SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
1
การเรียนรู้แบบโครงงาน
เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบโดยมีขั้นตอนการเรียนการศึกษาค้นคว้า
การแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูล และการนาเสนอผลงานเพื่อให้นักเรียนมีความคิดรวบยอดและ
มีทักษะในการเรียนรู้ลักษณะของโครงงานจะรวมทั้งการวัดผลตามสภาพจริง
และการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ซึ่งโครงงานจะเป็นเรื่องที่นักเรียนมีประสบการณ์
มีความสนใจและสอดคล้องกับ
ชีวิตประจาวัน
สรุปได้ว่า โครงงานหมายถึง
กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกศึกษาสิ่งที่ตนเองให้ความสนใจ
โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ
โดยมีครูคอยให้คาแนะนาปรึกษา
2.ลักษณะของโครงงาน
จิราภรณ์ ศิริทวี (2542 : 34) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นโครงงานที่บูรณาการความรู้ ทักษะ คุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นพื้นฐานในการกาหนดข้อโครงงานและการปฏิบัติ
2.
โครงงานตามความสนสนใจเป็นโครงงานที่ผู้เรียนกาหนดขั้นตอนตามความถนัดความสนใจ
และความต้องการ โดยการนาเอาความรู้ ทักษะ คุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มากาหนดเป็นโครงงานและการปฏิบัติ
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2543 : 4)
เสนอแนวทางลักษณะสาคัญของโครงงานไว้ ดังนี้
1. เป็นเรื่องที่นักเรียนสนใจ สงสัย ต้องการหาคาตอบ
2. เป็นการเรียนรู้ที่มีกระบวนการมีระบบครบกระบวนการ
3. เป็นการบูรณาการการเรียนรู้
4. นักเรียนใช้ความสามารถหลายด้าน
5. มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง
6. มีการศึกษาอย่างลุ่มลึกด้วยวิธีการและแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
7. เป็นการแสวงหาความรู้และสรุปด้วยตนเอง
8.
มีการนาเสนอโครงงานด้วยวิธีการที่เหมาะสมในด้านกระบวนการและผลงานที่ค้นพบ
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2544 : 13) ได้แบ่งลักษณะโครงงานออกเป็น 2ลักษณะ
ดังนี้
2
1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนเลือกหัวข้อที่จะศึกษาจาก
หน่วยเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียนมากาหนดเป็นหัวข้อโครงงาน โดยบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ต่าง ๆ ไปค้นคว้าในสาระการเรียนรู้ที่สนใจและจะเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เช่น ผู้เรียนรู้เรื่องการ
ใช้คาราชาศัพท์ แล้วสนใจที่จะศึกษาคาราชาศัพท์จากเรื่อง “พระมหาชนก” แล้วลงมือปฎิบัติ
2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนสนใจศึกษาในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งเป็นพิเศษอาจเป็นเรื่องในชีวิตประจาวัน สภาพสังคม หรือประสบการณ์ที่ยังต้องการ
คาตอบข้อสรุปซึ่งอาจอยู่นอกเหนือจากสาระการเรียนรู้ในบทเรียนแต่ใช้ประสบการณ์จากการ
เรียนรู้ไปแสวงหาคาตอบในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ เช่น ผู้เรียนสนใจว่า “มดแดงทารังบนต้นไม้ชนิดใด
มากที่สุด” นักเรียนวางแผนการสารวจจนค้นหาคาตอบได้ด้วยตนเอง และสนใจจะศึกษาวิธีเลี้ยงมด
แดงบนต้นไม้ชนิดนั้นต่อไปก็ได้
จากลักษณะของโครงงาน สรุปได้ว่า โครงงานจะมี 2 ลักษณะ คือ
โครงงานที่จัดทาขึ้นจากเนื้อหาในบทเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
และโครงงานที่จัดทาขึ้นตามความสนใจซึ่งอาจเลือกมาจากสิ่งที่สังเกตและพบเห็นในชีวิตประจาวัน
3. ประเภทของโครงงาน
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2541 : 64) ได้จาแนกประเภท
ของโครงงาน ดังนี้
1. โครงงานประเภททดลอง
2. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
3. โครงงานประเภทสารวจ
4. โครงงานประเภททฤษฎีต่างๆ
โครงงานประเภททดลอง (Experimental Research Project) เป็นการศึกษาหา
คาตอบว่าตัวแปรต้นที่กาหนด มีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ อย่างไร โดยการควบคุมตัวแปรอื่นๆ
ที่อาจมีผลต่อตัวแปรต้น โครงงานประเภทนี้นักเรียนจะเริ่มตั้งแต่กาหนดคาถามที่ต้องการตอบ
ตั้งสมมติฐาน กาหนดแหล่งข้อมูลที่จะศึกษา ปฏิบัติการหาข้อมูลเพื่อตอบคาถาม รวบรวมข้อมูล
นามาสรุปเป็นองค์ความรู้ ขั้นตอนที่ปฏิบัติเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์
โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ (Developmental Research Project) โครงงาน
ประเภทนี้เป็นการนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหรือประดิษฐ์สิ่งหนึ่ง
สิ่งใด เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์เพื่อใช้สอยต่าง ๆเพื่อใช้งานหรือแก้ปัญหา
สิ่งประดิษฐ์อาจจะคิดค้นขึ้นใหม่หรือปรับปรุงจากของเดิมมีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษาและทดสอบประสิ
ทธิภาพของชิ้นงานด้วย
โครงงานประเภทสารวจ (Survey Research Project) เป็นการศึกษาและรวบรวม
ข้อมูล เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู่แล้วนาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
3
อย่างมีระบบ โครงงานประเภทนี้ไม่กาหนดตัวแปร การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจเป็นการสารวจ
ในภาคสนามหรือในธรรมชาติหรือนามาศึกษาในห้องปฏิบัติการ นอกจากนั้นการสารวจรวบรวม
ข้อมูลอาจบ่งชี้ที่มาของปัญหาเพื่อนาไปศึกษาทดลองต่อ
กรมวิชาการ (2544 : 29) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น 4 ประเภท คือ
1. โครงงานประเภทสารวจ (SurveyResearch Project) เป็นการศึกษาและ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู่แล้วนาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และนาเสนอรูปแบบ
ต่าง ๆอย่างมีระบบ
2. โครงงานประเภททดลอง (Experimental Research Project) เป็นการศึกษาหา
คาตอบ ตัวแปรต้นที่กาหนด มีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ อย่างไร โดยการควบคุมตัวแปรอย่างอื่น ๆ
ที่อาจมีผลต่อตัวแปรต้น
3. โครงงานประเภทพัฒนาและประดิษฐ์คิดค้น (Developmental Research
Project or Intention) เป็นการนาหลักการแนวคิด ทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา หรือประดิษฐ์
เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆหรืออธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
4. ประเภทการสร้างหรืออธิบายทฤษฎี (Theoretical Research Project) เป็น
การศึกษาค้นคว้า แนวคิด ทฤษฎีใหม่ๆ หรืออธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยมีหลักการทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตร์สนับสนุน
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 6-7) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น
4 ประเภทคือ
1. โครงงานประเภทการสารวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ ผู้ทา
โครงงานเพียงต้องการสารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่และ
นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน
ในการทาโครงงานประเภทสารวจข้อมูล ไม่จาเป็นจะต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้อง นักเรียนเพียงแต่
สารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่และนาเสนอ ก็ถือว่าเป็นการ
สารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว
2. โครงงานประเภททดลอง ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการ
จัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งมี4 ชนิด
2.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้น ๆ
2.2 ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากตัวแปรต้น
2.3 ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือน ๆ กัน มิฉะนั้น
จะมีผลทาให้เปลี่ยนไป
2.4 ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริง ๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่
4
บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการ
ตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป
3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นการนาเอาความรู้ที่มีอยู่มาประดิษฐ์ หรือ
สร้างสิ่งใหม่ ขึ้นมาซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากมาย ซึ่งจะรวมถึงการเขียนหนังสือ แต่งเพลง
สร้างบทละคร และอื่น ๆ ไว้ในโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย
4. โครงงานประเภททฤษฎี เป็นการใช้จินตนาการของตนเองมาอธิบาย
หลักการหรือแนวความคิดใหม่ ๆซึ่งอธิบายในรูปของสูตรหรือสมการ หรืออธิบายปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้น และไม่สามารถอธิบายด้วยหลักการเดิม ๆ
จากประเภทของโครงงาน สรุปได้ว่า โครงงานมี 4 ประเภท คือ โครงงานประเภทสารวจ
โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี
4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
ข้อดีในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
พันธ์ ทองชุมนุม (2544 : 261) กล่าวว่า
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยมุ่งให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาต่าง ๆ
ด้วยตัวนักเรียนเอง ซึ่งผลจาก
การจัดการเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทาให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้วิธีการทางานตั้งแต่การกาหนด
จุดประสงค์ของโครงงาน รู้จักวางแผนขั้นตอนการทางาน และทางานไปตามขั้นตอนที่วางไว้
รวมทั้งการประเมินผลการดาเนินงาน เกิดทักษะการทางานและการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการ
ดาเนินงาน ซึ่งตรงตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาในปัจจุบันที่ต้องการให้นักเรียนสามารถ
คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ ซึ่งประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเนื่องจากการเรียนแบบโครงงานนั้น
มีทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้
1. ทางตรง
1.1 มีทักษะในการศึกษาค้นคว้า
1.2 มีความคิดริเริ่มในการทางาน
1.3 ฝึกฝนการตัดสินใจ
1.4 ทางานอย่างเป็นระบบ
1.5 ฝึกการประเมินผลร่วมกัน
2. ทางอ้อม
2.1 เรียนรู้พฤติกรรมที่มีความแตกต่าง
2.2 รู้จักแก้ปัญหาถ้าพบอุปสรรค
สุวิทย์ มูลคา (2547 : 53) กล่าวถึงข้อดีของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานว่า
5
มีดังนี้
1. ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกประเด็นที่จะศึกษา วิธีการศึกษา และแหล่งความรู้ด้วย
ตนเอง
2. ผู้เรียนเป็นผู้ศึกษา หรือลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทุกขั้นตอน
3. การศึกษาค้นคว้านั้นมีการเชื่อมโยง หรือบูรณาการระหว่างความรู้/ทักษะ/
ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่
4. ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
5. ผู้เรียนได้ฝึกการแก้ปัญหาในการทางาน
ดังนั้น สิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้แบบโครงงานกล่าวโดยสรุป คือ
1. ความรู้ และประสบการณ์ปฏิบัติโครงงานตามความสามารถ ความสนใจ และ
ความถนัดของตนเอง
2. การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา และค้นหาคาตอบ
3. การศึกษาค้นคว้า และการแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆด้วยตนเอง
4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความสามารถบูรณาการการเรียนรู้ ในวิชาการ
ด้านอื่น ๆ
5. มีเจคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน และเห็นคุณค่าในการแก้ปัญหา
4. ขั้นตอนในการทางานโครงงาน
ในการทาโครงงานประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆดังนี้
สุชาติ วงศ์สุวรรณ (2537 : 22) กล่าวว่า ขั้นตอนการทาโครงงานมี 6 ขั้นตอน คือ
1. การคิดและเลือกหัวข้อ
2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
4. การปฏิบัติโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การแสดงผลงาน
กรมวิชาการ (2544 : 30) กล่าวไว้ว่า ขั้นตอนการทาโครงงาน มี4 ขั้นตอน คือ
1. คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา นักเรียนจะต้องเป็นผู้กาหนดปัญหา
แนวคิดและวิธีการที่จะแก้ปัญหาตามความสนใจอยากรู้ของตนเอง ทั้งนี้
ต้องคานึงถึงความเหมาะสมในเรื่องเวลาความสามารถ และแหล่งข้อมูลที่มีอยู่
2. วางแผนในการทาโครงงาน นักเรียนจะต้องวางแผนในการทาโครงงาน
ทุกขั้นตอนอย่างละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 4ขั้นตอน ดังนี้
6
2.1 การกาหนดปัญหาและขอบเขตของการศึกษา
2.2 การกาหนดวัตถุประสงค์ แนวคิด วิธีการที่จะนามาใช้เพื่อแก้ปัญหา
สมมติฐาน และนิยามเชิงปฏิบัติการ
2.3 การวางแผนรวบรวมข้อมูล และการค้นคว้าเพิ่มเติม
2.4 การกาหนดวิธีการดาเนินงาน ได้แก่ แนวทางการศึกษาค้นคว้า วัสดุ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ การออกแบบการทดลอง การควบคุมตัวแปร การสารวจและรวบรวมข้อมูล
การประดิษฐ์คิดค้น การวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดระยะเวลาในการทางานแต่ละขั้นตอน
3. ลงมือทาโครงงาน นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามแผนที่กาหนดไว้ ถ้ามีปัญหา
ให้ขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษา
4. การเขียนรายงาน นักเรียนจะต้องเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าเป็นเอกสาร
อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจและทราบถึงปัญหา วิธีการ และสรุปผลที่ได้จากการศึกษาพร้อมอภิปรายผล
และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไป
นันทิยา คุมพล (2545 : 8-9) กล่าวไว้ว่า ขั้นตอนการทาโครงงานมี 5ขั้นตอน
ดังนี้
1. การคิดการศึกษาค้นคว้า การสารวจ การสอบถาม เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหา
และ /หรือการพัฒนาให้ดีขึ้น
2. การวางแผนการดาเนินงาน ตั้งแต่การเริ่มต้นจนจบให้เห็นภาพตลอดแนวแล้ว
เขียนโครงงาน
3. การดาเนินงาน เริ่มตั้งแต่การนาเค้าโครงงานไปสู่การปฏิบัติ การเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล และการประมวลผล
4. การเขียนรายงานเป็นการนาเสนอรายงานต่อสาธารณะ เช่นเดียวกับการ
ดาเนินงานอื่น ๆ ซึ่งมีสาระสาคัญ 3ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น (ปก คานา สารบัญ)
ส่วนเนื้อหา (ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องระเบียบ วิธีดาเนินงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล) ส่วนอ้างอิง (บรรณานุกรม
ภาคผนวก)
5. การนาเสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ข้อค้นพบจากการดาเนินงานในรูปแบบ
ต่าง ๆเช่น การจัดบอร์ด จัดนิทรรศการ นาเสนอในที่ประชุมสัมมนาจัดพิมพ์เผยแพร่หรือ
นาไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงหรือปฏิบัติจริง
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 9-12) ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการทาโครงงานไว้ 6
ขั้นตอน ดังนี้
1. การเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทาโครงงานการเลือกหัวข้อโครงงานให้นักเรียน
ศึกษาที่ง่ายที่สุด คือ ให้นักเรียนไปสารวจรวบรวมข้อมูลจากเรื่องที่เราจะสอนนักเรียน ตัวอย่าง
7
โครงงาน เช่น รวบรวมความรู้และข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในการช่วยเหลือตนเอง รวบรวมลักษณะทั่วไป
ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืชรอบ ๆ ตัว สารวจสภาพภูมิศาสตร์ของโรงเรียน หมู่บ้าน วัด
รวบรวมความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในบ้านเป็นต้น
2.
การออกแบบทางานครูอาจนาเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะปรึกษาแล้วนาหัวเรื่องที่เราต้องกา
รมาวิเคราะห์ และควรจะมีแนววิเคราะห์ของผู้สอนเอง อาจใช้แบบ
วิเคราะห์ได้ดังนี้
2.1 ชื่อเรื่อง
2.2 ผู้ทาโครงงาน
2.3 ปัญหาหรือเหตุจูงใจในการทางาน
2.4 ตัวแปร (ถ้ามี) ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม
2.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
2.6 แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะต้องศึกษา
2.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
2.8 วัสดุอุปกรณ์ และค่าใช้จ่าย
3. การลงมือทาโครงงานมีขั้นตอนการศึกษาอย่างไร ทาอย่างไร
เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร
4. การเขียนรายงานนักเรียนเขียนรายงานการทาโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่
นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครงงาน มีดังนี้
4.1 ชื่อโครงงาน
4.2 ผู้จัดทาโครงงาน โรงเรียน พ.ศ. ..........
4.3 ชื่อครูที่ปรึกษา
4.4 บทคัดย่อ
4.5 กิตติกรรมประกาศ
4.6 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
4.7 วัสดุอุปกรณ์ของการศึกษาค้นคว้า
4.8 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
4.9 วิธีดาเนินการ
4.10 ผลการศึกษาค้นคว้า
4.11 สรุปผล
4.12 ประโยชน์ข้อเสนอแนะ
4.13 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
8
5. การนาเสนอโครงงานการนาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนสาคัญ เพราะเป็นการ
สะท้อนการทางานของนักเรียน ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทา การตอบข้อซักถาม บุคลิกภาพ
ท่าทาง ท่วงทีวาจา ไหวพริบปฏิภาณ นักเรียนควรได้รับการบุคลิกภาพในการนาเสนอให้สง่าผ่าเผย
พร้อมทั้งฝึกให้มีมารยาทในการฟังด้วย การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ
5.1 บรรยายแผ่นใส/สไลด์
5.2 บรรยายประกอบแผงโครงงาน
5.3 การจัดนิทรรศการ
6. การวัดผล ประเมินผล
การประเมินผลการทางาน
โดยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทางานวัดตัวความรู้โดยการซักถาม หรือวิธีการอื่น ๆ
ควรให้นักเรียนได้มีการประเมินตนเองประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น ๆ ที่มาเยี่ยมชม
จากขั้นตอนการทาโครงงานดังที่กล่าวมา สรุปได้
ว่าขั้นตอนการทาโครงงานมีขั้นตอนสาคัญ 6 ขั้นตอน คือ 1) การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะทา
โครงงาน 2) การวางแผนออกแบบการจัดทาโครงงาน 3) การดาเนินงาน/ลงมือปฏิบัติ 4) การเขียน
รายงาน 5) การนาเสนอโครงงาน 6) การวัดผล ประเมินผล
ในส่วนของการเขียนรายงานโครงงานได้มีผู้เสนอแนะดังนี้
ลัดดา ภู่เกียรติ (2546 : 361) ได้ให้ความเห็นว่า ในการเขียนการทาโครงงาน
ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆดังนี้
1. ชื่อโครงงาน เป็นปัญหาที่สนใจที่จะศึกษา กระชับ สั้น
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นการอธิบายถึงความเป็นมาเกี่ยวกับ
ปัญหาที่จะสนที่จะศึกษาว่ามีความเป็นมาอย่างไร หรือเหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้
5. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า เป็นการระบุความต้องการในการศึกษา
6. ขอบเขตของโครงงานที่จะศึกษา เช่นเวลาที่ใช้ในการศึกษา ประชากร
หรือตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเป็นใครมาจากไหนมีจานวนเท่าใดเป็นต้น
7. สมมติฐานของการศึกษา ถ้าเป็นโครงงานทดลองมักมีคาตอบคาดเดาไว้ล่วงหน้า
8. วิธีดาเนินงาน เป็นการอธิบายแนวทางการศึกษาค้นคว้า และการออกแบบ
การทดลองตั้งแต่ต้นจนสาเร็จสิ้นการดาเนินงาน
9. ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ เขียนให้ชัดเจนว่าเมื่อทาโครงงานเรื่อง
ดังกล่าวแล้วจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง
10. เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม เป็นการบอกให้ผู้อื่นได้ทราบว่าได้
9
ศึกษาข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง
สาหรับการลงมือทาโครงงานมีแนวทางดังนี้
ลัดดา ภู่เกียรติ (2547 : 365) ได้กล่าวว่า ในการลงมือทาโครงงานสิ่งสาคัญคือ
การบันทึกผลการปฏิบัติงาน เมื่อทาการศึกษา หรือทดลองไปตามขั้นตอนและได้ผลของข้อมูลจาก
การวิเคราะห์แล้ว ผู้ทาโครงงานจะต้องแปลผลและสรุปผลการทดลองด้วย พร้อมกับอภิปรายผล
ของการศึกษาค้นคว้า หากไม่ตรงกับสมมติฐานนั้น เพื่อจะได้รู้ว่ามีข้อบกพร่องอะไรและผิดพลาด
ตรงกระบวนการใด บันทึกข้อมูลให้สอดคล้องกับโครงงานที่ทา เช่น ทาเป็นตาราง แผนภูมิแท่ง
กราฟ แผนภูมิรูปวงกลม สร้างแบบจาลอง
สาหรับการเขียนรายงาน เป็นการเสนอผลงานของการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบของ
เมื่อลงมือทาโครงงานแล้วจะต้องมีการบันทึกและเขียนรายงานเป็นเอกสารเพื่อขยายผล
ให้ผู้อื่นได้รับทราบและเข้าใจถึงแนวคิด วิธีการศึกษาค้นคว้านั้นว่ามีผลอย่างไรบ้าง
รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆกับโครงงานนั้น โดยใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้น ตรงไปตรงมา
และครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. บทคัดย่อ เป็นการเขียนเรื่องที่ศึกษาโดยย่อ
บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิธีการดาเนินการศึกษา และผลสรุปที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างย่อๆ
ประมาณ 600คา หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ เอ 4
5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เขียนรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและความสาคัญพร้อมทั้งเหตุผลที่เลือกศึกษาโครงงานนี้
6. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า (เหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครง)
7. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามีและเหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครง)
