลานันมันเเย่เเค่ไหน" เสียชีวิต… นักร้องนักแสดงชาวเกาหลีใต้วัย 25 ป ฆ่าตัวตาย เพราะความกดดันจากการทํางาน เสียงวิจารณ์ และ การกลันแกล้งทางไซเบอร์ สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 15Digital Resilience safeinternet.camp
  • 16. Digital Resilience ภูมิคุมกันบนโลกดิจิทัล คืออะไร? “ความสามารถในการตระหนักถึงภัยออนไลน์ และวิธีการรับมือกับความเสียงเหล่านัน รู้ว่าจะต้องทําอย่างไรเมือเกิดความผิดพลาดขึน เรียนรู้จากประสบการณ์ในการอยู่บนโลกออนไลน์ และสามารถทีจะกอบกู้สถานการณ์จากความยากลําบากและความไม่สบายใจได้” The UK Council for Child Internet Safety (UKCCIS) Resilience Working Group Digital Resilience เปนทักษะพื้นฐานดานดิจิทัล ในการมีความตระหนัก และความเขาใจความสัมพันธระหวางการใชเทคโนโลยีและความเสี่ยงที่อาจพบเจอ เพื่อใหมีศักยภาพในการปองกัน รับมือ และแกไขเมื่อประสบปญหา ตลอดจนเทาทันการเปลี่ยนแปลงพัฒนาที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต เมือเทคโนโลยี หรืออินเทอร์เน็ต กลายเปนปจจัยที 5 สําหรับการดํารงชีวิตในปจจุบันไปแล้วการเรียนรู้ ปรับตัว และรับมือกับความเสียง และความเปนไปต่าง ๆ บนโลกอินเทอร์เน็ตจึงเปนสิงจําเปน เช่นเดียวกันกับ การใช้ชีวิตในโลกปกติ ซึงทักษะความสามารถในการเตรียมรับมือ และการปรับตัวต่อการเปลียนแปลง รวมถึง การทนทานต่อการถูกคุกคาม ตลอดจนความสามารถในการฟนคืนสภาพของตัวเองจากภัยต่าง ๆ ได้นี คือ ทักษะสําคัญแห่งยุคสมัย ทีเรียกว่า “Resilience” บนโลกอินเทอร์เน็ตมีสิงทีเปนทังองค์ความรู้ ช่องทางการเรียนรู้ ประตูสู่โลกกว้าง ตลอดจนประโยชน์อีกมากมายมหาศาล แต่ก็มาพร้อมกับโทษภัยความเสียงหลายอย่าง เช่นกัน หากผู้ใช้มีภูมิคุ้มกัน ในการใช้อินเทอร์เน็ตทีดีก็จะสามารถใช้อย่างปลอดภัย และ ได้รับประโยชน์ทีมากกว่า ซึงเกิดขึนได้จากการปลูกฝง และดูแลจากครู หรือผู้ปกครอง ทีสามารถให้คําแนะนํา และ ช่วยเหลือภูมิคุ้มกันในการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ และเปนประโยชน์ (Digital Resilience) 16 ภูมิคุมกันบนโลกดิจิทัลสําคัญอยางไร ? Digital Resilience safeinternet.camp
  • 17. ควรทําสิงใด ไม่ควรทําสิงใดเพือให้อยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย อีกทังยังรู้ วิธีปองกัน ด้วยการประเมินความเสียงก่อน แล้วหาวิธีหลีกเลียงความเสียงหรือปองกัน ความเสียง และรู้ วิธีแก้ไขปญหาเพือฟนสภาพจากภาวะเสียงภัยมาสู่ภาวะปกติได้ เริมจากการตังสติและ ประเมินสถานการณ์ จากนันตัดสินใจว่าจะแก้ไขด้วยตนเองหรือขอความช่วยเหลือ 1. 2. 3. 4. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต ซึงการกระทําทัง 4 นีต้องอาศัยความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) และทักษะ การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ควบคู่กันไปซึงในหลักสูตรนี จะแนะนําหลัก Digital Resilience ในทุก ๆ หัวข้อให้เห็นว่า ควรทําอะไร ไม่ควรทําอะไร มีวิธีปองกัน และวิธีแก้ไขอย่างไรบ้าง ซึงบางอย่างจะสอดคล้องกับมารยาทบนโลกอินเทอร์เน็ต (Netiquette) และกฎหมายทีบังคับใช้จริงอีกด้วย 17Digital Resilience safeinternet.camp Digital Resilience คือการรูวา Digital Resilience Critical Thinking Empathy ควรทํา ไมควรทํา วิธีปองกัน วิธีแกไข ประเมินความเสี่ยง หลีกเลี่ยงความเสี่ยง/ ปองกันความเสี่ยง ตั้งสติ ประเมินสถานการณ แกไขดวยตนเอง/ ขอความชวยเหลือ
