SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
สนับสนุนการสร้างสรรค์หลักสูตร กองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์
สร้างสรรค์หลักสูตร ณอัญญา สาวิกาชยะกูร
ดร.ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์
เรียบเรียงเนือหา มนัสวี ศุระศรางค์
อนุสรณ์ หนองบัว
ศิลปกรรม Art of Living 101
บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด
Facebook Art of Living 101
Email hello@artofliving101.me
Website www.artofliving101.me
พิมพ์ครังแรก พ.ศ. 2564
การเรียนรู้
อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming!
ตอน
ภัทรพร กุลมาโนชวงศ์
ธเนศ ศิรินุมาศ
ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล
ภรปภัช พิศาลเตชะกุล
จัดพิมพ์โดย บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด
พิมพ์ที โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักงานหอสมุดแห่งชาติ
A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า.-- กรุงเทพฯ : อินฟลูเอนเซอร์, 2564.
27 หน้า.
1. ความซึมเศร้า. 2. โรคซึมเศร้า. I. มนัสวี ศุระศรางค์. II. ชือเรือง.
616.8527
ISBN 978-616-93714-1-0
เรารู้ว่าการทีต้องอยู่คนเดียวกับภาวะซึมเศร้าทีแต่ละคนไม่สามารถจัดการได้
มันทรมานแค่ไหน หลากหลายความรู้สึกทีเข้ามาใจเราจนทําให้เกิดความขัดแย้ง
ภายใน รวมถึงสิงเร้าภายนอกทีเข้ามากระตุ้นจนตัวเราไม่สามารถจัดการมันได้
E-book เล่มนีจะเปนตัวช่วยให้เราสามารถกลับมาดูแลตัวเองและเรียนรู้การอยู่กับ
ภาวะซึมเศร้า ผ่านการค้นหาคุณค่าภายในของแต่ละคนด้วยเครืองมือทีออกแบบ
ร่วมกับจิตแพทย์ นักจิตวิทยา และนักศิลปะบําบัด ผ่านแนวคิดมนุษยปรัญชา
และการใช้ศิลปะบําบัดความทุกข์
"แค่เปดใจเรียนรู้ กลับมาโอบกอดตัวเอง
แล้วเราจะผ่านสภาวะนีไปด้วยกัน"
E-book เล่มนีจัดทําภายใต้การสนับสนุนจากกองทุนสือปลอดภัยและสร้างสรรค์
การเรียนรู้
อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
A new you is coming!
ตอน
สารบัญ
5
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
โลกซึมเศร้า
เศร้าได้ไหม ?
เพือนร่วมทาง...
หวาย ปญญ์ธิษา
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับพีซัง
นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา
14 17
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับคุณหมอนุ่น
แพทย์หญิง ดุจฤดี อภิวงศ์
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับพีเอก
นักจิตวิทยาการปรึกษา
11
23
20
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
คืออะไร
ปจจัยทางชีวภาพ (อาทิ พันธุกรรม ระบบการทํางานของต่อมไร้ท่อ ความผิดปกติ
ของสารเคมีในสมอง เช่น Serotonin, Norepinephrine, Dopamine เปนต้น)
ปจจัยทางสังคม (อาทิ ความกดดันจากสภาพแวดล้อมรอบตัวบุคลิกภาพหรือนิสัย)
ปจจัยทางจิตใจ (อาทิ ประสบการณ์ในอดีต ปญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวหรือ
คนใกล้ชิด)
โรคซึมเศร้า (Depression) ต่างจากภาวะซึมเศร้าหรือความรู้สึกทุกข์ (Sadness)
เนืองจากโรคซึมเศร้าเปนอาการปวยทางจิตประเภทหนึงอยู่ในกลุ่มโรคความผิดปกติ
ทางอารมณ์ไม่เหมือนความเศร้าทีความทุกข์สามารถคลายไปเองได้
การเกิดของโรคซึมเศร้ามีหลากหลายปจจัยเปนส่วนประกอบ ได้แก่
ทีทําให้เกิดโรคนี (มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนย์, 2558)
โดยอาการของผู้ปวยโรคซึมเศร้าสามารถแบ่งได้ ดังนี
1) อาการด้านอารมณ์ (Mood Symptoms) ได้แก่ ความรู้สึกว่างเปล่าไร้ค่า เฉยชา
เสียตัวตน ท้อแท้ เบือหน่าย หงุดหงิด กังวล โกรธง่าย ไม่มีแรงบันดาลใจในการทํางาน
หรือทําอะไร
2) อาการด้านร่างกาย (Somatic Symptoms) ได้แก่ หมดเรียวแรง นอนไม่หลับ
หรือตืนกลางดึกหลายครังหรือนอนมากเกินไป มีอาการอ่อนล้า
3) อาการด้านการเคลือนไหวเนืองมาจากสภาพจิตใจไม่ปกติ (Psychomotor
Symptoms) ได้แก่ พูดน้อย ซึม เคลือนไหวช้าหรืออยู่ไม่นิง กระวนกระวาย
กระสับกระส่าย เริมเก็บตัว ไม่อยากทําอะไร
4) อาการด้านความคิด (Cognitive Symptoms) ได้แก่ มองโลกในแง่ร้าย รู้สึก
ตําหนิตัวเองหรือมีความรู้สึกว่าไม่เปนทีต้องการ ไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ทุกข์ใจตลอด
เวลา เริมทําร้ายตัวเอง ทําลายข้าวของ
5) อาการด้านสัมพันธภาพ (Interpersonal Symptoms) ได้แก่ มีปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้อืนน้อยลง เริมปลีกตัวไม่ยุ่งกับผู้อืน ต้องการให้ผู้อืนรับรู้ถึงความกลัดกลุ้ม
ความเจ็บปวดทีอยู่ในใจ (อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และพีรพรธ์ ลือบุญธวัชชัย, 2553)
6
การเปลียนแปลง
ในผู้ทีเปนโรคซึมเศร้า
1. อารมณ์เปลียนแปลงไป ทีพบบ่อยคือจะกลายเปนคนเศร้าสร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย เรืองเล็ก ๆ
น้อย ๆ ก็ดูเหมือนจะอ่อนไหวไปหมด บางคนอาจไม่มีอารมณ์เศร้าชัดเจนแต่จะบอกว่าจิตใจหม่นหมอง ไม่แจ่มใส
ไม่สดชืนเหมือนเดิม บางคนอาจมีความรู้สึกเบือหน่ายไปหมดทุกสิงทุกอย่าง สิงทีเดิมตนเคยทําแล้วเพลินใจหรือ
สบายใจ เช่น ฟงเพลง พบปะเพือนฝูง เข้าวัด ก็ไม่อยากทําหรือทําแล้วก็ไม่ทําให้สบายใจขึน บ้างก็รู้สึกเบือไปหมด
ตังแต่ตืนเช้ามา บางคนอาจมีอารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย อะไรก็ดูขวางหูขวางตาไปหมด กลายเปนคนอารมณ์ร้าย
ไม่ใจเย็นเหมือนก่อน
2. ความคิดเปลียนไป มองอะไรก็รู้สึกว่าแย่ไปหมด มองชีวิตทีผ่านมาในอดีตก็เห็นแต่ความผิดพลาดความล้มเหลว
ของตนเอง ชีวิตตอนนีก็รู้สึกว่าอะไรๆ ก็ดูแย่ไปหมด ไม่มีใครช่วยอะไรได้ ไม่เห็นทางออก มองอนาคตไม่เห็น รู้สึก
ท้อแท้หมดหวังกับชีวิต บางคนกลายเปนคนไม่มันใจตนเองไป จะตัดสินใจอะไรก็ลังเลไปหมด รู้สึกว่าตนเองไร้