8. วิธีการดาเนินการ (ให้บอกตั้งแต่การใช้วัสดุอุปกรณ์ อะไรบ้างใช้สารเคมี
ชนิดใดปริมาณเท่าใด ลาดับขั้นตอนในการทางานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบทุกขั้นตอนอย่างละเอียด)
9. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษาที่ได้จากการศึกษา
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นตาราง แผนภูมิ ภาพวาด
10. สรุปผลของการศึกษาค้นคว้า เขียนอธิบายผลสรุปของการศึกษาค้นคว้า
ว่าได้ผลเป็นอย่างไร ถ้าเป็นโครงงานประเภททดลอง ผลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐาน
ที่ตั้งไว้อย่างไรบ้าง สรุปผลการศึกษาดังกล่าวเหมือนหรือต่างกับโครงงานของผู้อื่นหรือไม่อย่างไร
มีข้อบกพร่องหรือข้อจากัดใดบ้างในการศึกษาครั้งนี้
11. ข้อเสนอแนะ ให้เสนอแนะต่าง ๆที่คาดว่าควรจะปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะมีใคร
10
นาเรื่องทานองดังกล่าวไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและจากการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ได้
ประโยชน์อะไรบ้างสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หรือไม่
12. เอกสารอ้างอิง บอกชื่อหนังสือ เอกสารต่าง ๆ
รวมทั้งแหล่งข้อมูลอื่นที่ผู้ทาโครงงานใช้ในการศึกษาค้นคว้า อ้างอิง
โดยเขียนให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
13. กิตติกรรมประกาศ เป็นการเขียนขอบคุณผู้ที่ให้ความร่วมมือทั้งบุคคล
และหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในการทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีเป็นการยกย่องให้เกียรติ
คนที่ช่วยเหลือซึ่งนิยมเขียนไว้หลังบทคัดย่อ หรือสุดท้ายของข้อเสนอแนะรูปแบบในการเขียน
รายงานที่กล่าวมานี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามประเภทของแต่ละโครงงาน แต่สิ่งที่ผู้เขียนต้องคานึงถึง
คือการเขียนให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจง่าย โดยไม่มีข้อสงสัยใช้ภาษาที่เหมาะสม ถูกต้อง เข้าใจง่าย
รอบคลุมส่วนที่สาคัญทั้งหมดของโครงงาน
5. การแสดงผลงาน
การแสดงผลงานเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงานหลังจากที่ได้มีการศึกษาและหาวิธีการใ
นการแก้ปัญหาที่อยากรู้และได้ผลออกมาแล้วต้องการนาความรู้ที่ได้จากการศึกษา
ทดลองนั้นมาเล่าให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบ
ซึ่งผู้ทาโครงงานจะต้องคิดรูปแบบของการนาเสนอเองโดยการเขียนในรูปแบบรายงานเป็นเอกสาร
หรือรายงานปากเปล่า หรือจัดนิทรรศการผลงานบางชิ้นอาจมีวัสดุประกอบรายงาน
ซึ่งจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับโครงงานนั้นด้วย
บางคนอาจมีความสามารถในการแสดงก็เหมาะที่จะใช้เป็นการนาเสนอเด็กบางกลุ่มอาจมีความสามารถในก
ารใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และได้เรียนเกี่ยวกับโปรแกรมการเสนอด้วยโปรแกรม Power Point
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความต้องการของกลุ่ม
ผลงานที่จะนาเสนอต่อชุมชนอาจทาในรูปแบบของโครงงาน
โดยมีหัวข้อสาคัญที่จะนาเสนอและเขียนบรรยายในแผงโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
5.1 ชื่อผู้จัดทา
5.2 ชื่อที่ปรึกษา
5.3 ที่มาของโครงงาน
5.4 ชื่อโครงงาน
5.5 ปัญหาที่ต้องการศึกษา
5.6 สมมติฐาน (ถ้ามี)
5.7 วิธีการดาเนินการ (มีรูปประกอบด้วยจะดีมาก)
5.8 ผลการทดลอง
11
5.9 สรุปผล
5.10 ข้อเสนอแนะ
ทั้งหมดที่กล่าวมาต้องเขียนด้วยความประณีต สวยงาม
สามารถหาสิ่งประดับมาตกแต่งแผงโครงงานให้สวยงามได้ (สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2537
: 11-15; อ้างอิง
มาจาก ลัดดา ภู่เกียรติ. 2546 : 369) ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดแผนโครงงานวิทยาศาสตร์
ที่ส่งเข้าประกวดดังนี้คือ แผงโครงงานจะต้องประกอบด้วย 3 ด้านคือ ด้านหลังและด้านข้าง 2 ด้าน
ส่วนด้านหน้าเปิดให้ผู้เข้าชมสามารถชมผลงานได้สะดวก แผงทั้ง 3 ด้านใช้ติดภาพแผนภูมิ
คาอธิบายหากมีสิ่งประกอบอื่น ๆ ของโครงงานก็ให้จัดวางบนพื้นโต๊ะระหว่างทั้ง 3 ด้าน หรืออาจ
ติดบนแผงได้ตามความเหมาะสมแผงโครงงานมีขนาดความยาว 120 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร
และกว้างด้านละ 60 เซนติเมตร เพื่อให้สามารถพับเก็บได้เรียบร้อย การแสดงผลงาน
อาจจะจัดในรูปแบบนิทรรศการ หรือ รายงานปากเปล่าโดยนาแผงโครงงานมานาเสนอไปพร้อม ๆกัน
หรือเป็นการจัดแสดงบนเวทีหรือเสนอผลงานด้วยแผ่นใส หรืออธิบายประกอบสไลด์ หรือวีดีทัศน์
เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงออกถึงการทางานและผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
หรือ อเนก ศิปนิลมาลย์ (2542 : 23) ได้จัดรูปแบบหรือขั้นตอนการศึกษาการทาโครงงาน 2 รูปแบบ
คือแบบไม่เป็นทางการและแบบเป็นทางการดังนี้
1. แบบไม่เป็นทางการ การจัดกิจกรรมโครงงานแบบนี้ไม่ว่าจะเริ่มจากความสนใจ
ของนักเรียนเอง หรือจากการกระตุ้นของครู เมื่อนักเรียนเสนออยากที่จะศึกษา ครูต้องทาหน้าที่
สนับสนุน และมุ่งทาความกระจ่างว่า เป้าหมายที่ต้องการศึกษา คืออะไร แล้วดาเนินการให้ถึง
เป้าหมายนั้น ด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยครูทาหน้าที่ให้คาปรึกษา หรืออาจดาเนินการขั้นตอนดังนี้
1.1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษาตามข้อสงสัยของนักเรียนด้วยตัวของนักเรียนเอง
หรือเกิดจากครูกระตุ้น
1.2 สร้างแผนที่ความคิด เป็นการแสดงเค้าโครงความคิด
1.3 การทางานภาคสนาม คือ การลงมือปฏิบัติการศึกษาค้นคว้าจริง
1.4 บทสรุป คือ การเสนอรายงานผลที่ได้
2. แบบเป็นทางการ การจัดกิจกรรมแบบนี้ จะต้องมีการเขียนโครงร่างโครงงาน
และเมื่อทาสาเร็จแล้วก็จะต้องเขียนรายงานโครงงาน ซึ่งกระบวนการเหมือนการทาการวิจัย หรือการ
ทาวิทยานิพนธ์ของนิสิต นักศึกษาปริญญาโท แต่สาระง่ายกว่าเท่านั้น การดาเนินงานมีขั้นตอน ดังนี้
2.1 ขั้นหาหัวข้อที่จะทาโครงงาน ในระหว่างที่ครูสอนความรู้พื้นฐาน
ถ้านักเรียนมีความสงสัยอยากหาคาตอบหรืออยากศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น
ครูสอนการพูดทางโทรศัพท์ นักเรียนสงสัยว่าก่อนพูดจะต้องต่อโทรศัพท์อย่างไร ครูไม่ควรตอบนักเรียน
แต่ควรดึงความสนใจนี้ มาฝึกฝนให้นักเรียนค้นหาคาตอบด้วยตัวนักเรียนเองในรูปโครงงาน
12
แต่ถ้านักเรียนไม่รู้ว่าเขาควรสงสัยใคร่รู้เรื่องอะไรบ้าง ครูควรกระตุ้น เช่น ถามนักเรียนว่าทาไม....?
ในระหว่างที่กาลังสอนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือพานักเรียนออกมาศึกษาในเรื่องสารทางโทรศัพท์
ครูกับนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ประเด็นของการเรียนรู้โดยใช้แผนที่ความคิดดังนี้
ครูควรถามนักเรียนว่ามีเรื่องอะไรที่นักเรียนต้องการเรียนรู้การใช้เวลาร่วมกันในการหาความสนใจของนักเรี
ยน การปรึกษากันนี้ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน
เพื่อร่วมมือกันให้คาแนะนานักเรียนในการเลือกเรื่องที่น่าสนใจ และให้คาปรึกษาในขั้นทาโครงการ
และเมื่อได้หัวข้อแล้วก็ดาเนินการในขั้นตอนต่อไป
2.2 ขั้นศึกษาเอกสารและความเป็นไปได้ของการทาขั้นนี้ครูควรสามารถสนทนา
กับนักเรียนถึงเอกสารและแหล่งเรียนรู้ที่จะหาได้ ถ้านักเรียนมีเอกสารและแหล่งเรียนรู้ไม่มาก ครู
อาจแนะนาหรือเป็นธุระจัดเตรียมให้ หรืออานวยความสะดวกในการรวบรวมหรือติดต่อให้ได้ข้อมูล
ที่ต้องการ ครูควรให้คาปรึกษาทั้งในช่วงเวลาที่กาหนดและในช่วงที่นักเรียนต้องการปรึกษาหารือ
หรือความช่วยเหลือ โดยครูกับนักเรียนทาแผนการพบปะเพื่อให้คาปรึกษา หรือรายงาน
ความก้าวหน้าร่วมกัน และเมื่อพบว่าหัวข้อที่ต้องการทาโครงงานนั้นมีความเป็นไปได้ และมีเอกสาร
และแหล่งเรียนรู้มากพอที่จะได้ดาเนินในขั้นต่อไป
2.3 ขั้นเขียนและเสนอร่างโครงงาน กรอบหัวข้อในการเขียนโครงร่างโครงงาน
ควรมีหัวข้อดังนี้ (ครูอาจเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมตามประเภทของโครงงาน) โครงร่างโครงงาน
(ระบุชื่อกลุ่มวิชา) ชื่อโครงงาน “ระบุชื่อโครงงาน” คณะ (ผู้ทา) “ระบุชื่อ ถ้าหลายคนก็ใช้คณะ
ผู้ทา” ครูที่ปรึกษา “ระบุชื่อครูที่ปรึกษา” ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน เรื่อง และการ
ค้นคว้าเบื้องต้น จุดประสงค์ (แสดงวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงงาน) สมมติฐาน (ถ้ามี) คือ
คาตอบที่คาดเดาเอาว่าจะเป็นเช่นนั้น ตัวแปรศึกษา ถ้ามี) ระบุตัวแปรต้น (อาจเรียกต้นเหตุ) ตัวแปร
ตาม (อาจเรียกผล) และตัวแปรที่ต้องควบคุม (อาจเรียกการควบคุม) อุปกรณ์ที่ใช้ (ระบุวัสดุ
อุปกรณ์ที่ใช้บนการทาโครงงานให้เสร็จ) วิธีการศึกษา (ระบุรูปแบบของการศึกษา เช่น ใช้ทดลอง
หรือใช้การศึกษาค้นคว้า เป็นต้น ขั้นตอนและวิธีการในการเก็บข้อมูล กาหนดพื้นที่ กลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการสรุปผล) แผนการทางาน
(ระบุงานที่ทาโครงงานตลอดจนระบุวันเวลาที่จะพบครูที่ปรึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ (ระบุเมื่อทาเสร็จแล้ว
โครงงานนี้จะนาไปใช้ประโยชน์ในทางไหนบ้าง ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์บ้าง) เมื่อเขียนเสร็จ
นักเรียนก็จะเสนอโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาซึ่งครูจะพิจารณาและให้ข้อสังเกต
นักเรียนกลับมาแก้ไขและส่งใหม่ตามระยะเวลาที่กาหนด
ในขั้นนี้นักเรียนและครูควรกาหนดเกณฑ์การทางานเพื่อใช้ในการตีค่าร่วมกัน
เป็นการกระตุ้นนักเรียนว่าทาอย่างไรแล้ว จะได้ระดับคะแนนเท่าใด เมื่อผ่านแล้วจึงลงมือศึกษา
ซึ่งเป็นขั้นต่อไป
13
2.4 ขั้นลงมือศึกษา เมื่อวางแผนเรียบร้อยแล้ว
นักเรียนก็เริ่มดาเนินงานทาโครงงานตามที่ตนวางแผนไว้
ระยะนี้ครูควรติดตามการทางานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ และให้คาปรึกษา
ตลอดจนให้ความคิดเห็นในการปรับเปลี่ยนหรือแก้อุปสรรค์ที่เกินความสามารถของนักเรียน
การให้คาปรึกษานั้น ครูควรใช้เวลามากขึ้นตามระดับชั้นของนักเรียนในระยะเวลาการลงมือศึกษานี้
ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเขียนบันทึกการทางานตั้งแต่เริ่มต้นจนสรุป
ได้ผลการศึกษาออกมาเพราะจะสะดวกต่อการทางานในขั้นต่อไป มีข้อควรระมัดระวังคือ
ถ้านักเรียนมีโครงงานหลายเรื่อง หรือใหญ่เกินตัว
จะทาให้เกิดความยุ่งยากสับสน และท้อถอยให้ครูควรจากัดโครงงานที่นักเรียนทาให้สาเร็จที่ละ
โครงงานเป็นโครงงานที่เหมาะกับระยะเวลา และความสามารถของนักเรียน
2.5 ขั้นการเขียนรายงาน ในระหว่างลงมือศึกษา นักเรียนควรได้บันทึกข้อมูล
ต่าง ๆที่ได้และจัดระบบให้เป็นหมวดหมู่เพื่อสะดวกต่อการเขียนรายงานและเมื่อสรุปแล้ว จึงนาผล
มาเขียนรายงาน ซึ่งกรอบของการเขียนรายงานมีดังนี้ (ครูอาจเปลี่ยนแปลงตามประเภทของโครงงาน)
รายงาน ........................