  • 18. Empathy ความเห็นอกเห็นใจ...หัวใจของการอยูรวมกัน โลกในยุคปจจุบันปจจัยทีทําให้การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมมีความแตกต่างไปจากในอดีต เราปฏิสัมพันธ์กับผู้คนมากขึน ทังในชีวิตจริงและบนโลกออนไลน์ แต่คุณภาพของความสัมพันธ์ ส่วนใหญ่นันกลับลดลง โดยเฉพาะนาหล่อเลียงสําคัญทีช่วยโอบอุ้ม ทุกความสัมพันธ์ทีขาดหายไป นันก็คือ “ความเห็นอกเห็นใจ” “ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) เปนความสามารถในการเข้าถึง เข้าใจความรู้สึกของผู้อืน และมีส่วนร่วมในความรู้สึกนันผลของความรู้สึกสามารถ แสดงให้เห็นได้โดยพฤติกรรมทีแสดงออกด้วยภาษา ถ้อยคํา และท่าทาง” Gerard Egan (1986) “ความรวดเร็วในโลกออนไลนอาจทําใหเราเห็นอกเห็นใจกันนอยลง ดังนั้นกอนที่เราจะโพสตหรือคอมเมนทอะไรในโลกออนไลน เราควรคิดไตรตรองใหรอบคอบ วาสิ่งที่เราโพสตนั้นจะทําใหคนคนนั้นที่มาเห็นรูสึกไมดีหรือไม” หมอมิน พญ.เบญจพร ตันตสูติ เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา ความเห็นอกเห็นใจผู้อืนบนโลกออนไลน์ หรือ Online Empathy คือการตระหนักถึงผลกระทบ ของการกระทําของเราทีมีต่อผู้อืน และเข้าใจถึงความรู้สึกของเขาทีอาจมีต่อการกระทําของเรา เราจึงควรเรียนรู้ทีจะมีมารยาท และรู้กาลเทศะในการใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกับผู้อืน โดยไม่ลืมทีจะ เอาใจเขามาใส่ใจเรา ซึงเปนพืนฐานของการเปนผู้ทีมีนาใจและความรับผิดชอบบนโลกออนไลน์ เนืองจากเราไม่ได้พบเจอหรืออยู่ต่อหน้าผู้คนจริง ๆ บางส่วนก็เปนคนทีเรารู้จักอยู่แล้วในชีวิตปกติ แต่บางส่วนก็เปนผู้คนทีเราไม่รู้จัก ไม่เคยเห็นหน้าหรือพูดคุยกันมาก่อน อีกทังการสือสารบนโลก อินเทอร์เน็ตนัน มักกระทําผ่านตัวอักษร หรือข้อความเปนหลัก จึงทําให้เราไม่ได้เห็นสีหน้า ท่าทาง นาเสียง ทีแสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทําให้เกิดระยะห่างระหว่างบุคคลทีปฏิสัมพันธ์กันบนโลก อินเทอร์เน็ต ความเห็นอกเห็นใจผูอื่นบนโลกออนไลน Online Empathy สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 18Digital Resilience safeinternet.camp
  • 19. วิธีสรางนิสัยการมีความเห็นอกเห็นใจในโลกออนไลน ปฏิบัติดีกับผู้อืนเสมอปฏิบัติดีกับผู้อืน ให้เหมือนกับทีอยากให้ผู้อืนปฏิบัติดีกับเราสิงทีเราทําอาจกระทบต่อความรู้สึกและส่งผลเสียต่อสภาพจิตใจของผู้อืนได้ ถามตัวเองก่อนโพสต์ ถามตัวเองก่อนทีจะโพสต์ข้อความหรือความคิดเห็น โดยเฉพาะโพสต์ทีมีความเกียวข้องกับผู้อืน เราจะพูดสิงนันต่อหน้าบุคคลนันหรือไม่ ? เราจะรู้สึกอย่างไรถ้ามีคนพูดถึงเราแบบเดียวกันนี ? สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 19Digital Resilience safeinternet.camp คิดก่อนแชร์ คิดก่อนทีจะแชร์วิดีโอหรือรูปภาพมันจะทําให้ใครไม่สบายใจ โกรธ อับอายหรือเปล่า ?มันจะทําให้ใครรู้สึกถูกล่วงละเมิดหรือเปล่า ?จะมีคนกีคนทีจะเห็นโพสต์และแชร์มันต่อ ? อย่าร่วมกลันแกล้งผู้อืนทางออนไลน์ เมือเห็นมีคนถูกกลันแกล้งออนไลน์ อย่าเข้าไปมีส่วนร่วมแกล้งเปนอันขาด ให้บอกผู้ใหญ่ทีไว้ใจถึงเรืองการรังแกนัน เพือช่วยเหลือผู้ทีถูกรังแก อย่าโต้ตอบกับคนทีรังแกหรือกลุ่มอันธพาลโดยตรง ถ้ามีคนขอให้ลบภาพของเขา ทีเราโพสต์ ให้รีบลบทันที ถ้ามีคนขอให้ลบรูปภาพของเขาทีเราโพสต์ออนไลน์ ให้รีบลบมันทันทีเอาใจเขามาใส่ใจเรา จงมีความรู้สึกทีดีต่อตัวเองเช่นกัน !ชีวิตของทุกคนไม่ได้ดูดีสมบูรณ์แบบอย่างทีเห็นบนโซเชียลมีเดีย เพราะเปนสิงทีสร้างตกแต่งขึนได้อย่าเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อืนให้รู้สึกเปนทุกข์ หรืออิจฉา