ความสามารถ ไร้คุณค่า เปนภาระแก่คนอืน ทัง ๆ ทีญาติหรือเพือนๆ ก็ยืนยันว่ายินดีช่วยเหลือ เขาไม่เปนภาระอะไร
แต่ก็ยังคงคิดเช่นนันอยู่ ความรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า ความคับข้องใจ ทรมานจิตใจ เหล่านีอาจทําให้เจ้าตัวคิดถึงเรือง
การตายอยู่บ่อย ๆ แรก ๆ ก็อาจคิดเพียงแค่อยากไปให้พ้น ๆ จากสภาพตอนนี ต่อมาเริมคิดอยากตายแต่ก็ไม่ได้
คิดถึงแผนการณ์อะไรทีแน่นอน เมืออารมณ์เศร้าหรือความรู้สึกหมดหวังมีมากขึน ก็จะเริมคิดเปนเรืองเปนราวว่า
จะทําอย่างไร ในช่วงนีหากมีเหตุการณ์มากระทบกระเทือนจิตใจก็อาจเกิดการทําร้ายตนเองขึนได้จากอารมณ์ชัววูบ
3. สมาธิความจําแย่ลง จะหลงลืมง่าย โดยเฉพาะกับเรืองใหม่ ๆ วางของไว้ทีไหนก็นึกไม่ออก ญาติเพิงพูดด้วย
เมือเช้าก็นึกไม่ออกว่าเขาสังว่าอะไร จิตใจเหม่อลอยบ่อย ทําอะไรไม่ได้นานเนืองจากสมาธิไม่มี ดูโทรทัศน์นาน ๆ จะ
ไม่รู้เรือง อ่านหนังสือก็ได้ไม่ถึงหน้า ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง ทํางานผิด ๆ ถูก ๆ
4. มีอาการทางร่างกายต่าง ๆ ร่วม ทีพบบ่อยคือจะรู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีเรียวแรง ซึงเมือพบร่วมกับอารมณ์รู้สึก
เบือหน่ายไม่อยากทําอะไร ก็จะทําให้คนอืนดูว่าเปนคนขีเกียจ ปญหาด้านการนอนก็พบบ่อยเช่นกัน มักจะหลับยาก
นอนไม่เต็มอิม หลับ ๆตืนๆ บางคนตืนแต่เช้ามืดแล้วนอนต่อไม่ได้ ส่วนใหญ่จะรู้สึกเบืออาหาร ไม่เจริญอาหารเหมือน
เดิม นําหนักลดลงมาก บางคนลดลงหลายกิโลกรัมภายใน 1 เดือน นอกจากนียังอาจมีอาการท้องผูก อืดแน่นท้อง
ปากคอแห้ง บางคนอาจมีอาการปวดหัว ปวดเมือยตามตัว
5. ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างเปลียนไป ดังกล่าวบ้างแล้วข้างต้น ผู้ทีเปนโรคนีมักจะดูซึมลง ไม่ร่าเริง แจ่มใส
เหมือนก่อน จะเก็บตัวมากขึน ไม่ค่อยพูดจากับใคร บางคนอาจกลายเปนคนใจน้อย อ่อนไหวง่าย ซึงคนรอบข้าง
ก็มักจะไม่เข้าใจว่าทําไมเขาถึงเปลียนไป บางคนอาจหงุดหงิดบ่อยกว่าเดิม แม่บ้านอาจทนทีลูก ๆ ซนไม่ได้ หรือ
มีปากเสียงระหว่างคู่ครองบ่อย ๆ
6. การงานแย่ลง ความรับผิดชอบต่อการงานก็ลดลง ถ้าเปนแม่บ้านงานบ้านก็ไม่ได้ทํา หรือทําลวก ๆ เพียงให้
ผ่าน ๆ ไป คนทีทํางานสํานักงานก็จะทํางานทีละเอียดไม่ได้เพราะสมาธิไม่มี ในช่วงแรก ๆ ผู้ทีเปนอาจจะพอฝนใจ
ตัวเองให้ทําได้ แต่พอเปนมาก ๆ ขึนก็จะหมดพลังทีจะต่อสู้ เริมลางานขาดงานบ่อย ๆ ซึงหากไม่มีผู้เข้าใจหรือ
ให้การช่วยเหลือก็มักจะถูกให้ออกจากงาน
7. อาการโรคจิต จะพบในรายทีเปนรุนแรงซึงนอกจากผู้ทีเปนจะมีอาการซึมเศร้ามากแล้ว จะยังพบว่ามีอาการของ
โรคจิตได้แก่ อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย ทีพบบ่อยคือ จะเชือว่ามีคนคอยกลันแกล้ง หรือประสงค์ร้าย
ต่อตนเอง อาจมีหูแว่วเสียงคนมาพูดคุยด้วย อย่างไรก็ตามอาการเหล่านีมักจะเปนเพียงชัวคราวเท่านัน เมือได้รับ
การรักษา อารมณ์เศร้าดีขึน อาการโรคจิตก็มักทุเลาตาม
ทีมา : https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017 7
จะรู้ได้อย่างไรว่า
เปนโรคนีหรือเปล่า
บางคนทีอ่านถึงตอนนีอาจรู้สึกว่าตนเองก็มีอะไรหลาย ๆ อย่างเข้ากันได้กับ
โรคซึมเศร้าทีว่า แต่ก็มีหลาย ๆ อย่างทีไม่เหมือนทีเดียวนัก ทําให้อาจสงสัยว่า
จะรู้ได้อย่างไรว่าตนเองเปนหรือเปล่า
อาการซึมเศร้านันมีด้วยกันหลายระดับตังแต่น้อย ๆ ทีเกิดขึนได้ในชีวิตประจําวัน
ไปจนเริมมีผลกระทบต่อการดํารงชีวิตประจําวัน และบางคนอาจเปนถึงระดับของ
โรคซึมเศร้า อาการทีพบร่วมอาจเริมตังแต่รู้สึกเบือหน่าย ไปจนพบอาการต่าง ๆ
มากมาย ดังได้กล่าวในบทต้น ๆ
แบบสอบถามภาวะอารมณ์เศร้า (Patient Health Questionnaire; PHQ9)
เปนแบบสอบถามทีใช้เพือช่วยในการประเมินว่าผู้ตอบมีมีภาวะซึมเศร้าหรือไม่
รุนแรงมากน้อยเพียงใด เปนมากจนถึงระดับทีไม่ควรจะปล่อยทิงไว้หรือไม่
แบบสอบถามนีไม่ได้บอกว่าเปนโรคอะไร เพียงแต่ช่วยบอกว่าภาวะซึมเศร้า
ทีมีอยู่ในระดับไหนเท่านัน ในการวินิจฉัยว่าเปนโรคซึมเศร้าหรือไม่นัน
ผู้ทีมีอารมณ์ซึมเศร้ายังต้องมีอาการทีเข้าตามเกณฑ์การวินิจฉัยด้านล่าง
ข้อดีอย่างหนึงของแบบสอบถามนีคือสามารถใช้ช่วยในการประเมินระดับ
ความรุนแรงของอาการได้ ว่าแต่ละขณะเปนอย่างไร อาการดีขึนหรือเลวลง
การรักษาได้ผลหรือไม่ ผู้ปวยอาจทําและจดบันทึกไว้ทุก 1-2 สัปดาห์ โดยถ้า
การรักษาได้ผลดีก็จะมีการเปลียนแปลงในทางทีดีขึนโดยมีค่าคะแนนลดลง
ตามลําดับ
ทีมา : https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017
8
9
มีอาการดังต่อไปนี 5 อาการหรือมากกว่า
1. มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทังวัน (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเปนอารมณ์หงุดหงิดก็ได้)
2. ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่าง ๆ แทบทังหมดลดลงอย่างมากแทบทังวัน
3. นําหนักลดลงหรือเพิมขึนมาก (นําหนักเปลียนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน)
หรือมีการเบืออาหารหรือเจริญอาหารมาก
4. นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป
5. กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชืองช้าลง
6. อ่อนเพลีย ไร้เรียวแรง
7. รู้สึกตนเองไร้ค่า
8. สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด
9. คิดเรืองการตาย คิดอยากตาย
* ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ
* ต้องมีอาการเปนอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึนไป และต้องมีอาการเหล่านีอยู่เกือบตลอดเวลา
แทบทุกวัน ไม่ใช่เปน ๆ หาย ๆ เปนเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเปนใหม่
เกณฑ์การวินิจฉัย
10
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับคุณหมอนุ่น
แพทย์หญิง ดุจฤดี อภิวงศ์
พูดคุยโลกซึมเศร้า
กับคุณหมอนุ่น
แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์
ไม่ต้องรอให้ถึงเจ็บปวยทางกาย
เพียงรู้สึกว่าตัวเองผิดปกติ ซึม ไม่มีพลังชีวิตก็สามารถเข้าพบ
จิตแพทย์ได้ วันนีทางโครงการ Art of Living 101 รวบรวบคําถาม
ไขข้อข้องใจในการเข้าพบกับจิตแพทย์ จะต้องไปเข้าพบเมือไหร่
มีอาการอย่างไร รักษาอย่างไรบ้าง คลิปนีมีคําตอบ โดย
ได้รับเกียรติจากทาง คุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจดี อภิวงศ์
“เราจะใช้การพูดคุย ถาม ซักประวัติต่าง ๆ อาการเจ็บปวย ระยะเวลาที
เปนมา ถามถึงประสบการณ์เบืองหลังชีวิตวัยเด็ก วัยรุ่นทีเขาเผชิญมา
ทีเขาอยากจะเล่าทีมันน่าจะเกียวกับความุกข์ของเขาว่ามีทีมาอย่างไร
หลังจากนันจึงวินิจฉัยว่าปวยไม่ปวย ปวยเปนอะไร รุนแรงแค่ไหน
ต้องบําบัดด้วยวิธีการอะไรบ้าง”
“ส่วนใหญ่คนทีกลัวจะกลัวว่าติดยา สองคือ กลัวว่าจะมีผลกับตับ กับไต
กับสมองไหม ก็อยากจะบอกว่าไม่ติด ถ้าอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
ถ้าคุณทานตามทีจิตแพทย์บอก หยุดในเวลาทีจิตแพทย์บอกว่าควรจะ
หยุด หรือทานต่อให้ครบ ในเวลาทีจิตแพทย์คิดว่าเหมาะสมกับเคสนัน ๆ
ซึงจะแตกต่างกันในแต่ละเคสแต่ละคน”
12
พูดคุยโลกซึมเศร้ากับคุณหมอนุ่น
แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/Vu5Vn8PWHak
13
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับพีเอก
นักจิตวิทยาการปรึกษา
พูดคุยโลกซึมเศร้า
กับ พีเอก นักจิตวิทยาการปรึกษา
หลายคนย่อมรู้จักกับนักจิตวิทยาเปนอย่างดีในฐานะทีทําอาชีพ
ในการดูแลจิตใจผู้คน แต่เราก็ไม่แน่ใจว่าเราสามารถไปพบนักจิตวิทยา
ได้ในบริบทไหนบ้าง วันนีเรามีคําตอบทีนี โดยได้รับเกียรติจาก พีเอก
สมภพ แจ่มจันทร์ นักจิตวิทยาการปรึกษาแห่งเพจ Knowing Mind -
ศูนย์บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาและส่งเสริมสุขภาวะ
“ด้วยกระบวนการหลัก ๆ คือช่วยมาคุยด้วยให้รู้จักตัวเองมากขึน
และการรู้จักตัวเองนันก็นํามาสู่อะไรทีหลากหลายมาก ปญหา
หลาย ๆ อย่างเกิดมาพืนฐานของความไม่เข้าใจ ไม่เข้าใจว่า
จริง ๆ แล้วเราต้องการอะไรกันแน่ ไม่เข้าใจว่าลึก ๆ เรา
รู้สึกอะไรกันแน่ ไม่เข้าใจว่าลึก ๆ เราอยากได้อะไรกันแน่
พอไม่เข้าใจปุปเราก็ใช้ชีวิตไปในทางทีขัดแย้งกับสิงทีเราต้องการ
ดังพืนทีนีเปนพืนทีในการสํารวจเพือเข้าใจตัวเองมากขึน”
เพียงรู้สึกว่ากังล ไม่สบายใจก็สามารถเดินเข้ามาพูดคุยกับ
นักจิตวิทยาการปรึกษาได้แล้ว แชร์ได้เลย จะได้ดูแลตัวเอง
และคนรอบตัวไปพร้อมกัน ^ ^
15
พูดคุยโลกซึมเศร้า
กับ พีเอก นักจิตวิทยาการปรึกษา
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/0rafGeLQfU4
16
พูดคุย
โลกซึมเศร้า
กับพีซัง
นักศิลปะบําบัด
แนวมนุษยปรัชญา
พูดคุยโลกซึมเศร้า
กับ พีซัง นักศิลปะบําบัด
แนวมนุษยปรัชญา
ในบางครังทีเราเกิดสภาวะอารมณ์ต่าง ๆ ในจิตใจ
ศิลปะก็เปนทางเลือกหนึงทีจะสามารถเยียวยาจิตใจเราได้
ในวันนีเราพาทุกคนมาพบกับผู้เชียวชาญอีกหนึงท่าน
ทีจะมาร่วมพูดคุยถึงการดูแลจิตใจผ่าน
ศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา
“ปจจุบันจะเปนภาวะของการไม่สมดุลมากกว่า
เนืองมาจากรูปแบบการใช้ชีวิตยุคสมัยใหม่ทีค่อนข้างมีการขาด
การเชือมต่อกับธรรมชาติ เพราะจริง ๆ แล้วในแนวมนุษยปรัชญา
มองมนุษย์เปน 3 ส่วนด้วยกัน คือ ร่างกาย ดวงจิต และ
จิตวิญญาณ เพราะฉะนันภาวะของโรคต่าง ๆ เปน
ภาวะของการไม่สมดุลของขัวทีแตกต่างกัน ”
โดยได้รับเกียรติจาก พีซัง ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล
นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา แห่งเพจ
Triklang Art Therapy Group
18
พูดคุยโลกซึมเศร้า กับ พีซัง
นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/s-re7aNuuqc
19
โลกซึมเศร้า
เศร้าได้ไหม?
โลกซึมเศร้า
เศร้าได้ไหม?
คุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์
คุณเอก สมภพ แจ่มจันทร์ นักจิตวิทยาการปรึกษา
คุณซัง ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา
แห่งเพจ Triklang Art Therapy Group
“เราสามารถเศร้าได้ไหม?”
“ร้องไห้หมายความว่าอ่อนแอจริง ๆ หรือ ? ”
“คนเราต้องเข้มแข็งตลอดเวลาไหม ?”
วันนีทางโครงการ Art of Living 101 : ศิลปะการอยู่กับตัวเอง มาชวนทุกคน
ร่วมหาคําตอบในซีรีย์ “โลกซึมเศร้า” และร่วมเรียนรู้จากคลิปนีไปพร้อม ๆ กัน
“เศร้าได้ เศร้าได้ค่ะ หมอก็เศร้า คือมันมีความผิดหวัง
มีความทุกข์อะไร ก็เศร้าได้ ร้องไห้ได้เปนอารมณ์
ของมนุษย์ปกติค่ะ”
“แน่นอนค่ะ ต้องทังเศร้า เบิกบาน ดีใจ ทุกอารมณ์ต้องครบเลยแต่
ในขณะเดียวกัน ทุกครังทีมีอารมณ์นันเราตระหนักรู้ว่าเราเกิดอารมณ์นันอยู่
เราอาจจะปล่อยให้มันเศร้า พอถึงจุด ๆ หนึง ก็คือสามารถทีจะควบคุมมันได้”
ร่วมพูดคุยโดย
แห่งเพจ Knowing Mind – ศูนย์บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
และส่งเสริมสุขภาวะ
21
คุยกับผู้เชียวชาญ
ประเด็นโ(ล)กซึมเศร้า
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/zEj7Sgjfa14
22
เพือนร่วมทาง...
หวาย
ปญญ์ธิษา
EP.1
โลกซึมเศร้าและการยอมรับตัวเอง
ของ หวาย ปญญ์ธิษา
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/8DKyO2a77hQ
24
EP.2
โลกซึมเศร้าและการดูแลตัวเอง
ของ หวาย ปญญ์ธิษา
สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้
https://youtu.be/AfDXdbNOYvk
25
กองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์
จัดทําโดย
A new you is coming!
โครงการ Art of Living 101 : ศิลปะการอยู่กับตัวเอง
ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า
สนับสนุนโดย
โอบกอดความเศร้าในหัวใจ
ในวันทีเราต่างไม่ได้โดดเดียวอยู่เพียงลําพัง
มาร่วมเรียนรู้การรับมือกับภาวะซึมเศร้า
ผ่านการทําความเข้าใจตัวเอง
และแนวทางการดูแลปองกัน
เพือสร้างสมดุลทางอารมณ์