ชื่อโครงงาน ........................
ระยะเวลาที่จัดทา (ระบุวัน /เดือน /ที่เริ่ม จนสิ้นสุดโครงงาน)
ผู้จัดทา (ระบุผู้จัดทา และชั้นเรียน)
โรงเรียน (ระบุชื่อโรงเรียน และจังหวัดที่จัดตั้ง)
ครูที่ปรึกษา (ระบุชื่อครูที่ปรึกษา)
บทคัดย่อ (ระบุชื่อ โครงงาน จุดประสงค์ วิธีการศึกษา สรุปผลและข้อ
ค้นพบ)
กิตติกรรมประกาศ (ประกาศขอบคุณ ผู้สนับสนุนจนทาให้งานสาเร็จ
ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน.....................
(ให้นาส่วนนี้จากโครงร่างโครงงานมาเขียนลง)
จุดประสงค์ (ให้นาจุดประสงค์จากโครงร่างมาเขียนลง)
สมมติฐาน (ถ้ามี) ให้นาจากโครงร่างมาเขียนลง)
วิธีการศึกษา (ให้นาส่วนนี้จากโครงร่างโครงงานมาเขียนลง)
สรุปผล (ให้นาผลที่เกิดขึ้น และข้อสรุปที่ได้ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้)
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น เสนอความคิดเห็นถึงการเรียนรู้ที่ได้
และข้อเสนอแนะจากการศึกษา หรือสิ่งที่ควรจะศึกษาต่อในอนาคต)
เอกสารอ้างอิง (ระบุเอกสารและบุคคลที่ใช้ในการศึกษา)
14
การรายงานโครงงานลักษณะนี้เหมาะสาหรับการนาเสนอผลงานบางครั้งครูอาจกาหนดกรอบการเ
ขียนให้บท ๆก็ได้ (เหมาะสมสาหรับนักเรียนชั้นสูง ) ซึ่งมีกรอบการเขียน ดังนี้
1. ปก ให้ระบุ“รายงานโครงงานเรื่อง..............................”
2. บทคัดย่อ ให้ระบุดังตัวอย่าง
ชื่อโครงงาน.............................................
ผู้จัดทา......................................................
ที่ปรึกษา....................................................
โรงเรียน.............................................ปีที่ทา........................
3. กิตติกรรมประกาศ ระบุคาขอบคุณแก่ผู้ให้การสนับสนุนจนโครงงาน
4. บทที่ 1 บทนา
(ให้ลอกโครงร่างโครงงานในส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาและความสาเร็จของเรื่องที่ศึกษา จุดประสงค์
สมมติฐาน ตัวแปรที่ศึกษา และประโยชน์ที่ได้รับ)
5. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
(ให้การค้นคว้าเบื้องต้นในโครงร่างมาลงด้วยและเพื่อเพิ่มเติมจากสิ่งที่ได้ค้นคว้าเพิ่ม)
6. บทที่ 3 วิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล (ให้นาวิธีการศึกษาอุปกรณ์ที่ใช้
และแผนการทางานในโครงร่าง หรือที่ปรับใหม่มาลง)
7. บทที่ 4 ผลการศึกษา (ให้ระบุผลการศึกษาค้นคว้าหรือค้นพบที่ได้)
8. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ (สรุปผลการศึกษาให้เขียนชื่อโครงงาน
จุดประสงค์ วิธีการศึกษาและผลการศึกษาหรือข้อค้นพบที่ได้อย่างย่อ ๆ
เพื่อแสดงให้เห็นความสอดคล้องว่าผลการศึกษาเป็นไปตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ให้นาสรุปผลการศึกษานั้นเขี
ยนลงในบทคัดย่อ อภิปรายผล ให้นาข้อสรุปที่ได้ หรือข้อค้นพบมาเขียนประกอบ คาอธิบายในทานองว่า
มีสาเหตุจากอะไร ผลการศึกษาสอดคล้องหรือขัดแย้งกับชีวิตจริงหรือผู้ค้นพบหรือไม่ เพราะเหตุใด
หรือการศึกษาไมเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ เพราะเหตุใดหรือก่อนศึกษาคิดอย่างไร
หลังศึกษาคิดต่างเดิมอย่างไร เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ ให้ระบุสิ่งที่ศึกษา เพื่อค้นหาความรู้อย่างต่อเนื่องลึกซึ้งที่ต่อเนื่องจากเรื่องเดิม
เพื่อหาคาตอบที่ยังสงสัยอยู่ หรือเรื่องใหม่ที่มีความสัมพันธ์กัน
เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น
9. บรรณานุกรม (ให้ระบุรายการหนังสือ วัสดุสารสนเทศ
หรือบุคคลที่นามาใช้ประกอบในการศึกษาค้นคว้า โดยจัดลาดับตัวอักษรของคาแรกในแต่ละรายการ)
10. ภาคผนวก (คือ สาระในส่วนที่ไม่ควรจะใส่ไว้ในบทใด ๆ
เพราะจะทาให้สาระสาคัญในบทนั้นไม่ต่อเนื่อง หรือส่วนที่ผู้ศึกษาเห็นว่าควรเพิ่มเติม
15
หรือให้ผู้สนใจมีความรู้ที่สมบูรณ์ขึ้น เช่นประวัติ หรือความรู้ในรายละเอียดของเรื่องที่ศึกษา แบบสอบถาม
แบบกรอกข้อมูลการทดลอง และภาพประกอบก่อน ระหว่าง หรือหลังการศึกษา เป็นต้น
สาหรับขั้นเสนอผลการศึกษาและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับผู้อื่นนารายงานผลการศึกษา
มาปรึกษาร่วมกันว่าจะนาเสนอทั้งส่วนที่เป็นกระบวนการและผลอย่างไร การนาเสนอการเปิดโอกาส
ให้ผู้จัดทาโครงงานได้นาเสนอในห้องเรียนเพื่อฝึกทักษะ การนาเสนอ และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ผลงานที่นาเสนอสามารถทาได้หลายแบบ เช่น จุลสาร ทารายงาน สิ่งประดิษฐ์
การจัดนิทรรศการ หุ่นจาลอง ทาแผนภูมิ เป็นต้น ส่วนวิธีการนาเสนอก็ทาได้หลายแบบ เช่น
บรรยาย การเล่าสู่กันฟัง การแสดงละคร การประชุมอภิปราย เป็นต้น เมื่อสิ้นภาคเรียน ครูโรงเรียน
อาเภอ หรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดนิทรรศการโครงงาน เสนอโครงงานหรือ
ประกวดโครงงาน เพื่อเปิดเวทีให้ผู้ทาโครงงานโดยเผยแพร่แลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับผู้อื่น
และในส่วนขั้นประเมินผลตามสภาพที่แท้จริงมีการตั้งเป้าหมายและการตรวจสอบ โดย
ตีค่าความสามารถ ซึ่งตั้งอยู่บนฐานของงานที่ปฏิบัติจริง การแสดงความรู้ความสามารถที่แท้จริง
เทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร่วมกันระหว่างนักเรียนกับครู หรือเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนก็ได้
การตีค่ามุ่งทั้งวิธีทางานและผลงานดังนี้
1. การใช้น้าหนักกับหลักฐานที่นักเรียนนามาแสดงแฟ้ มสะสมงาน
2. การให้น้าหนักแนวคิด ข้อคิดเห็น ข้อค้นพบ หรือการเรียนรู้ที่ได้
3. การให้น้าหนักการเชื่อมโยงผลการศึกษากับการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
4. การให้น้าหนักกับกระบวนการทางานและการนาเสนอของนักเรียน
เกณฑ์การประเมินอาจใช้การประเมินค่า 3-5 ระดับ ข้อกระทงควรครอบคลุม
กระบวนการทา การนาเสนอ และผลงานควรกาหนดเกณฑ์ขั้นต่าของโครงการเอาไว้ ถ้าต่ากว่า
เกณฑ์ควรนาไปปรับปรุงแก้ไข การประเมินควรเป็นคณะกรรมการ ประกอบด้วยคณะครู ตัวแทน
นักเรียนตัวแทนผู้ปกครอง เป็นต้น โดยนาคะแนนมารวมกันเพื่อสรุป การประเมินอาจใช้การ
ตรวจสอบจากหลักฐาน หรือปากเปล่า หรือทั้ง 2 อย่างก็ได้ ซึ่งต้องแยกประเด็นออกจากกัน
ผลงานที่นาเสนอถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ควรใช้คาว่า “ยังไม่สมบูรณ์” หรือผู้ทาโครงงานจะได้นาไป
ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ก่อนถึงจะผ่าน ซึ่งปกติการทาโครงงานจะไม่มีการสอบตก
การประเมินผลโครงงานควรจะมีการประเมิน 4ตอนด้วยกันคือ
1. ประเมินโครงร่างโครงงาน ตั้งแต่ฉบับแรก ฉบับแก้ไข และฉบับสุดท้าย
2. ประเมินรายงานโครงงาน ตั้งแต่ฉบับแรก ฉบับแก้ไข และฉบับปรับปรุง
3. ประเมินผลการทาโครงงาน เป็นการประเมินผลตั้งแต่เริ่มทาโครงงาน จนถึง
การเสนอผลงานประเมินการสอบด้วยปากเปล่า เป็นการประเมินที่ให้นักเรียนนาเสนอโครงงานของ
ตนเองด้วยปากเปล่า ประกอบผลงาน หลังจากนั้นคณะกรรมการประเมินซักถามถึงโครงงานที่ทา
ออกมาให้ประจักษ์ เมื่อเป็นที่พอใจของคณะกรรมการแล้วก็ให้นักเรียนออกนอกห้อง คณะกรรมการ
16
ปรึกษาและตัดสิน แล้วให้นักเรียนเข้ารับข้อมูลย้อนกลับ ถ้ามีการแก้ไขก็ให้นากลับไปปรับปรุง
แก้ไขตามระยะเวลาที่กาหนดพร้อมกับบอกผลการตัดสินการประเมินและประเด็นที่ประเมิน
6. บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
กรมวิชาการ (2544 : 31) กล่าวถึงบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
แบบโครงงานไว้ดังนี้
1. กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสงสัยในการทาโครงงาน
2. แนะนาให้นักเรียนให้รู้จักหลักการและวิธีการในการทาโครงงาน
3. จัดกิจกรรมเพื่อช่วยให้นักเรียนได้เห็นปัญหา
4. แนะนาแนวทางแก่นักเรียนในการเลือกปัญหาที่จะศึกษา
5. ให้คาปรึกษาแก่นักเรียนในการวางแผนดาเนินงานโครงงาน
6. อานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการทาโครงงาน
7. ติดตามการทาโครงงานของนักเรียนทุกระยะ และให้คาแนะนา ช่วยเหลือเมื่อ
จาเป็น
8. ให้คาปรึกษาแนะนาแก่นักเรียนในการเขียนรายงานโครงงาน
9. ให้โอกาสนักเรียนได้แสดงผลงานของตน ในโอกาสและรูปแบบต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม
10. ประเมินผลการทาโครงงานของนักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการ
ทาโครงงานของนักเรียน ได้ดียิ่งขึ้น
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 11) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูที่ปรึกษาไว้ดังนี้
1. ใช้วิธีต่าง ๆที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อเรื่องโครงงาน
2. จัดหาสิ่งอานวยความสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในการทางาน
3. ติดตามการทางานอย่างใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษาควรคานึงความปลอดภัยเป็น
สิ่งสาคัญ
4. ให้กาลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ไขปัญหาต่อไป
5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ ผู้รู้ เอกสารต่าง ๆ ในการศึกษาค้นคว้า
ประเมินผลงาน ส่งผลงานเข้าประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู้ ความสามารถ
สรุป ลักษณะที่สาคัญของการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ
การจัดกิจกรรมที่เป็นกระบวนการซึ่งต้องอาศัยการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบแก่ผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียน คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ และมีกรอบแนวคิดประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5ขั้นตอน
คือ
1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน
2. การกาหนดปัญหาที่จะศึกษา
17
3. การวางแผนเพื่อศึกษา/หาคาตอบ
4. การดาเนินการตามแผน