  • 20. Critical Thinking Skills ทักษะการคิดเชิงวิพากษ Critical Thinking ในเชิงวิชาการ ให้คําแปลไว้ว่า “การคิดเชิงวิพากษ์” หมายถึง “กระบวนการคิดรูปแบบหนึง ทีใช้ในการสร้าง และประเมินข้อสรุปจากหลักฐานหรือสภาวการณ์ใด ๆ ได้อย่างถูกต้องตามความเปนจริงเปนทักษะทีจําเปนอย่างยิงในการเสพ ข้อมูลออนไลน์ โดยเราต้องตังคําถามกับตัวเองเสมอว่าสิงทีเรากําลังอ่านอยู่เปนเรืองจริงหรือไม่ โดยไม่เชืออะไรง่าย ๆ ก่อนทีจะคิด อย่างรอบคอบถ้วนถี โดยใช้ตรรกะเหตุผลมาช่วยพิจารณาหาความเชือมโยงระหว่างข้อมูลทีได้รับ กับความเปนจริงทีเกียวข้อง ซึง ทักษะนีเปนพืนฐานของการเรียนรู้แบบ Active Learning ทีผู้เรียนเปนคนตังคําถามเพือคิดวิเคราะห์ด้วยตัวเอง มากกว่าการเปนรับ ข้อมูลความรู้เพียงอย่างเดียว อันเปนประตูสําคัญทีจะนําไปสู่การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพสําหรับทุก ๆ เรืองราวในชีวิต แนวทาง การฝกเพื่อใหมีทักษะ การคิดเชิงวิพากษ ตังคําถามกับทุกอย่าง ดูหลายมุมมอง องค์ประกอบ และบริบท พิจารณา เปรียบเทียบมุมมองทีแตกต่าง มองไปให้ไกลและลึกว่าทีเห็น ตรวจสอบข้อมูลอย่างรอบคอบ หลีกเลียงการคาดเดาไปเอง หาหลักฐานประกอบ ใช้ตรรกะ เหตุผลในข้อถกเถียง แยกแยะ ไม่ให้ถูกชีนํา ระวังข้อมูลทีเจือด้วยอคติ สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 20Digital Resilience safeinternet.camp ตังคําถาม กับทุกอย่าง ดูหลายมุมมอง องค์ประกอบ และบริบท พิจารณา เปรียบเทียบ มุมมองทีแตกต่าง ระวังข้อมูล ทีเจือด้วยอคติ แยกแยะ ไม่ให้ถูกชีนํา ใช้ตรรกะ เหตุผลใน ข้อถกเถียง หาหลักฐาน ประกอบ หลีกเลียง การคาดเดา ไปเอง ตรวจสอบข้อมูล อย่างรอบคอบ มองไปให้ไกล และลึกว่าทีเห็น แนวทางการ ฝกเพื่อใหมีทักษะการคิดเชิงวิพากษ
  • 21. เตือนตัวเองเสมอว่าเรากําลังติดต่อกับคนจริง ๆ อยู่นะ รู้กาลเทศะของแต่ละชุมชนในอินเทอร์เน็ต เคารพเวลาและการใช้แบนวิธ ปฏิบัติตัวสุภาพและเปนมิตร แบ่งปนความรู้ เคารพความเปนส่วนตัวของผู้อืน ให้อภัยในความผิดพลาดของผู้อืน ควรทํา Netiquette มารยาทบนอินเทอรเน็ต เมื่อโลกอินเทอรเน็ตเปนพื้นที่หนึ่งที่ผูคนตองใชชีวิตอยูรวมกันเปนสังคมออนไลน การสื่อสารและปฏิสัมพันธกับผูอื่นอยางมีมารยาท จึงเปนสิ่งที่ควรทําเชนเดียวกันกับในโลก ความเปนจริง Netiquette คือ วิธีประพฤติตนที่เหมาะสมเมื่อใชอินเทอรเน็ต ที่หลายครั้ง เราอาจลืมไปวา กําลังมีปฏิสัมพันธกับคนจริง ๆ ที่มีชีวิตจิตใจ ไมใชหุนยนตหรือตัวอักษร Netiquette มารยาทบนอินเทอร์เน็ต คือชุดวิธีประพฤติตนทีเหมาะสมเมือใช้อินเทอร์เน็ต Virginia Shea (1994) หนังสือ มารยาทเน็ต (Netiquette) โดย เวอรจิเนีย เชีย ไดเขียนหลักการพื้นฐาน ที่สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตัวบนโลกอินเทอรเน็ตเอาไว 10 ขอ ดังนี้ ไมควรทํา ไม่ควรเปนนักเลงคีย์บอร์ด (สือสารแบบเดียวกับโลกออฟไลน์) ไม่ควรใส่อารมณ์ ควรควบคุมอารมณ์ ไม่ควรใช้อํานาจในทางทีไม่สร้างสรรค์ มารยาทบนอินเทอรเน็ตสอนใหเราควบคุมตัวเอง แตความจริงเราตองปองกันความเสี่ยง และเรียนรูวิธีรับมือกับปญหาดวย สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 21Digital Resilience safeinternet.camp
  • 22. ส่ง Email ขายของถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท ฝากร้านใน Facebook Instagram ถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท การโพสต์ด่าหรือว่าผู้อืน หากไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหาเอาผิดผู้โพสต์ได้ โทษจําคุกไม่เกิน 3 ป ปรับไม่เกิน 200,000 บาท การให้ข้อมูลเกียวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทําให้เกิดความเสือมเสียชือเสียง หรือถูกดูหมิน เกลียดชัง ญาติสามารถฟองร้องได้ แอดมินเพจทีเปดให้มีการแสดงความเห็น เมือพบข้อความทีผิด พ.ร.