More Related Content

Similar to A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า

สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายWataustin Austin
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองPakornkrits
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
ความเครียด
ความเครียดความเครียด
ความเครียดhrd2doae
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)009kkk
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxInfluencer TH
 

Similar to A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า (20)

สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
ความเครียด
ความเครียดความเครียด
ความเครียด
 
Sleep for life 2
Sleep for life 2Sleep for life 2
Sleep for life 2
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
A new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game DetoxA new you is coming! ตอน Game Detox
A new you is coming! ตอน Game Detox
 

More from Influencer TH

Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยDigital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยInfluencer TH
 
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE WorkshopInfluencer TH
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteInfluencer TH
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMInfluencer TH
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineInfluencer TH
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundInfluencer TH
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning WorkshopInfluencer TH
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteInfluencer TH
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนInfluencer TH
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceInfluencer TH
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nInfluencer TH
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?Influencer TH
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Influencer TH
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsInfluencer TH
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Influencer TH
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนInfluencer TH
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIInfluencer TH
 
Safe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopSafe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopInfluencer TH
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตInfluencer TH
 
โมเดลธุรกิจ Business Model Canvas
โมเดลธุรกิจ Business Model Canvasโมเดลธุรกิจ Business Model Canvas
โมเดลธุรกิจ Business Model CanvasInfluencer TH
 

More from Influencer TH (20)

Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยDigital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
Digital Resilience Workshop วิธีอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
 
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshopโลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
โลกนี้มีกี่เพศ ? เรียนรู้ความหลากหลายทางเพศ LGBTQIAN+ กัน PRIDE Workshop
 
HROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual NoteHROD Turnaround Visual Note
HROD Turnaround Visual Note
 
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILMSTORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
STORYBOARD TBC PRIDE SHORT FILM
 
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity GuidelineHROD Turnaround Corporate Identity Guideline
HROD Turnaround Corporate Identity Guideline
 
Color Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD TurnaroundColor Palettes HROD Turnaround
Color Palettes HROD Turnaround
 
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshopอบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
อบรมออนไลน์ Creative Active Learning Workshop
 
Creative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual NoteCreative Active Learning Workshop Visual Note
Creative Active Learning Workshop Visual Note
 
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนพัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
พัฒนาเยาวชนให้พร้อมแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
 
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life BalanceA new you is coming! ตอน Social Life Balance
A new you is coming! ตอน Social Life Balance
 
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4nCreating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
Creating Global Citizens - Saint Gabriel’s College Bangkok - in4n
 
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?งานอาสาสมัครคืออะไร ?
งานอาสาสมัครคืออะไร ?
 
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
Youth Entrepreneur for Trade and Development (Agro)
 
Pathum Youth against Drugs
Pathum Youth against DrugsPathum Youth against Drugs
Pathum Youth against Drugs
 
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
Designing Business Classroom by Business Model Canvas (BMC)
 
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชนVisual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
Visual Note สรุปหลักสูตรการเสริมสร้างผู้ประกอบการเยาวชน
 
Youth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CIYouth Camp UNICEF CI
Youth Camp UNICEF CI
 
Safe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid WorkshopSafe Internet for Kid Workshop
Safe Internet for Kid Workshop
 
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ตชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
ชุดกิจกรรม Digital Resilience สร้างเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันบนโลกอินเทอร์เน็ต
 
โมเดลธุรกิจ Business Model Canvas
โมเดลธุรกิจ Business Model Canvasโมเดลธุรกิจ Business Model Canvas
โมเดลธุรกิจ Business Model Canvas
 