5. การสรุปและสะท้อนผล
จากทั้งหมดที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
ครูจะเป็นผู้คอยอานวยความสะดวก ให้คาปรึกษาตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แก่นักเรียน
เพื่อให้นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ในสิ่งที่สนใจ
โดยอาศัยทักษะกระบวนการที่มีระบบนาไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้จริงตามธรรมชาติอย่างเต็มศั
กยภาพ
จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่า การพัฒนาบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
หมายถึง การพัฒนาครูผู้สอนที่มีความสนใจในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยวิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศ เพื่อให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ
สามารถกาหนดการสอนล่วงหน้าและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานได้สัมฤทธิ์ผล

More Related Content

What's hot

การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.Katewaree Yosyingyong
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมAung Aung
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

Viewers also liked

การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยThanawat Spdf Wongnang
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

Viewers also liked (6)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 

Similar to การเรียนรู้แบบโครงงาน

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nolmolcy001
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานsichon
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานsichon
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์kornvipa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoo Mild
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Phakphoom
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Phakphoom
 

Similar to การเรียนรู้แบบโครงงาน (20)

Commm
CommmCommm
Commm
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

การเรียนรู้แบบโครงงาน

  • 1. 1 การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบโดยมีขั้นตอนการเรียนการศึกษาค้นคว้า การแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูล และการนาเสนอผลงานเพื่อให้นักเรียนมีความคิดรวบยอดและ มีทักษะในการเรียนรู้ลักษณะของโครงงานจะรวมทั้งการวัดผลตามสภาพจริง และการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ซึ่งโครงงานจะเป็นเรื่องที่นักเรียนมีประสบการณ์ มีความสนใจและสอดคล้องกับ ชีวิตประจาวัน สรุปได้ว่า โครงงานหมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกศึกษาสิ่งที่ตนเองให้ความสนใจ โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ โดยมีครูคอยให้คาแนะนาปรึกษา 2.ลักษณะของโครงงาน จิราภรณ์ ศิริทวี (2542 : 34) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นโครงงานที่บูรณาการความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นพื้นฐานในการกาหนดข้อโครงงานและการปฏิบัติ 2. โครงงานตามความสนสนใจเป็นโครงงานที่ผู้เรียนกาหนดขั้นตอนตามความถนัดความสนใจ และความต้องการ โดยการนาเอาความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มากาหนดเป็นโครงงานและการปฏิบัติ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2543 : 4) เสนอแนวทางลักษณะสาคัญของโครงงานไว้ ดังนี้ 1. เป็นเรื่องที่นักเรียนสนใจ สงสัย ต้องการหาคาตอบ 2. เป็นการเรียนรู้ที่มีกระบวนการมีระบบครบกระบวนการ 3. เป็นการบูรณาการการเรียนรู้ 4. นักเรียนใช้ความสามารถหลายด้าน 5. มีความสอดคล้องกับชีวิตจริง 6. มีการศึกษาอย่างลุ่มลึกด้วยวิธีการและแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 7. เป็นการแสวงหาความรู้และสรุปด้วยตนเอง 8. มีการนาเสนอโครงงานด้วยวิธีการที่เหมาะสมในด้านกระบวนการและผลงานที่ค้นพบ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2544 : 13) ได้แบ่งลักษณะโครงงานออกเป็น 2ลักษณะ ดังนี้
  • 2. 2 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนเลือกหัวข้อที่จะศึกษาจาก หน่วยเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียนมากาหนดเป็นหัวข้อโครงงาน โดยบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ ไปค้นคว้าในสาระการเรียนรู้ที่สนใจและจะเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เช่น ผู้เรียนรู้เรื่องการ ใช้คาราชาศัพท์ แล้วสนใจที่จะศึกษาคาราชาศัพท์จากเรื่อง “พระมหาชนก” แล้วลงมือปฎิบัติ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนสนใจศึกษาในเรื่องใด เรื่องหนึ่งเป็นพิเศษอาจเป็นเรื่องในชีวิตประจาวัน สภาพสังคม หรือประสบการณ์ที่ยังต้องการ คาตอบข้อสรุปซึ่งอาจอยู่นอกเหนือจากสาระการเรียนรู้ในบทเรียนแต่ใช้ประสบการณ์จากการ เรียนรู้ไปแสวงหาคาตอบในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ เช่น ผู้เรียนสนใจว่า “มดแดงทารังบนต้นไม้ชนิดใด มากที่สุด” นักเรียนวางแผนการสารวจจนค้นหาคาตอบได้ด้วยตนเอง และสนใจจะศึกษาวิธีเลี้ยงมด แดงบนต้นไม้ชนิดนั้นต่อไปก็ได้ จากลักษณะของโครงงาน สรุปได้ว่า โครงงานจะมี 2 ลักษณะ คือ โครงงานที่จัดทาขึ้นจากเนื้อหาในบทเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และโครงงานที่จัดทาขึ้นตามความสนใจซึ่งอาจเลือกมาจากสิ่งที่สังเกตและพบเห็นในชีวิตประจาวัน 3. ประเภทของโครงงาน สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2541 : 64) ได้จาแนกประเภท ของโครงงาน ดังนี้ 1. โครงงานประเภททดลอง 2. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 3. โครงงานประเภทสารวจ 4. โครงงานประเภททฤษฎีต่างๆ โครงงานประเภททดลอง (Experimental Research Project) เป็นการศึกษาหา คาตอบว่าตัวแปรต้นที่กาหนด มีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ อย่างไร โดยการควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่อาจมีผลต่อตัวแปรต้น โครงงานประเภทนี้นักเรียนจะเริ่มตั้งแต่กาหนดคาถามที่ต้องการตอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดแหล่งข้อมูลที่จะศึกษา ปฏิบัติการหาข้อมูลเพื่อตอบคาถาม รวบรวมข้อมูล นามาสรุปเป็นองค์ความรู้ ขั้นตอนที่ปฏิบัติเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ (Developmental Research Project) โครงงาน ประเภทนี้เป็นการนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหรือประดิษฐ์สิ่งหนึ่ง สิ่งใด เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์เพื่อใช้สอยต่าง ๆเพื่อใช้งานหรือแก้ปัญหา สิ่งประดิษฐ์อาจจะคิดค้นขึ้นใหม่หรือปรับปรุงจากของเดิมมีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษาและทดสอบประสิ ทธิภาพของชิ้นงานด้วย โครงงานประเภทสารวจ (Survey Research Project) เป็นการศึกษาและรวบรวม ข้อมูล เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู่แล้วนาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
  • 3. 3 อย่างมีระบบ โครงงานประเภทนี้ไม่กาหนดตัวแปร การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจเป็นการสารวจ ในภาคสนามหรือในธรรมชาติหรือนามาศึกษาในห้องปฏิบัติการ นอกจากนั้นการสารวจรวบรวม ข้อมูลอาจบ่งชี้ที่มาของปัญหาเพื่อนาไปศึกษาทดลองต่อ กรมวิชาการ (2544 : 29) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทสารวจ (SurveyResearch Project) เป็นการศึกษาและ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู่แล้วนาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และนาเสนอรูปแบบ ต่าง ๆอย่างมีระบบ 2. โครงงานประเภททดลอง (Experimental Research Project) เป็นการศึกษาหา คาตอบ ตัวแปรต้นที่กาหนด มีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ อย่างไร โดยการควบคุมตัวแปรอย่างอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อตัวแปรต้น 3. โครงงานประเภทพัฒนาและประดิษฐ์คิดค้น (Developmental Research Project or Intention) เป็นการนาหลักการแนวคิด ทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา หรือประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆหรืออธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 4. ประเภทการสร้างหรืออธิบายทฤษฎี (Theoretical Research Project) เป็น การศึกษาค้นคว้า แนวคิด ทฤษฎีใหม่ๆ หรืออธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยมีหลักการทฤษฎีทาง วิทยาศาสตร์สนับสนุน สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 6-7) ได้แบ่งโครงงานออกเป็น 4 ประเภทคือ 1. โครงงานประเภทการสารวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ ผู้ทา โครงงานเพียงต้องการสารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่และ นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน ในการทาโครงงานประเภทสารวจข้อมูล ไม่จาเป็นจะต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้อง นักเรียนเพียงแต่ สารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่และนาเสนอ ก็ถือว่าเป็นการ สารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว 2. โครงงานประเภททดลอง ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการ จัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งมี4 ชนิด 2.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้น ๆ 2.2 ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากตัวแปรต้น 2.3 ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือน ๆ กัน มิฉะนั้น จะมีผลทาให้เปลี่ยนไป 2.4 ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริง ๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่