บ.ฯ และเปนผู้ลบออก ออกจากพืนทีทีตนดูแล จะถือว่าเปนผู้พ้นผิด การโพสต์เกียวกับเด็ก เยาวชน ต้องปดบังใบหน้า ยกเว้นการเชิดชู หรือชืนชม อย่างให้ เกียรติ ไม่ทําการละเมิดลิขสิทธิผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ ไม่โพสต์สิงลามกอนาจาร ทีทําให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้ ส่งรูปภาพทีแชร์จากผู้อืนไม่ผิด หากไม่นําไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้ ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่ได้รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนันได้ ไม่เช่นนัน ถือเปนสแปม ปรับ 200,000 บาท กด Like ได้ไม่ผิด ยกเว้นการกดไลค์ข้อมูลทีมีฐานความผิด และมีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และความมันคง โดยเมือไต่สวนแล้วมีเจตนาในเนือหานัน กด Share ถือเปนการเผยแพร่ข้อมูล หากข้อมูลทีแชร์ไปไม่มีผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ และความมันคง หรือไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ถือว่าไม่มีความผิด หากพบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ใช่สิงทีเจ้าของคอมพิวเตอร์ กระทําเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานทีรับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออก เจ้าของ ก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย สรุป พ.ร.บ.คอมพิวเตอร กฎหมายนารู สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 22Digital Resilience safeinternet.camp
  • 23. ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Offline รอบที 1 : No ! but ... รอบที 2 : Yes ! and ... ชวนนักเรียนสะท้อนการเรียนรู้ว่าทัง 2 รอบรู้สึกต่างกันอย่างไร ครูให้โจทย์สถานการณ์ 1 อย่าง ให้นักเรียนผลัดกันแสดงความคิดเห็น ก่อนแสดงความคิดให้พูดแย้งเพือนว่า "ไม่ ! มันต้อง..." แล้วเติมความคิดเห็นตนเอง เช่น "ทํายังไงเราถึงจะเรียนดี ?" "เราต้องอ่านหนังสือทุกวัน" "ไม่ ! มันต้องตังใจเรียนในห้องเรียน" ก่อนแสดงความคิดให้พูดเสริมเพือนว่า "ใช่ ! แล้วก็..." แล้วเติมความคิดเห็นตนเอง เช่น "ทํายังไงเราถึงจะเรียนดี ?" "เราต้องกินอาหารทีดีต่อสมอง" "ใช่ แล้วก็ต้องพักผ่อนให้เพียงพอ" การทีเราเปดใจรับฟงความคิดเห็นคนอืนและเสริมความคิดเห็นเราโดยไม่ปดกัน ทําให้เกิดผลดียังไง คิดว่าการเลือกใช้คําพูดทีแตกต่าง แต่ความหมายเหมือนเดิมให้ผลทีต่างไหม เราจะประยุกต์เรืองนีไปใช้ในโลกอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร Yes ! and ... No ! but ... เปดใจรับฟงผู้อืนโดยไม่ปดกัน ทําความเข้าใจผู้อืน ใช้ถ้อยคําทีเหมาะสม เห็นอกเห็นใจผู้อืน เปาหมายการเรียนรู วิธีการ คําถามชวนนักเรียนคิด ใช ! แลวก็... | ไมใช ! มันตอง ... สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 23Digital Resilience safeinternet.camp
  • 24. ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online ชวนนักเรียนดูสือทีเล่าถึงเทคโนโลยีทีพัฒนาไปไกล และปญหาทีเกิดขึนตามมา เมือดูจบ ชวนนักเรียนสะท้อนการเรียนรู้ เช่น ชวนดูการแคสเกม Detroit: Become Human บางตอนจาก YouTube ทีเล่าถึงโลกอนาคต ทีมนุษย์ใช้ชีวิตร่วมกับหุ่นยนต์ แต่แล้ววันหนึงหุ่นยนต์กลับมีความรู้สึก และเริมไม่ทําตามคําสัง ของมนุษย์ และออกมาเรียกร้องอิสรภาพของจักรกล ถ้าโลกพัฒนาไปไกลแบบในเกม Detroit: Become Human ควรมีกฎหมายใดเพิม ชวนวิเคราะหโลกอนาคต เห็นสิงทีอาจเกิดขึนในอนาคตเมือเกิดการพัฒนาเทคโนโลยี วิเคราะห์แนวทางการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เปาหมายการเรียนรู วิธีการ คําถามชวนนักเรียนคิด สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 24Digital Resilience safeinternet.camp