A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า

  • 1.
  • 2. สนับสนุนการสร้างสรรค์หลักสูตร กองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์ สร้างสรรค์หลักสูตร ณอัญญา สาวิกาชยะกูร ดร.ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์ เรียบเรียงเนือหา มนัสวี ศุระศรางค์ อนุสรณ์ หนองบัว ศิลปกรรม Art of Living 101 บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด Facebook Art of Living 101 Email hello@artofliving101.me Website www.artofliving101.me พิมพ์ครังแรก พ.ศ. 2564 การเรียนรู้ อยู่กับสภาวะซึมเศร้า A new you is coming! ตอน ภัทรพร กุลมาโนชวงศ์ ธเนศ ศิรินุมาศ ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล ภรปภัช พิศาลเตชะกุล จัดพิมพ์โดย บริษัท อินฟลูเอนเซอร์ จํากัด พิมพ์ที โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักงานหอสมุดแห่งชาติ A new you is coming! ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า.-- กรุงเทพฯ : อินฟลูเอนเซอร์, 2564. 27 หน้า. 1. ความซึมเศร้า. 2. โรคซึมเศร้า. I. มนัสวี ศุระศรางค์. II. ชือเรือง. 616.8527 ISBN 978-616-93714-1-0
  • 3. เรารู้ว่าการทีต้องอยู่คนเดียวกับภาวะซึมเศร้าทีแต่ละคนไม่สามารถจัดการได้ มันทรมานแค่ไหน หลากหลายความรู้สึกทีเข้ามาใจเราจนทําให้เกิดความขัดแย้ง ภายใน รวมถึงสิงเร้าภายนอกทีเข้ามากระตุ้นจนตัวเราไม่สามารถจัดการมันได้ E-book เล่มนีจะเปนตัวช่วยให้เราสามารถกลับมาดูแลตัวเองและเรียนรู้การอยู่กับ ภาวะซึมเศร้า ผ่านการค้นหาคุณค่าภายในของแต่ละคนด้วยเครืองมือทีออกแบบ ร่วมกับจิตแพทย์ นักจิตวิทยา และนักศิลปะบําบัด ผ่านแนวคิดมนุษยปรัญชา และการใช้ศิลปะบําบัดความทุกข์ "แค่เปดใจเรียนรู้ กลับมาโอบกอดตัวเอง แล้วเราจะผ่านสภาวะนีไปด้วยกัน" E-book เล่มนีจัดทําภายใต้การสนับสนุนจากกองทุนสือปลอดภัยและสร้างสรรค์ การเรียนรู้ อยู่กับสภาวะซึมเศร้า A new you is coming! ตอน
  • 4. สารบัญ 5 พูดคุย โลกซึมเศร้า โลกซึมเศร้า เศร้าได้ไหม ? เพือนร่วมทาง... หวาย ปญญ์ธิษา พูดคุย โลกซึมเศร้า กับพีซัง นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา 14 17 พูดคุย โลกซึมเศร้า กับคุณหมอนุ่น แพทย์หญิง ดุจฤดี อภิวงศ์ พูดคุย โลกซึมเศร้า กับพีเอก นักจิตวิทยาการปรึกษา 11 23 20
  • 6. โรคซึมเศร้า คืออะไร ปจจัยทางชีวภาพ (อาทิ พันธุกรรม ระบบการทํางานของต่อมไร้ท่อ ความผิดปกติ ของสารเคมีในสมอง เช่น Serotonin, Norepinephrine, Dopamine เปนต้น) ปจจัยทางสังคม (อาทิ ความกดดันจากสภาพแวดล้อมรอบตัวบุคลิกภาพหรือนิสัย) ปจจัยทางจิตใจ (อาทิ ประสบการณ์ในอดีต ปญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวหรือ คนใกล้ชิด) โรคซึมเศร้า (Depression) ต่างจากภาวะซึมเศร้าหรือความรู้สึกทุกข์ (Sadness) เนืองจากโรคซึมเศร้าเปนอาการปวยทางจิตประเภทหนึงอยู่ในกลุ่มโรคความผิดปกติ ทางอารมณ์ไม่เหมือนความเศร้าทีความทุกข์สามารถคลายไปเองได้ การเกิดของโรคซึมเศร้ามีหลากหลายปจจัยเปนส่วนประกอบ ได้แก่ ทีทําให้เกิดโรคนี (มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนย์, 2558) โดยอาการของผู้ปวยโรคซึมเศร้าสามารถแบ่งได้ ดังนี 1) อาการด้านอารมณ์ (Mood Symptoms) ได้แก่ ความรู้สึกว่างเปล่าไร้ค่า เฉยชา เสียตัวตน ท้อแท้ เบือหน่าย หงุดหงิด กังวล โกรธง่าย ไม่มีแรงบันดาลใจในการทํางาน หรือทําอะไร 2) อาการด้านร่างกาย (Somatic Symptoms) ได้แก่ หมดเรียวแรง นอนไม่หลับ หรือตืนกลางดึกหลายครังหรือนอนมากเกินไป มีอาการอ่อนล้า 3) อาการด้านการเคลือนไหวเนืองมาจากสภาพจิตใจไม่ปกติ (Psychomotor Symptoms) ได้แก่ พูดน้อย ซึม เคลือนไหวช้าหรืออยู่ไม่นิง กระวนกระวาย กระสับกระส่าย เริมเก็บตัว ไม่อยากทําอะไร 4) อาการด้านความคิด (Cognitive Symptoms) ได้แก่ มองโลกในแง่ร้าย รู้สึก ตําหนิตัวเองหรือมีความรู้สึกว่าไม่เปนทีต้องการ ไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ทุกข์ใจตลอด เวลา เริมทําร้ายตัวเอง ทําลายข้าวของ 5) อาการด้านสัมพันธภาพ (Interpersonal Symptoms) ได้แก่ มีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อืนน้อยลง เริมปลีกตัวไม่ยุ่งกับผู้อืน ต้องการให้ผู้อืนรับรู้ถึงความกลัดกลุ้ม ความเจ็บปวดทีอยู่ในใจ (อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และพีรพรธ์ ลือบุญธวัชชัย, 2553) 6
  • 7. การเปลียนแปลง ในผู้ทีเปนโรคซึมเศร้า 1. อารมณ์เปลียนแปลงไป ทีพบบ่อยคือจะกลายเปนคนเศร้าสร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย เรืองเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ดูเหมือนจะอ่อนไหวไปหมด บางคนอาจไม่มีอารมณ์เศร้าชัดเจนแต่จะบอกว่าจิตใจหม่นหมอง ไม่แจ่มใส ไม่สดชืนเหมือนเดิม บางคนอาจมีความรู้สึกเบือหน่ายไปหมดทุกสิงทุกอย่าง สิงทีเดิมตนเคยทําแล้วเพลินใจหรือ สบายใจ เช่น ฟงเพลง พบปะเพือนฝูง เข้าวัด ก็ไม่อยากทําหรือทําแล้วก็ไม่ทําให้สบายใจขึน บ้างก็รู้สึกเบือไปหมด ตังแต่ตืนเช้ามา บางคนอาจมีอารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย อะไรก็ดูขวางหูขวางตาไปหมด กลายเปนคนอารมณ์ร้าย ไม่ใจเย็นเหมือนก่อน 2. ความคิดเปลียนไป มองอะไรก็รู้สึกว่าแย่ไปหมด มองชีวิตทีผ่านมาในอดีตก็เห็นแต่ความผิดพลาดความล้มเหลว ของตนเอง ชีวิตตอนนีก็รู้สึกว่าอะไรๆ ก็ดูแย่ไปหมด ไม่มีใครช่วยอะไรได้ ไม่เห็นทางออก มองอนาคตไม่เห็น รู้สึก ท้อแท้หมดหวังกับชีวิต บางคนกลายเปนคนไม่มันใจตนเองไป จะตัดสินใจอะไรก็ลังเลไปหมด