  • 4. 4 บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการ ตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นการนาเอาความรู้ที่มีอยู่มาประดิษฐ์ หรือ สร้างสิ่งใหม่ ขึ้นมาซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากมาย ซึ่งจะรวมถึงการเขียนหนังสือ แต่งเพลง สร้างบทละคร และอื่น ๆ ไว้ในโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย 4. โครงงานประเภททฤษฎี เป็นการใช้จินตนาการของตนเองมาอธิบาย หลักการหรือแนวความคิดใหม่ ๆซึ่งอธิบายในรูปของสูตรหรือสมการ หรืออธิบายปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้น และไม่สามารถอธิบายด้วยหลักการเดิม ๆ จากประเภทของโครงงาน สรุปได้ว่า โครงงานมี 4 ประเภท คือ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ข้อดีในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน พันธ์ ทองชุมนุม (2544 : 261) กล่าวว่า เป็นการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยมุ่งให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวนักเรียนเอง ซึ่งผลจาก การจัดการเรียนการสอนโดยวิธีนี้ทาให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้วิธีการทางานตั้งแต่การกาหนด จุดประสงค์ของโครงงาน รู้จักวางแผนขั้นตอนการทางาน และทางานไปตามขั้นตอนที่วางไว้ รวมทั้งการประเมินผลการดาเนินงาน เกิดทักษะการทางานและการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการ ดาเนินงาน ซึ่งตรงตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาในปัจจุบันที่ต้องการให้นักเรียนสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ ซึ่งประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเนื่องจากการเรียนแบบโครงงานนั้น มีทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1. ทางตรง 1.1 มีทักษะในการศึกษาค้นคว้า 1.2 มีความคิดริเริ่มในการทางาน 1.3 ฝึกฝนการตัดสินใจ 1.4 ทางานอย่างเป็นระบบ 1.5 ฝึกการประเมินผลร่วมกัน 2. ทางอ้อม 2.1 เรียนรู้พฤติกรรมที่มีความแตกต่าง 2.2 รู้จักแก้ปัญหาถ้าพบอุปสรรค สุวิทย์ มูลคา (2547 : 53) กล่าวถึงข้อดีของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานว่า
  • 5. 5 มีดังนี้ 1. ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกประเด็นที่จะศึกษา วิธีการศึกษา และแหล่งความรู้ด้วย ตนเอง 2. ผู้เรียนเป็นผู้ศึกษา หรือลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทุกขั้นตอน 3. การศึกษาค้นคว้านั้นมีการเชื่อมโยง หรือบูรณาการระหว่างความรู้/ทักษะ/ ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่ 4. ผู้เรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น 5. ผู้เรียนได้ฝึกการแก้ปัญหาในการทางาน ดังนั้น สิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้แบบโครงงานกล่าวโดยสรุป คือ 1. ความรู้ และประสบการณ์ปฏิบัติโครงงานตามความสามารถ ความสนใจ และ ความถนัดของตนเอง 2. การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา และค้นหาคาตอบ 3. การศึกษาค้นคว้า และการแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆด้วยตนเอง 4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความสามารถบูรณาการการเรียนรู้ ในวิชาการ ด้านอื่น ๆ 5. มีเจคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน และเห็นคุณค่าในการแก้ปัญหา 4. ขั้นตอนในการทางานโครงงาน ในการทาโครงงานประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆดังนี้ สุชาติ วงศ์สุวรรณ (2537 : 22) กล่าวว่า ขั้นตอนการทาโครงงานมี 6 ขั้นตอน คือ 1. การคิดและเลือกหัวข้อ 2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 4. การปฏิบัติโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การแสดงผลงาน กรมวิชาการ (2544 : 30) กล่าวไว้ว่า ขั้นตอนการทาโครงงาน มี4 ขั้นตอน คือ 1. คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา นักเรียนจะต้องเป็นผู้กาหนดปัญหา แนวคิดและวิธีการที่จะแก้ปัญหาตามความสนใจอยากรู้ของตนเอง ทั้งนี้ ต้องคานึงถึงความเหมาะสมในเรื่องเวลาความสามารถ และแหล่งข้อมูลที่มีอยู่ 2. วางแผนในการทาโครงงาน นักเรียนจะต้องวางแผนในการทาโครงงาน ทุกขั้นตอนอย่างละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 4ขั้นตอน ดังนี้
  • 6. 6 2.1 การกาหนดปัญหาและขอบเขตของการศึกษา 2.2 การกาหนดวัตถุประสงค์ แนวคิด วิธีการที่จะนามาใช้เพื่อแก้ปัญหา สมมติฐาน และนิยามเชิงปฏิบัติการ 2.3 การวางแผนรวบรวมข้อมูล และการค้นคว้าเพิ่มเติม 2.4 การกาหนดวิธีการดาเนินงาน ได้แก่ แนวทางการศึกษาค้นคว้า วัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ การออกแบบการทดลอง การควบคุมตัวแปร การสารวจและรวบรวมข้อมูล การประดิษฐ์คิดค้น การวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดระยะเวลาในการทางานแต่ละขั้นตอน 3. ลงมือทาโครงงาน นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามแผนที่กาหนดไว้ ถ้ามีปัญหา ให้ขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษา 4. การเขียนรายงาน นักเรียนจะต้องเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าเป็นเอกสาร อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจและทราบถึงปัญหา วิธีการ และสรุปผลที่ได้จากการศึกษาพร้อมอภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไป นันทิยา คุมพล (2545 : 8-9) กล่าวไว้ว่า ขั้นตอนการทาโครงงานมี 5ขั้นตอน ดังนี้ 1. การคิดการศึกษาค้นคว้า การสารวจ การสอบถาม เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหา และ /หรือการพัฒนาให้ดีขึ้น 2. การวางแผนการดาเนินงาน ตั้งแต่การเริ่มต้นจนจบให้เห็นภาพตลอดแนวแล้ว เขียนโครงงาน 3. การดาเนินงาน เริ่มตั้งแต่การนาเค้าโครงงานไปสู่การปฏิบัติ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการประมวลผล 4. การเขียนรายงานเป็นการนาเสนอรายงานต่อสาธารณะ เช่นเดียวกับการ ดาเนินงานอื่น ๆ ซึ่งมีสาระสาคัญ 3ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น (ปก คานา สารบัญ) ส่วนเนื้อหา (ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องระเบียบ วิธีดาเนินงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล) ส่วนอ้างอิง (บรรณานุกรม ภาคผนวก) 5. การนาเสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ข้อค้นพบจากการดาเนินงานในรูปแบบ ต่าง ๆเช่น การจัดบอร์ด จัดนิทรรศการ นาเสนอในที่ประชุมสัมมนาจัดพิมพ์เผยแพร่หรือ นาไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงหรือปฏิบัติจริง สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 9-12) ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการทาโครงงานไว้ 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทาโครงงานการเลือกหัวข้อโครงงานให้นักเรียน ศึกษาที่ง่ายที่สุด คือ ให้นักเรียนไปสารวจรวบรวมข้อมูลจากเรื่องที่เราจะสอนนักเรียน ตัวอย่าง
  • 7. 7 โครงงาน เช่น รวบรวมความรู้และข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในการช่วยเหลือตนเอง รวบรวมลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืชรอบ ๆ ตัว สารวจสภาพภูมิศาสตร์ของโรงเรียน หมู่บ้าน วัด รวบรวมความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในบ้านเป็นต้น 2. การออกแบบทางานครูอาจนาเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะปรึกษาแล้วนาหัวเรื่องที่เราต้องกา รมาวิเคราะห์ และควรจะมีแนววิเคราะห์ของผู้สอนเอง อาจใช้แบบ วิเคราะห์ได้ดังนี้ 2.1 ชื่อเรื่อง 2.2 ผู้ทาโครงงาน 2.3 ปัญหาหรือเหตุจูงใจในการทางาน 2.4 ตัวแปร (ถ้ามี) ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม 2.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2.6 แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะต้องศึกษา 2.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา 2.8 วัสดุอุปกรณ์ และค่าใช้จ่าย 3. การลงมือทาโครงงานมีขั้นตอนการศึกษาอย่างไร ทาอย่างไร เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร 4. การเขียนรายงานนักเรียนเขียนรายงานการทาโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่ นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครงงาน มีดังนี้ 4.1 ชื่อโครงงาน 4.2 ผู้จัดทาโครงงาน โรงเรียน พ.ศ. .......... 4.3 ชื่อครูที่ปรึกษา 4.4 บทคัดย่อ 4.5 กิตติกรรมประกาศ 4.6 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 4.7 วัสดุอุปกรณ์ของการศึกษาค้นคว้า 4.8 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 4.9 วิธีดาเนินการ 4.10 ผลการศึกษาค้นคว้า 4.11 สรุปผล 4.12 ประโยชน์ข้อเสนอแนะ 4.13 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 8. 8 5. การนาเสนอโครงงานการนาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนสาคัญ เพราะเป็นการ สะท้อนการทางานของนักเรียน ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทา การตอบข้อซักถาม บุคลิกภาพ ท่าทาง ท่วงทีวาจา ไหวพริบปฏิภาณ นักเรียนควรได้รับการบุคลิกภาพในการนาเสนอให้สง่าผ่าเผย พร้อมทั้งฝึกให้มีมารยาทในการฟังด้วย การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ 5.1 บรรยายแผ่นใส/สไลด์ 5.2 บรรยายประกอบแผงโครงงาน 5.3 การจัดนิทรรศการ 6. การวัดผล ประเมินผล การประเมินผลการทางาน โดยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทางานวัดตัวความรู้โดยการซักถาม หรือวิธีการอื่น ๆ ควรให้นักเรียนได้มีการประเมินตนเองประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น ๆ ที่มาเยี่ยมชม จากขั้นตอนการทาโครงงานดังที่กล่าวมา สรุปได้ ว่าขั้นตอนการทาโครงงานมีขั้นตอนสาคัญ 6 ขั้นตอน คือ 1) การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะทา โครงงาน 2) การวางแผนออกแบบการจัดทาโครงงาน 3) การดาเนินงาน/ลงมือปฏิบัติ 4) การเขียน รายงาน 5) การนาเสนอโครงงาน 6) การวัดผล ประเมินผล ในส่วนของการเขียนรายงานโครงงานได้มีผู้เสนอแนะดังนี้ ลัดดา ภู่เกียรติ (2546 : 361) ได้ให้ความเห็นว่า ในการเขียนการทาโครงงาน ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน เป็นปัญหาที่สนใจที่จะศึกษา กระชับ สั้น 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นการอธิบายถึงความเป็นมาเกี่ยวกับ ปัญหาที่จะสนที่จะศึกษาว่ามีความเป็นมาอย่างไร หรือเหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้ 5. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า เป็นการระบุความต้องการในการศึกษา 6. ขอบเขตของโครงงานที่จะศึกษา เช่นเวลาที่ใช้ในการศึกษา ประชากร หรือตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเป็นใครมาจากไหนมีจานวนเท่าใดเป็นต้น 7. สมมติฐานของการศึกษา ถ้าเป็นโครงงานทดลองมักมีคาตอบคาดเดาไว้ล่วงหน้า 8. วิธีดาเนินงาน เป็นการอธิบายแนวทางการศึกษาค้นคว้า และการออกแบบ การทดลองตั้งแต่ต้นจนสาเร็จสิ้นการดาเนินงาน 9. ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ เขียนให้ชัดเจนว่าเมื่อทาโครงงานเรื่อง ดังกล่าวแล้วจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง 10. เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม เป็นการบอกให้ผู้อื่นได้ทราบว่าได้
  • 9. 9 ศึกษาข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง สาหรับการลงมือทาโครงงานมีแนวทางดังนี้ ลัดดา ภู่เกียรติ (2547 : 365) ได้กล่าวว่า ในการลงมือทาโครงงานสิ่งสาคัญคือ การบันทึกผลการปฏิบัติงาน เมื่อทาการศึกษา หรือทดลองไปตามขั้นตอนและได้ผลของข้อมูลจาก การวิเคราะห์แล้ว ผู้ทาโครงงานจะต้องแปลผลและสรุปผลการทดลองด้วย พร้อมกับอภิปรายผล ของการศึกษาค้นคว้า หากไม่ตรงกับสมมติฐานนั้น เพื่อจะได้รู้ว่ามีข้อบกพร่องอะไรและผิดพลาด ตรงกระบวนการใด บันทึกข้อมูลให้สอดคล้องกับโครงงานที่ทา เช่น ทาเป็นตาราง แผนภูมิแท่ง กราฟ แผนภูมิรูปวงกลม สร้างแบบจาลอง สาหรับการเขียนรายงาน เป็นการเสนอผลงานของการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบของ เมื่อลงมือทาโครงงานแล้วจะต้องมีการบันทึกและเขียนรายงานเป็นเอกสารเพื่อขยายผล ให้ผู้อื่นได้รับทราบและเข้าใจถึงแนวคิด วิธีการศึกษาค้นคว้านั้นว่ามีผลอย่างไรบ้าง รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆกับโครงงานนั้น โดยใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้น ตรงไปตรงมา และครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. บทคัดย่อ เป็นการเขียนเรื่องที่ศึกษาโดยย่อ บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิธีการดาเนินการศึกษา และผลสรุปที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างย่อๆ ประมาณ 600คา หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ เอ 4 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เขียนรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและความสาคัญพร้อมทั้งเหตุผลที่เลือกศึกษาโครงงานนี้ 6. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า (เหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครง) 7. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามีและเหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครง) 8. วิธีการดาเนินการ (ให้บอกตั้งแต่การใช้วัสดุอุปกรณ์ อะไรบ้างใช้สารเคมี ชนิดใดปริมาณเท่าใด ลาดับขั้นตอนในการทางานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบทุกขั้นตอนอย่างละเอียด) 9. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษาที่ได้จากการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นตาราง แผนภูมิ ภาพวาด 10. สรุปผลของการศึกษาค้นคว้า เขียนอธิบายผลสรุปของการศึกษาค้นคว้า ว่าได้ผลเป็นอย่างไร ถ้าเป็นโครงงานประเภททดลอง ผลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐาน ที่ตั้งไว้อย่างไรบ้าง สรุปผลการศึกษาดังกล่าวเหมือนหรือต่างกับโครงงานของผู้อื่นหรือไม่อย่างไร มีข้อบกพร่องหรือข้อจากัดใดบ้างในการศึกษาครั้งนี้ 11. ข้อเสนอแนะ ให้เสนอแนะต่าง ๆที่คาดว่าควรจะปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะมีใคร
  • 10. 10 นาเรื่องทานองดังกล่าวไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและจากการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ได้ ประโยชน์อะไรบ้างสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หรือไม่ 12. เอกสารอ้างอิง บอกชื่อหนังสือ เอกสารต่าง ๆ รวมทั้งแหล่งข้อมูลอื่นที่ผู้ทาโครงงานใช้ในการศึกษาค้นคว้า อ้างอิง โดยเขียนให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 13. กิตติกรรมประกาศ เป็นการเขียนขอบคุณผู้ที่ให้ความร่วมมือทั้งบุคคล และหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในการทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีเป็นการยกย่องให้เกียรติ คนที่ช่วยเหลือซึ่งนิยมเขียนไว้หลังบทคัดย่อ หรือสุดท้ายของข้อเสนอแนะรูปแบบในการเขียน รายงานที่กล่าวมานี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามประเภทของแต่ละโครงงาน แต่สิ่งที่ผู้เขียนต้องคานึงถึง คือการเขียนให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจง่าย โดยไม่มีข้อสงสัยใช้ภาษาที่เหมาะสม ถูกต้อง เข้าใจง่าย รอบคลุมส่วนที่สาคัญทั้งหมดของโครงงาน 5. การแสดงผลงาน การแสดงผลงานเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงานหลังจากที่ได้มีการศึกษาและหาวิธีการใ นการแก้ปัญหาที่อยากรู้และได้ผลออกมาแล้วต้องการนาความรู้ที่ได้จากการศึกษา ทดลองนั้นมาเล่าให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบ ซึ่งผู้ทาโครงงานจะต้องคิดรูปแบบของการนาเสนอเองโดยการเขียนในรูปแบบรายงานเป็นเอกสาร หรือรายงานปากเปล่า หรือจัดนิทรรศการผลงานบางชิ้นอาจมีวัสดุประกอบรายงาน ซึ่งจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับโครงงานนั้นด้วย บางคนอาจมีความสามารถในการแสดงก็เหมาะที่จะใช้เป็นการนาเสนอเด็กบางกลุ่มอาจมีความสามารถในก ารใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และได้เรียนเกี่ยวกับโปรแกรมการเสนอด้วยโปรแกรม Power Point ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความต้องการของกลุ่ม ผลงานที่จะนาเสนอต่อชุมชนอาจทาในรูปแบบของโครงงาน โดยมีหัวข้อสาคัญที่จะนาเสนอและเขียนบรรยายในแผงโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 5.1 ชื่อผู้จัดทา 5.2 ชื่อที่ปรึกษา 5.3 ที่มาของโครงงาน 5.4 ชื่อโครงงาน 5.5 ปัญหาที่ต้องการศึกษา 5.6 สมมติฐาน (ถ้ามี) 5.7 วิธีการดาเนินการ (มีรูปประกอบด้วยจะดีมาก) 5.8 ผลการทดลอง
  • 11. 11 5.9 สรุปผล 5.10 ข้อเสนอแนะ ทั้งหมดที่กล่าวมาต้องเขียนด้วยความประณีต สวยงาม สามารถหาสิ่งประดับมาตกแต่งแผงโครงงานให้สวยงามได้ (สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย. 2537 : 11-15; อ้างอิง มาจาก ลัดดา ภู่เกียรติ. 2546 : 369) ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดแผนโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเข้าประกวดดังนี้คือ แผงโครงงานจะต้องประกอบด้วย 3 ด้านคือ ด้านหลังและด้านข้าง 2 ด้าน ส่วนด้านหน้าเปิดให้ผู้เข้าชมสามารถชมผลงานได้สะดวก แผงทั้ง 3 ด้านใช้ติดภาพแผนภูมิ คาอธิบายหากมีสิ่งประกอบอื่น ๆ ของโครงงานก็ให้จัดวางบนพื้นโต๊ะระหว่างทั้ง 3 ด้าน หรืออาจ ติดบนแผงได้ตามความเหมาะสมแผงโครงงานมีขนาดความยาว 120 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร และกว้างด้านละ 60 เซนติเมตร เพื่อให้สามารถพับเก็บได้เรียบร้อย การแสดงผลงาน อาจจะจัดในรูปแบบนิทรรศการ หรือ รายงานปากเปล่าโดยนาแผงโครงงานมานาเสนอไปพร้อม ๆกัน หรือเป็นการจัดแสดงบนเวทีหรือเสนอผลงานด้วยแผ่นใส หรืออธิบายประกอบสไลด์ หรือวีดีทัศน์ เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแสดงออกถึงการทางานและผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง หรือ อเนก ศิปนิลมาลย์ (2542 : 23) ได้จัดรูปแบบหรือขั้นตอนการศึกษาการทาโครงงาน 2 รูปแบบ คือแบบไม่เป็นทางการและแบบเป็นทางการดังนี้ 1. แบบไม่เป็นทางการ การจัดกิจกรรมโครงงานแบบนี้ไม่ว่าจะเริ่มจากความสนใจ ของนักเรียนเอง หรือจากการกระตุ้นของครู เมื่อนักเรียนเสนออยากที่จะศึกษา ครูต้องทาหน้าที่ สนับสนุน และมุ่งทาความกระจ่างว่า เป้าหมายที่ต้องการศึกษา คืออะไร แล้วดาเนินการให้ถึง เป้าหมายนั้น ด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยครูทาหน้าที่ให้คาปรึกษา หรืออาจดาเนินการขั้นตอนดังนี้ 1.1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษาตามข้อสงสัยของนักเรียนด้วยตัวของนักเรียนเอง หรือเกิดจากครูกระตุ้น 1.2 สร้างแผนที่ความคิด เป็นการแสดงเค้าโครงความคิด 1.3 การทางานภาคสนาม คือ การลงมือปฏิบัติการศึกษาค้นคว้าจริง 1.4 บทสรุป คือ การเสนอรายงานผลที่ได้ 2. แบบเป็นทางการ การจัดกิจกรรมแบบนี้ จะต้องมีการเขียนโครงร่างโครงงาน และเมื่อทาสาเร็จแล้วก็จะต้องเขียนรายงานโครงงาน ซึ่งกระบวนการเหมือนการทาการวิจัย หรือการ ทาวิทยานิพนธ์ของนิสิต นักศึกษาปริญญาโท แต่สาระง่ายกว่าเท่านั้น การดาเนินงานมีขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ขั้นหาหัวข้อที่จะทาโครงงาน ในระหว่างที่ครูสอนความรู้พื้นฐาน ถ้านักเรียนมีความสงสัยอยากหาคาตอบหรืออยากศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ครูสอนการพูดทางโทรศัพท์ นักเรียนสงสัยว่าก่อนพูดจะต้องต่อโทรศัพท์อย่างไร ครูไม่ควรตอบนักเรียน แต่ควรดึงความสนใจนี้ มาฝึกฝนให้นักเรียนค้นหาคาตอบด้วยตัวนักเรียนเองในรูปโครงงาน