  • 25. ไอเดียการสอนสําหรับหองเรียน Online ให้นักเรียนเข้าไปที www.safeinternetforkid.com ซึงเปนเกมทีนักเรียนสามารถเรียนรู้ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยและรู้เท่าทันด้วยตัวเองได้ และเมือเล่นจบก็สามารถรับ ประกาศนียบัตรทีแสดงว่าได้เรียนรู้ผ่านเกมนีแล้ว ในชีวิตจริงทีเราเล่นอินเทอร์เน็ต เคยเจอเหตุการณ์คล้ายคลึงกับในเกมนีหรือไม่ เวลาทีเราเจอเหตุการณ์แบบนีเรารู้สึกอย่างไร ต่อจากนีหากเจอเหตุการณ์ลักษณะนีอีก เราจะรับมือ หรือปฏิบัติตัวอย่างไร Safe Internet for Kid พัฒนาความรู้และทักษะทีจําเปนในการท่องโลกออนไลน์อย่างปลอดภัย สือสารอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ สามารถระบุความเสียงต่าง ๆ หลีกเลียงความเสียง และขอความช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม เปาหมายการเรียนรู คําถามชวนนักเรียนคิด www.safeinternetforkid.com วิธีการ สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 25Digital Resilience safeinternet.camp
  • 26. Worksheet : พูดดี ๆ กันนะ เปลี่ยนประโยคเหลานี้ใหสุภาพ สรางสรรคมากขึ้น โดยสื่อสารใหไดใจความเดิม ลองตอบกลับอยางสุภาพและสรางสรรคหนอย ถามีคนพิมพมาหาเราแบบนี้ สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต A : เปนเหมือนกันทังบ้านเลยเน๊าะ แต่งตัวแบบนีดูอ้วนนะ ! รําคาญพวกแวนกับสกอยวะ ! นอนไมหลับเลย รองไหเปนผูหญิงไปได ทําไมชอบบังคับวะ ไอสัส ! ไอเดียจาก Be Internet Awesome 26Digital Resilience safeinternet.camp A : ทําไมตอแหลขนาดนี Me : Me : Me : Me : A : ทําไมโง่จัง ! A :
  • 27. สมมติวาเราเปนผูเชี่ยวชาญดานการปองกันภัยรายบนโลกอินเทอรเน็ต แลวมีเพื่อน ๆ ทักมาขอคํา แนะนําในการแกไขปญหา เราจะแนะนําเพื่อนแตละคนวาอะไรดี โดยที่วิธีการแกไขของเรานั้นไมไปกอ ใหเกิดปญหาใหมขึ้นมา ขอความชวยเหลือ คําแนะนํา Digital Resilience Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต Worksheet : ทํายังไงดี มีพีคนหนึง รูปโปรไฟล์หล่อมาก เราเลยรับแอด แล้วก็คุยกัน หลังจากนันเขาทักมายืมเงินเราทุกวันเลย และขู่ว่าถ้าเราไม่ให้ จะไปดักเจอตอนหลังเลิกเรียน เพราะตอนนี เขารู้แล้วว่าเราเรียนทีไหน เราทําไงดี ? แอนนา เพือนคนหนึงของเราชอบแอบถ่ายรูปเรา ตอนทําหน้าเหวอ แล้วเขาก็ชอบเอาไปโพสต์ เรารู้สึกไม่ชอบเลย แต่ก็ไม่รู้จะทํายังไงให้เขาหยุด ปโป เราเข้าเว็บดูหนังอยู่ดี ๆ ก็มีหน้าต่างเด้งขึนมาว่า เข้าสู่ระบบ Facebook ใหม่ทีนีเพือรับรางวัล เราก็กรอกไปแล้ว หลังจากนันเพือนก็โทรมาว่า เราแชทไปหลอกยืมเงินคนอืนทําไม ซึงเราไม่ได้ทํา จนเราต้องโพสต์บอกว่าเราน่าจะโดนแฮก แต่ก็ยังมีคนได้รับข้อความยืมเงินอยู่ ทําไงดี ๆ ? กระถิน คุณยายเราส่งข้อความทาง LINE มาบอกเรา ว่าต้องดืมนามะนาวผสมโซดาทุก ๆ วันนะ มันรักษามะเร็งได้ แต่คุณครูพยาบาลทีโรงเรียนบอกว่า มันเปนข่าวลวง เราจะบอกคุณยายยังไงดีให้ท่านเชือเรา ? ซีดี สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 27Digital Resilience safeinternet.camp