รู้สึกว่าตนเองไร้ ความสามารถ ไร้คุณค่า เปนภาระแก่คนอืน ทัง ๆ ทีญาติหรือเพือนๆ ก็ยืนยันว่ายินดีช่วยเหลือ เขาไม่เปนภาระอะไร แต่ก็ยังคงคิดเช่นนันอยู่ ความรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า ความคับข้องใจ ทรมานจิตใจ เหล่านีอาจทําให้เจ้าตัวคิดถึงเรือง การตายอยู่บ่อย ๆ แรก ๆ ก็อาจคิดเพียงแค่อยากไปให้พ้น ๆ จากสภาพตอนนี ต่อมาเริมคิดอยากตายแต่ก็ไม่ได้ คิดถึงแผนการณ์อะไรทีแน่นอน เมืออารมณ์เศร้าหรือความรู้สึกหมดหวังมีมากขึน ก็จะเริมคิดเปนเรืองเปนราวว่า จะทําอย่างไร ในช่วงนีหากมีเหตุการณ์มากระทบกระเทือนจิตใจก็อาจเกิดการทําร้ายตนเองขึนได้จากอารมณ์ชัววูบ 3. สมาธิความจําแย่ลง จะหลงลืมง่าย โดยเฉพาะกับเรืองใหม่ ๆ วางของไว้ทีไหนก็นึกไม่ออก ญาติเพิงพูดด้วย เมือเช้าก็นึกไม่ออกว่าเขาสังว่าอะไร จิตใจเหม่อลอยบ่อย ทําอะไรไม่ได้นานเนืองจากสมาธิไม่มี ดูโทรทัศน์นาน ๆ จะ ไม่รู้เรือง อ่านหนังสือก็ได้ไม่ถึงหน้า ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง ทํางานผิด ๆ ถูก ๆ 4. มีอาการทางร่างกายต่าง ๆ ร่วม ทีพบบ่อยคือจะรู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีเรียวแรง ซึงเมือพบร่วมกับอารมณ์รู้สึก เบือหน่ายไม่อยากทําอะไร ก็จะทําให้คนอืนดูว่าเปนคนขีเกียจ ปญหาด้านการนอนก็พบบ่อยเช่นกัน มักจะหลับยาก นอนไม่เต็มอิม หลับ ๆตืนๆ บางคนตืนแต่เช้ามืดแล้วนอนต่อไม่ได้ ส่วนใหญ่จะรู้สึกเบืออาหาร ไม่เจริญอาหารเหมือน เดิม นําหนักลดลงมาก บางคนลดลงหลายกิโลกรัมภายใน 1 เดือน นอกจากนียังอาจมีอาการท้องผูก อืดแน่นท้อง ปากคอแห้ง บางคนอาจมีอาการปวดหัว ปวดเมือยตามตัว 5. ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างเปลียนไป ดังกล่าวบ้างแล้วข้างต้น ผู้ทีเปนโรคนีมักจะดูซึมลง ไม่ร่าเริง แจ่มใส เหมือนก่อน จะเก็บตัวมากขึน ไม่ค่อยพูดจากับใคร บางคนอาจกลายเปนคนใจน้อย อ่อนไหวง่าย ซึงคนรอบข้าง ก็มักจะไม่เข้าใจว่าทําไมเขาถึงเปลียนไป บางคนอาจหงุดหงิดบ่อยกว่าเดิม แม่บ้านอาจทนทีลูก ๆ ซนไม่ได้ หรือ มีปากเสียงระหว่างคู่ครองบ่อย ๆ 6. การงานแย่ลง ความรับผิดชอบต่อการงานก็ลดลง ถ้าเปนแม่บ้านงานบ้านก็ไม่ได้ทํา หรือทําลวก ๆ เพียงให้ ผ่าน ๆ ไป คนทีทํางานสํานักงานก็จะทํางานทีละเอียดไม่ได้เพราะสมาธิไม่มี ในช่วงแรก ๆ ผู้ทีเปนอาจจะพอฝนใจ ตัวเองให้ทําได้ แต่พอเปนมาก ๆ ขึนก็จะหมดพลังทีจะต่อสู้ เริมลางานขาดงานบ่อย ๆ ซึงหากไม่มีผู้เข้าใจหรือ ให้การช่วยเหลือก็มักจะถูกให้ออกจากงาน 7. อาการโรคจิต จะพบในรายทีเปนรุนแรงซึงนอกจากผู้ทีเปนจะมีอาการซึมเศร้ามากแล้ว จะยังพบว่ามีอาการของ โรคจิตได้แก่ อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย ทีพบบ่อยคือ จะเชือว่ามีคนคอยกลันแกล้ง หรือประสงค์ร้าย ต่อตนเอง อาจมีหูแว่วเสียงคนมาพูดคุยด้วย อย่างไรก็ตามอาการเหล่านีมักจะเปนเพียงชัวคราวเท่านัน เมือได้รับ การรักษา อารมณ์เศร้าดีขึน อาการโรคจิตก็มักทุเลาตาม ทีมา : https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017 7
  • 8. จะรู้ได้อย่างไรว่า เปนโรคนีหรือเปล่า บางคนทีอ่านถึงตอนนีอาจรู้สึกว่าตนเองก็มีอะไรหลาย ๆ อย่างเข้ากันได้กับ โรคซึมเศร้าทีว่า แต่ก็มีหลาย ๆ อย่างทีไม่เหมือนทีเดียวนัก ทําให้อาจสงสัยว่า จะรู้ได้อย่างไรว่าตนเองเปนหรือเปล่า อาการซึมเศร้านันมีด้วยกันหลายระดับตังแต่น้อย ๆ ทีเกิดขึนได้ในชีวิตประจําวัน ไปจนเริมมีผลกระทบต่อการดํารงชีวิตประจําวัน และบางคนอาจเปนถึงระดับของ โรคซึมเศร้า อาการทีพบร่วมอาจเริมตังแต่รู้สึกเบือหน่าย ไปจนพบอาการต่าง ๆ มากมาย ดังได้กล่าวในบทต้น ๆ แบบสอบถามภาวะอารมณ์เศร้า (Patient Health Questionnaire; PHQ9) เปนแบบสอบถามทีใช้เพือช่วยในการประเมินว่าผู้ตอบมีมีภาวะซึมเศร้าหรือไม่ รุนแรงมากน้อยเพียงใด เปนมากจนถึงระดับทีไม่ควรจะปล่อยทิงไว้หรือไม่ แบบสอบถามนีไม่ได้บอกว่าเปนโรคอะไร เพียงแต่ช่วยบอกว่าภาวะซึมเศร้า ทีมีอยู่ในระดับไหนเท่านัน ในการวินิจฉัยว่าเปนโรคซึมเศร้าหรือไม่นัน ผู้ทีมีอารมณ์ซึมเศร้ายังต้องมีอาการทีเข้าตามเกณฑ์การวินิจฉัยด้านล่าง ข้อดีอย่างหนึงของแบบสอบถามนีคือสามารถใช้ช่วยในการประเมินระดับ ความรุนแรงของอาการได้ ว่าแต่ละขณะเปนอย่างไร อาการดีขึนหรือเลวลง การรักษาได้ผลหรือไม่ ผู้ปวยอาจทําและจดบันทึกไว้ทุก 1-2 สัปดาห์ โดยถ้า การรักษาได้ผลดีก็จะมีการเปลียนแปลงในทางทีดีขึนโดยมีค่าคะแนนลดลง ตามลําดับ ทีมา : https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017 8
  • 9. 9
  • 10. มีอาการดังต่อไปนี 5 อาการหรือมากกว่า 1. มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทังวัน (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเปนอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) 2. ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่าง ๆ แทบทังหมดลดลงอย่างมากแทบทังวัน 3. นําหนักลดลงหรือเพิมขึนมาก (นําหนักเปลียนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบืออาหารหรือเจริญอาหารมาก 4. นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป 5. กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชืองช้าลง 6. อ่อนเพลีย ไร้เรียวแรง 7. รู้สึกตนเองไร้ค่า 8. สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด 9. คิดเรืองการตาย คิดอยากตาย * ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ * ต้องมีอาการเปนอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึนไป และต้องมีอาการเหล่านีอยู่เกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไม่ใช่เปน ๆ หาย ๆ เปนเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเปนใหม่ เกณฑ์การวินิจฉัย 10