  • 28. 1. เพราะเหตุใดผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรฝกความเห็นอกเห็นใจและความเข้าใจกัน ? ก. เพราะในอินเทอร์เน็ตมีอักขระพิเศษทีเข้าใจยาก ข. เพราะผลงานในอินเทอร์เน็ตสร้างยากและใช้เวลานาน ค. เพราะผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกว่า 78% ขาดแคลนทุนทรัพย์ ง. เพราะอาจการสือสารอาจคลาดเคลือนจากการไม่รู้นาเสียง 2. การคิดเชิงวิพากย์เสริมสร้างความเห็นอกเห็นใจและความเข้าใจกันได้อย่างไร ? ก. ทําให้เข้าใจความซับซ้อนของคอมพิวเตอร์ ข. ทําให้ไม่ถูกชีนําด้วยอคติและการคาดเดาไปเอง ค. ทําให้เกิดความผ่องใสในจิตใจ ง. ทําให้เกิดความเปนหนึงเดียวกันระหว่างภาษามนุษย์และภาษาจักรกล 3. ข้อใดถือเปนมารยาทบนอินเทอร์เน็ต ? ก. ไม่เคียวเสียงดังหน้ากล้องเว็บแคม ข. คุมอารมณ์ก่อนโพสต์ข้อความ ค. เดินก้มศีรษะเวลาเดินผ่านหน้าจอ ง. พิมพ์ “สวัสดี” ทุกครังทีแชทหาเพือน 4. เพราะเหตุใดจึงควรสร้างข้อตกลงหรือมารยาทบนอินเทอร์เน็ตใหม่เรือย ๆ ? ก. เพราะเมือใช้อินเทอร์เน็ตมาก ๆ จะเปนคนลืมง่าย ข. เพราะจํานวนผู้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตผกผันทุกวัน ค. เพราะโลกเปลียน พฤติกรรมคนเปลียน และมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ง. เพราะทีมีอยู่แล้วใช้สํานวนโบราณ ทําให้คนรุ่นใหม่ไม่เข้าใจ 5. ข้อใดไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ? ก. โพสต์ข้อมูลทีไม่จริง ข. กดถูกใจข้อมูลทีไม่จริง ค. แชร์ข้อมูลทีไม่จริง ง. ไม่ยุ่ง ไม่ลบข้อมูลทีไม่จริงทีคนอืนมาโพสต์ไว้ในเพจของตน แบบทดสอบ บทที่ 1 สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 28Digital Resilience safeinternet.camp
  • 29. 02 Medias • Fake News สื่อออนไลนและ การปองกันความเสี่ยง
  • 30. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 30Digital Resilience safeinternet.camp ตระหนักถึงประโยชน์และโทษของสือสังคมออนไลน์ (Social Media) รู้จักลักษณะของข่าวลวง (Fake News) และผลกระทบต่อผู้อืนและสังคม เรียนรู้วิธีการวิเคราะห์เพือแยกแยะระหว่างข่าวจริงกับข่าวลวง รู้จักสือเรืองเพศ (Sexual Media) ผ่านรูปแบบและมุมมองทีเปดกว้างหลากหลาย รู้จักและเรียนรู้การใช้สือบันเทิงได้อย่างเหมาะสมและเปนประโยชน์ เปาหมายการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. บทที่ 2 สื่อออนไลนและการปองกันความเสี่ยง Social Media | Sexual Media | Entertainment | Fake News
  • 31. ในยุคปจจุบันเทคโนโลยีเปนสิงทีมีการพัฒนาและสร้างการเปลียนอย่างรวดเร็วให้กับสังคม “สือ” จากแต่เดิมทีเคยมีแค่ หนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ เมือเริมมีอุปกรณ์เครืองมือดิจิทัล คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตเข้ามา ทําให้เกิดสือหลากหลายรูปแบบจากเดิมทีเราเคยต้องคอย ติดตามสือต่าง ๆ ด้วยตัวเอง สือก็เริมกลายเปนสิงทีพบเห็นได้แทบทุกทีไม่ว่าจะเปนในอาคาร สถานที หรือบนท้องถนน และเมือมือถือแบบ “สมาร์ทโฟน” กลายเปนสิงทีใช้กันอย่างแพร่ หลาย สือต่าง ๆ ก็กลายเปนสิงทีตามติดตัวเรา และพยายามทีจะดึงความสนใจสร้างปฏิสัมพันธ์ กับเราเพือเปาหมายต่าง ๆ มากขึนเรือย ๆ … มากเสียจนหลายครังก็กลายเปนสิงทีคุกคามเรา เพราะท่ามกลางสือทีมีอยู่มากมายมหาศาลนัน ก็มีทังสือทีดี และทีเปนภัย หรือเต็มไปด้วยความ เสียงหลายรูปแบบ เราจึงควรเรียนรู้ให้เท่าทันเพือการปองกันตัวเอง TICAC จับกุมหนึงในเครือข่าย VK และกลุ่ม Telegram ชือดังทีตังชือกลุ่มพนันบอลแอบแฝงการแชร์สือลามกอนาจารเด็ก Digital Resilience Digital Resilienceสรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต เราติดตามสื่อ สื่อติดตามเรา ทีมา : คณะทํางานปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต (TICAC) สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 31Digital Resilience safeinternet.camp
  • 32. Social Media สื่อสังคม ปจจุบันสือสังคมบนโลกอินเทอร์เน็ตมีบทบาทในการสร้างแรงขับเคลือนสังคมโลกอย่างใหญ่เพราะกิจกรรมแทบทุกอย่าง ตังแต่การสือสารในระดับปจเจก การเสพสือความบันเทิง การทําธุรกรรมทางการเงิน การทําธุรกิจการค้า การสร้างกลุ่มสร้างเครือข่ายต่าง ๆ ไปจนถึงการแลกเปลียนเชือมโยงทางไกลข้ามทวีปนัน ล้วนทําได้บนโลกออนไลน์ สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 32Digital Resilience safeinternet.camp
  • 33. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 33Digital Resilience safeinternet.camp ประโยชนของ Social Media เรียนรู้ทักษะการสือสาร หาข้อมูลความรู้ ขยายมุมมองหรือโลกทัศน์ จากการแลกเปลียนแสดงความคิดเห็น เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ การตีความหมาย การสังเคราะห์ และการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้เพิมทักษะเพือพัฒนาตัวเองในศาสตร์ต่าง ๆ เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน เปนพืนทีนําเสนอและแสดงออกตัวตน เชือมโยงความสัมพันธ์กับผู้อืน การติดตามข่าวสาร และอัพเดทเทรนด์ต่าง ๆ การรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายในประเด็นเฉพาะทาง เสพสือเพือความผ่อนคลาย กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ สร้างแรงบันดาลใจ เปนเครืองมือตัวช่วยในการทํางาน เปนช่องทางการทําธุรกิจ หารายได้ เปนช่องทางประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการตลาด บันทึกเรืองราวเก็บข้อมูลต่าง ๆ ดานการศึกษา ดานสังคม ดานความบันเทิง ดานการงานและเศรษฐกิจ อื่น ๆ
  • 34. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 34Digital Resilience safeinternet.camp โทษภัยและความเสี่ยงของ Social Media ทําใหติดจนเกิดปญหาชีวิตในหลายดาน หากใช้โซเชียลมีเดียมากเกินไปจนติด จะทําให้เสียเวลาในชีวิต และเสียสุขภาพกาย สุขภาพจิต ส่งผลกระทบกับ ชีวิตการเรียนและการงาน หรือความสัมพันธ์กับคนรอบข้างได้ เกิดความทุกขทางจิตใจ การเสพสิงทีอยู่บนโซเชียลมีเดียมาก ๆ หากมีภูมิคุ้มกันในตัวเองไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้เกิดการเปรียบเทียบกับ ผู้อืน กระตุ้นความอยากได้อยากมี หรือรู้สึกด้อยคุณค่าจนอาจเกิดภาวะเครียดซึมเศร้าได้ เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมที่เปนอันตราย โซเชียลมีเดียมักเปนสือทีนํากระแสและเทรนด์ต่าง ๆ มากมาย หลายครังก็ทําให้เกิดกระแสการทําตาม ๆ กันใน เรืองทีเปนอันตราย เช่น การท้าให้เพือนกระโดด แล้วสองคนทียืนข้าง ๆ เตะตัดขาพร้อมกันจนทําให้คนที กระโดดล้มหงายหลังศีรษะฟาดพืนจนเสียชีวิตได้ เปนต้น ถูกนําขอมูลสวนตัวไปใชในทางไมดี หากเราใส่หรือแชร์ข้อมูลส่วนตัวบนอินเทอร์เน็ตมากเกินไป อาจทําให้เกิดความเสียงต่อการถูกเข้าถึง และนําไป ใช้ในทางทีไม่ดีได้ เช่น เอาช่องทางการติดต่อไปใช้เพือเข้าถึงตัวเรา ถูกสวมรอย เปนต้น โดนหลอกจากผูประสงคราย บนโซเชียลมีเดียทําให้เราติดต่อสือสารกับผู้คนมากมายได้ทังทีรู้จักและไม่รู้จัก ซึงอาจมีมิจฉาชีพแฝงตัวมาเพือ หลอกลวงเราในแบบต่าง ๆ ได้ โดนละเมิดลิขสิทธิ์ผลงานตาง ๆ เมือเราแชร์รูปภาพ หรือผลงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ ลงบนโซเชียลมีเดีย อาจมีผู้ทีนําเนือหาเหล่านันไปดัดแปลง หรือแชร์ต่อโดยอ้างว่าเปนผลงานของตัวเองได้