  • 12. พูดคุยโลกซึมเศร้า กับคุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์ ไม่ต้องรอให้ถึงเจ็บปวยทางกาย เพียงรู้สึกว่าตัวเองผิดปกติ ซึม ไม่มีพลังชีวิตก็สามารถเข้าพบ จิตแพทย์ได้ วันนีทางโครงการ Art of Living 101 รวบรวบคําถาม ไขข้อข้องใจในการเข้าพบกับจิตแพทย์ จะต้องไปเข้าพบเมือไหร่ มีอาการอย่างไร รักษาอย่างไรบ้าง คลิปนีมีคําตอบ โดย ได้รับเกียรติจากทาง คุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจดี อภิวงศ์ “เราจะใช้การพูดคุย ถาม ซักประวัติต่าง ๆ อาการเจ็บปวย ระยะเวลาที เปนมา ถามถึงประสบการณ์เบืองหลังชีวิตวัยเด็ก วัยรุ่นทีเขาเผชิญมา ทีเขาอยากจะเล่าทีมันน่าจะเกียวกับความุกข์ของเขาว่ามีทีมาอย่างไร หลังจากนันจึงวินิจฉัยว่าปวยไม่ปวย ปวยเปนอะไร รุนแรงแค่ไหน ต้องบําบัดด้วยวิธีการอะไรบ้าง” “ส่วนใหญ่คนทีกลัวจะกลัวว่าติดยา สองคือ กลัวว่าจะมีผลกับตับ กับไต กับสมองไหม ก็อยากจะบอกว่าไม่ติด ถ้าอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ ถ้าคุณทานตามทีจิตแพทย์บอก หยุดในเวลาทีจิตแพทย์บอกว่าควรจะ หยุด หรือทานต่อให้ครบ ในเวลาทีจิตแพทย์คิดว่าเหมาะสมกับเคสนัน ๆ ซึงจะแตกต่างกันในแต่ละเคสแต่ละคน” 12
  • 13. พูดคุยโลกซึมเศร้ากับคุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์ สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/Vu5Vn8PWHak 13
  • 15. พูดคุยโลกซึมเศร้า กับ พีเอก นักจิตวิทยาการปรึกษา หลายคนย่อมรู้จักกับนักจิตวิทยาเปนอย่างดีในฐานะทีทําอาชีพ ในการดูแลจิตใจผู้คน แต่เราก็ไม่แน่ใจว่าเราสามารถไปพบนักจิตวิทยา ได้ในบริบทไหนบ้าง วันนีเรามีคําตอบทีนี โดยได้รับเกียรติจาก พีเอก สมภพ แจ่มจันทร์ นักจิตวิทยาการปรึกษาแห่งเพจ Knowing Mind - ศูนย์บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาและส่งเสริมสุขภาวะ “ด้วยกระบวนการหลัก ๆ คือช่วยมาคุยด้วยให้รู้จักตัวเองมากขึน และการรู้จักตัวเองนันก็นํามาสู่อะไรทีหลากหลายมาก ปญหา หลาย ๆ อย่างเกิดมาพืนฐานของความไม่เข้าใจ ไม่เข้าใจว่า จริง ๆ แล้วเราต้องการอะไรกันแน่ ไม่เข้าใจว่าลึก ๆ เรา รู้สึกอะไรกันแน่ ไม่เข้าใจว่าลึก ๆ เราอยากได้อะไรกันแน่ พอไม่เข้าใจปุปเราก็ใช้ชีวิตไปในทางทีขัดแย้งกับสิงทีเราต้องการ ดังพืนทีนีเปนพืนทีในการสํารวจเพือเข้าใจตัวเองมากขึน” เพียงรู้สึกว่ากังล ไม่สบายใจก็สามารถเดินเข้ามาพูดคุยกับ นักจิตวิทยาการปรึกษาได้แล้ว แชร์ได้เลย จะได้ดูแลตัวเอง และคนรอบตัวไปพร้อมกัน ^ ^ 15
  • 16. พูดคุยโลกซึมเศร้า กับ พีเอก นักจิตวิทยาการปรึกษา สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/0rafGeLQfU4 16
  • 18. พูดคุยโลกซึมเศร้า กับ พีซัง นักศิลปะบําบัด แนวมนุษยปรัชญา ในบางครังทีเราเกิดสภาวะอารมณ์ต่าง ๆ ในจิตใจ ศิลปะก็เปนทางเลือกหนึงทีจะสามารถเยียวยาจิตใจเราได้ ในวันนีเราพาทุกคนมาพบกับผู้เชียวชาญอีกหนึงท่าน ทีจะมาร่วมพูดคุยถึงการดูแลจิตใจผ่าน ศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา “ปจจุบันจะเปนภาวะของการไม่สมดุลมากกว่า เนืองมาจากรูปแบบการใช้ชีวิตยุคสมัยใหม่ทีค่อนข้างมีการขาด การเชือมต่อกับธรรมชาติ เพราะจริง ๆ แล้วในแนวมนุษยปรัชญา มองมนุษย์เปน 3 ส่วนด้วยกัน คือ ร่างกาย ดวงจิต และ จิตวิญญาณ เพราะฉะนันภาวะของโรคต่าง ๆ เปน ภาวะของการไม่สมดุลของขัวทีแตกต่างกัน ” โดยได้รับเกียรติจาก พีซัง ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา แห่งเพจ Triklang Art Therapy Group 18
  • 19. พูดคุยโลกซึมเศร้า กับ พีซัง นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/s-re7aNuuqc 19
  • 21. โลกซึมเศร้า เศร้าได้ไหม? คุณหมอนุ่น แพทย์หญิงดุจฤดี อภิวงศ์ คุณเอก สมภพ แจ่มจันทร์ นักจิตวิทยาการปรึกษา คุณซัง ภญ.สพรังพร ชยานุภัทร์กุล นักศิลปะบําบัดแนวมนุษยปรัชญา แห่งเพจ Triklang Art Therapy Group “เราสามารถเศร้าได้ไหม?” “ร้องไห้หมายความว่าอ่อนแอจริง ๆ หรือ ? ” “คนเราต้องเข้มแข็งตลอดเวลาไหม ?” วันนีทางโครงการ Art of Living 101 : ศิลปะการอยู่กับตัวเอง มาชวนทุกคน ร่วมหาคําตอบในซีรีย์ “โลกซึมเศร้า” และร่วมเรียนรู้จากคลิปนีไปพร้อม ๆ กัน “เศร้าได้ เศร้าได้ค่ะ หมอก็เศร้า คือมันมีความผิดหวัง มีความทุกข์อะไร ก็เศร้าได้ ร้องไห้ได้เปนอารมณ์ ของมนุษย์ปกติค่ะ” “แน่นอนค่ะ ต้องทังเศร้า เบิกบาน ดีใจ ทุกอารมณ์ต้องครบเลยแต่ ในขณะเดียวกัน ทุกครังทีมีอารมณ์นันเราตระหนักรู้ว่าเราเกิดอารมณ์นันอยู่ เราอาจจะปล่อยให้มันเศร้า พอถึงจุด ๆ หนึง ก็คือสามารถทีจะควบคุมมันได้” ร่วมพูดคุยโดย แห่งเพจ Knowing Mind – ศูนย์บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยา และส่งเสริมสุขภาวะ 21
  • 22. คุยกับผู้เชียวชาญ ประเด็นโ(ล)กซึมเศร้า สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/zEj7Sgjfa14 22
  • 24. EP.1 โลกซึมเศร้าและการยอมรับตัวเอง ของ หวาย ปญญ์ธิษา สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/8DKyO2a77hQ 24
  • 25. EP.2 โลกซึมเศร้าและการดูแลตัวเอง ของ หวาย ปญญ์ธิษา สแกน QR code เพือรับชมวิดีโอการเรียนรู้ https://youtu.be/AfDXdbNOYvk 25
  • 26. กองทุนพัฒนาสือปลอดภัยและสร้างสรรค์ จัดทําโดย A new you is coming! โครงการ Art of Living 101 : ศิลปะการอยู่กับตัวเอง ตอน การเรียนรู้อยู่กับสภาวะซึมเศร้า สนับสนุนโดย