  • 35. การใช Social Media Digital Resilience สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 35Digital Resilience safeinternet.camp ไมควรทํา ไม่ควร Check in บ่อยเกินไป เพราะผู้ไม่ หวังดีจะทราบความเคลือนไหวของเราหรือ อาจมาดักรอเราไม่ควรเปดเผยข้อมูลต่อไป นีอย่างไม่ระวัง ชือ - นามสกุล วัน เดือน ปเกิด เลขบัตรประจําตัวประชาชน ทีอยู่/เชคอินตําแหน่งปจจุบัน เบอร์โทรติดต่อ รหัสผ่านต่าง ๆ ภาพลับหรือภาพอริยาบทต่าง ๆ ควรทํา รับคําขอเปนเพือนเฉพาะคนรู้จัก ก่อน Post ควรนึกถึงผลทีจะตามมา แสดงความคิดเห็นอย่างมีสติ เพือไม่ให้เกิด การโต้แย้งทีรุนแรงหรืออาจเปนความผิดได้ กดไลค์ในสิงสร้างสรรค์ วิธีแกไข ตังสติ ขอความช่วยเหลือ วิธีปองกัน อย่าลืม log out หรือออกจากระบบ และ อย่ากด Remember me เมือใช้คอมพิวเตอร์ สาธารณะ เพือปองกันผู้อืนสวมรอย ระวังผู้ประสงค์ร้ายหลอกถามข้อมูลส่วนตัว ใช้การคิดเชิงวิพากษ์กับทุกข้อมูล เช็คก่อน แชร์ ไม่แน่ใจอย่าแชร์ หากแชร์เรืองไม่ดีหรือ ไม่จริง อาจทําให้เกิดผลเสียและเปนความ ผิดได้
  • 36. การใส่ความผู้อืน ทําให้เสียชือเสียง ถูกดูหมินเกลียดชัง มีความผิดฐานหมินประมาท โทษจําคุกไม่เกิน 1 ป หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทังจําทังปรับ การใส่ความผู้ตาย และเปนเหตุให้ผู้ตาย หรือพ่อแม่ ญาติพีน้อง คู่สมรส บุตร เสียชือเสียง ถูกดูหมินเกลียดชัง มีความผิดฐานหมินประมาท โทษจําคุกไม่เกิน 1 ป หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทังจําทังปรับ Social Media กฎหมายนารู สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 36 คําว่า “ใส่ความ” คือ เอาความไปใส่เขา ซึงอาจเท็จหรือจริงก็ได้ ไม่ใช่จริงไม่ผิด เท็จจึงผิด หลักศาลจึงว่า “ยิงจริง ยิงผิด” วิธีใส่ความคือ แสดงข้อความให้ปรากฎด้วยวิธีใด ๆ ก็ได้ เช่น พูด เขียน วาด ใช้นาเสียง บอกใบ้ ทํากริยาท่าทาง ฯ ถือเปนการใส่ความหมด ความผิดฐานหมินประมาท ไม่จําเปนต้องมีผลเสียหายเกิดขึนจริงจากการใส่ความ แค่ “ความทีใส่” น่าจะทําให้เขาเสียชือเสียง ก็เปนความผิด Digital Resilience safeinternet.camp
  • 37. จากการศึกษาข้อความใน Twitter 126,000 ข้อความ ที tweet กว่า 4.5 ล้านครัง โดย user 3.5 ล้านคน ตังแต่ป 2006 - 2017 พบว่า Fake news สามารถแพร่กระจายได้รวดเร็วกว่าข่าวจริงถึง 100 เท่า โดย Fake news มักถูก Retweet มากกว่าข่าวจริงถึง 70% ข้อมูลจากนักวิจัย MIT (MIT Initiative on the Digital Economy) ด้วยความง่ายในการสร้างและเผยแพร่ข้อมูลในโลกยุคปจจุบัน จึงเรียกได้ว่าเปนยุคทีใครก็ได้ สามารถเปน ผู้สร้างและเผยแพร่สือ หรือข้อมูลต่าง ๆ ออกไปโดยไม่ต้องได้รับการตรวจสอบ ปรากฏการณ์ทีเกิดขึนจึงส่งผล ทําให้มี “Fake News” หรือ ข่าวลวง จํานวนมาก ถูกเผยแพร่ออกสู่สังคม อีกทังยังถูกส่งต่ออย่างไม่จบสินเปน ระยะเวลายาวนาน ขยายจํานวนและพืนทีวงกว้างออกไป จนแทบจะสืบหาต้นตอของข่าวลวงเหล่านีไม่ได้ เลยทีเดียว สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 37Digital Resilience safeinternet.camp Fake News ขาวลวง ดื่มนํ้าอุนแชมะนาวฆาเซลลมะเร็งได ?
  • 38. สรางเยาวชนใหมีภูมิคุมกันบนโลกอินเทอรเน็ต 38Digital Resilience safeinternet.camp เพือเปนการแสดงให้เห็นถึงปญหาของข่าวลวง ในประเทศไต้หวัน ได้สร้าง LINE Bot หรือโปรแกรมทีคอย เก็บสถิติของการเกิดข่าวปลอมขึนมา โดยจากการเริมต้นเก็บข่าวปลอมตังแต่วันที 1 เมษายน 2018 จนถึงเดือน ธันวาคมป 2020 พบว่า ข่าวปลอมนันมีอายุยาวนานถึงมากกว่า 980 วัน ทียังคงปรากฏอยู่ และยังถูกส่งต่ออยู่ใน สังคมอย่างต่อเนือง สิงนีแสดงให้เห็นว่า หากเราไม่มีความตระหนักและระมัดระวังถึงภัยของข่าวปลอมเหล่านี และเผลอกลายเปนผู้ส่งต่อออกไปโดยไม่รู้ตัว เราก็จะกลายเปนส่วนหนึงทีสร้างความรู้ความเข้าใจผิด ๆ ทีอาจ ส่งผลร้ายแรงถึงชีวิตใครบางคนได้แม้จะไม่ตังใจ ทีมา : Cofacts analytics - LINE Bot - Message Lifetime