  • 12. 12 แต่ถ้านักเรียนไม่รู้ว่าเขาควรสงสัยใคร่รู้เรื่องอะไรบ้าง ครูควรกระตุ้น เช่น ถามนักเรียนว่าทาไม....? ในระหว่างที่กาลังสอนเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือพานักเรียนออกมาศึกษาในเรื่องสารทางโทรศัพท์ ครูกับนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ประเด็นของการเรียนรู้โดยใช้แผนที่ความคิดดังนี้ ครูควรถามนักเรียนว่ามีเรื่องอะไรที่นักเรียนต้องการเรียนรู้การใช้เวลาร่วมกันในการหาความสนใจของนักเรี ยน การปรึกษากันนี้ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน เพื่อร่วมมือกันให้คาแนะนานักเรียนในการเลือกเรื่องที่น่าสนใจ และให้คาปรึกษาในขั้นทาโครงการ และเมื่อได้หัวข้อแล้วก็ดาเนินการในขั้นตอนต่อไป 2.2 ขั้นศึกษาเอกสารและความเป็นไปได้ของการทาขั้นนี้ครูควรสามารถสนทนา กับนักเรียนถึงเอกสารและแหล่งเรียนรู้ที่จะหาได้ ถ้านักเรียนมีเอกสารและแหล่งเรียนรู้ไม่มาก ครู อาจแนะนาหรือเป็นธุระจัดเตรียมให้ หรืออานวยความสะดวกในการรวบรวมหรือติดต่อให้ได้ข้อมูล ที่ต้องการ ครูควรให้คาปรึกษาทั้งในช่วงเวลาที่กาหนดและในช่วงที่นักเรียนต้องการปรึกษาหารือ หรือความช่วยเหลือ โดยครูกับนักเรียนทาแผนการพบปะเพื่อให้คาปรึกษา หรือรายงาน ความก้าวหน้าร่วมกัน และเมื่อพบว่าหัวข้อที่ต้องการทาโครงงานนั้นมีความเป็นไปได้ และมีเอกสาร และแหล่งเรียนรู้มากพอที่จะได้ดาเนินในขั้นต่อไป 2.3 ขั้นเขียนและเสนอร่างโครงงาน กรอบหัวข้อในการเขียนโครงร่างโครงงาน ควรมีหัวข้อดังนี้ (ครูอาจเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมตามประเภทของโครงงาน) โครงร่างโครงงาน (ระบุชื่อกลุ่มวิชา) ชื่อโครงงาน “ระบุชื่อโครงงาน” คณะ (ผู้ทา) “ระบุชื่อ ถ้าหลายคนก็ใช้คณะ ผู้ทา” ครูที่ปรึกษา “ระบุชื่อครูที่ปรึกษา” ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน เรื่อง และการ ค้นคว้าเบื้องต้น จุดประสงค์ (แสดงวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงงาน) สมมติฐาน (ถ้ามี) คือ คาตอบที่คาดเดาเอาว่าจะเป็นเช่นนั้น ตัวแปรศึกษา ถ้ามี) ระบุตัวแปรต้น (อาจเรียกต้นเหตุ) ตัวแปร ตาม (อาจเรียกผล) และตัวแปรที่ต้องควบคุม (อาจเรียกการควบคุม) อุปกรณ์ที่ใช้ (ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้บนการทาโครงงานให้เสร็จ) วิธีการศึกษา (ระบุรูปแบบของการศึกษา เช่น ใช้ทดลอง หรือใช้การศึกษาค้นคว้า เป็นต้น ขั้นตอนและวิธีการในการเก็บข้อมูล กาหนดพื้นที่ กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการสรุปผล) แผนการทางาน (ระบุงานที่ทาโครงงานตลอดจนระบุวันเวลาที่จะพบครูที่ปรึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ (ระบุเมื่อทาเสร็จแล้ว โครงงานนี้จะนาไปใช้ประโยชน์ในทางไหนบ้าง ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์บ้าง) เมื่อเขียนเสร็จ นักเรียนก็จะเสนอโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาซึ่งครูจะพิจารณาและให้ข้อสังเกต นักเรียนกลับมาแก้ไขและส่งใหม่ตามระยะเวลาที่กาหนด ในขั้นนี้นักเรียนและครูควรกาหนดเกณฑ์การทางานเพื่อใช้ในการตีค่าร่วมกัน เป็นการกระตุ้นนักเรียนว่าทาอย่างไรแล้ว จะได้ระดับคะแนนเท่าใด เมื่อผ่านแล้วจึงลงมือศึกษา ซึ่งเป็นขั้นต่อไป
  • 13. 13 2.4 ขั้นลงมือศึกษา เมื่อวางแผนเรียบร้อยแล้ว นักเรียนก็เริ่มดาเนินงานทาโครงงานตามที่ตนวางแผนไว้ ระยะนี้ครูควรติดตามการทางานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ และให้คาปรึกษา ตลอดจนให้ความคิดเห็นในการปรับเปลี่ยนหรือแก้อุปสรรค์ที่เกินความสามารถของนักเรียน การให้คาปรึกษานั้น ครูควรใช้เวลามากขึ้นตามระดับชั้นของนักเรียนในระยะเวลาการลงมือศึกษานี้ ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเขียนบันทึกการทางานตั้งแต่เริ่มต้นจนสรุป ได้ผลการศึกษาออกมาเพราะจะสะดวกต่อการทางานในขั้นต่อไป มีข้อควรระมัดระวังคือ ถ้านักเรียนมีโครงงานหลายเรื่อง หรือใหญ่เกินตัว จะทาให้เกิดความยุ่งยากสับสน และท้อถอยให้ครูควรจากัดโครงงานที่นักเรียนทาให้สาเร็จที่ละ โครงงานเป็นโครงงานที่เหมาะกับระยะเวลา และความสามารถของนักเรียน 2.5 ขั้นการเขียนรายงาน ในระหว่างลงมือศึกษา นักเรียนควรได้บันทึกข้อมูล ต่าง ๆที่ได้และจัดระบบให้เป็นหมวดหมู่เพื่อสะดวกต่อการเขียนรายงานและเมื่อสรุปแล้ว จึงนาผล มาเขียนรายงาน ซึ่งกรอบของการเขียนรายงานมีดังนี้ (ครูอาจเปลี่ยนแปลงตามประเภทของโครงงาน) รายงาน ........................ ชื่อโครงงาน ........................ ระยะเวลาที่จัดทา (ระบุวัน /เดือน /ที่เริ่ม จนสิ้นสุดโครงงาน) ผู้จัดทา (ระบุผู้จัดทา และชั้นเรียน) โรงเรียน (ระบุชื่อโรงเรียน และจังหวัดที่จัดตั้ง) ครูที่ปรึกษา (ระบุชื่อครูที่ปรึกษา) บทคัดย่อ (ระบุชื่อ โครงงาน จุดประสงค์ วิธีการศึกษา สรุปผลและข้อ ค้นพบ) กิตติกรรมประกาศ (ประกาศขอบคุณ ผู้สนับสนุนจนทาให้งานสาเร็จ ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน..................... (ให้นาส่วนนี้จากโครงร่างโครงงานมาเขียนลง) จุดประสงค์ (ให้นาจุดประสงค์จากโครงร่างมาเขียนลง) สมมติฐาน (ถ้ามี) ให้นาจากโครงร่างมาเขียนลง) วิธีการศึกษา (ให้นาส่วนนี้จากโครงร่างโครงงานมาเขียนลง) สรุปผล (ให้นาผลที่เกิดขึ้น และข้อสรุปที่ได้ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น เสนอความคิดเห็นถึงการเรียนรู้ที่ได้ และข้อเสนอแนะจากการศึกษา หรือสิ่งที่ควรจะศึกษาต่อในอนาคต) เอกสารอ้างอิง (ระบุเอกสารและบุคคลที่ใช้ในการศึกษา)
  • 14. 14 การรายงานโครงงานลักษณะนี้เหมาะสาหรับการนาเสนอผลงานบางครั้งครูอาจกาหนดกรอบการเ ขียนให้บท ๆก็ได้ (เหมาะสมสาหรับนักเรียนชั้นสูง ) ซึ่งมีกรอบการเขียน ดังนี้ 1. ปก ให้ระบุ“รายงานโครงงานเรื่อง..............................” 2. บทคัดย่อ ให้ระบุดังตัวอย่าง ชื่อโครงงาน............................................. ผู้จัดทา...................................................... ที่ปรึกษา.................................................... โรงเรียน.............................................ปีที่ทา........................ 3. กิตติกรรมประกาศ ระบุคาขอบคุณแก่ผู้ให้การสนับสนุนจนโครงงาน 4. บทที่ 1 บทนา (ให้ลอกโครงร่างโครงงานในส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาและความสาเร็จของเรื่องที่ศึกษา จุดประสงค์ สมมติฐาน ตัวแปรที่ศึกษา และประโยชน์ที่ได้รับ) 5. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (ให้การค้นคว้าเบื้องต้นในโครงร่างมาลงด้วยและเพื่อเพิ่มเติมจากสิ่งที่ได้ค้นคว้าเพิ่ม) 6. บทที่ 3 วิธีการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล (ให้นาวิธีการศึกษาอุปกรณ์ที่ใช้ และแผนการทางานในโครงร่าง หรือที่ปรับใหม่มาลง) 7. บทที่ 4 ผลการศึกษา (ให้ระบุผลการศึกษาค้นคว้าหรือค้นพบที่ได้) 8. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ (สรุปผลการศึกษาให้เขียนชื่อโครงงาน จุดประสงค์ วิธีการศึกษาและผลการศึกษาหรือข้อค้นพบที่ได้อย่างย่อ ๆ เพื่อแสดงให้เห็นความสอดคล้องว่าผลการศึกษาเป็นไปตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ให้นาสรุปผลการศึกษานั้นเขี ยนลงในบทคัดย่อ อภิปรายผล ให้นาข้อสรุปที่ได้ หรือข้อค้นพบมาเขียนประกอบ คาอธิบายในทานองว่า มีสาเหตุจากอะไร ผลการศึกษาสอดคล้องหรือขัดแย้งกับชีวิตจริงหรือผู้ค้นพบหรือไม่ เพราะเหตุใด หรือการศึกษาไมเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ เพราะเหตุใดหรือก่อนศึกษาคิดอย่างไร หลังศึกษาคิดต่างเดิมอย่างไร เป็นต้น ข้อเสนอแนะ ให้ระบุสิ่งที่ศึกษา เพื่อค้นหาความรู้อย่างต่อเนื่องลึกซึ้งที่ต่อเนื่องจากเรื่องเดิม เพื่อหาคาตอบที่ยังสงสัยอยู่ หรือเรื่องใหม่ที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น 9. บรรณานุกรม (ให้ระบุรายการหนังสือ วัสดุสารสนเทศ หรือบุคคลที่นามาใช้ประกอบในการศึกษาค้นคว้า โดยจัดลาดับตัวอักษรของคาแรกในแต่ละรายการ) 10. ภาคผนวก (คือ สาระในส่วนที่ไม่ควรจะใส่ไว้ในบทใด ๆ เพราะจะทาให้สาระสาคัญในบทนั้นไม่ต่อเนื่อง หรือส่วนที่ผู้ศึกษาเห็นว่าควรเพิ่มเติม
  • 15. 15 หรือให้ผู้สนใจมีความรู้ที่สมบูรณ์ขึ้น เช่นประวัติ หรือความรู้ในรายละเอียดของเรื่องที่ศึกษา แบบสอบถาม แบบกรอกข้อมูลการทดลอง และภาพประกอบก่อน ระหว่าง หรือหลังการศึกษา เป็นต้น สาหรับขั้นเสนอผลการศึกษาและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับผู้อื่นนารายงานผลการศึกษา มาปรึกษาร่วมกันว่าจะนาเสนอทั้งส่วนที่เป็นกระบวนการและผลอย่างไร การนาเสนอการเปิดโอกาส ให้ผู้จัดทาโครงงานได้นาเสนอในห้องเรียนเพื่อฝึกทักษะ การนาเสนอ และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ผลงานที่นาเสนอสามารถทาได้หลายแบบ เช่น จุลสาร ทารายงาน สิ่งประดิษฐ์ การจัดนิทรรศการ หุ่นจาลอง ทาแผนภูมิ เป็นต้น ส่วนวิธีการนาเสนอก็ทาได้หลายแบบ เช่น บรรยาย การเล่าสู่กันฟัง การแสดงละคร การประชุมอภิปราย เป็นต้น เมื่อสิ้นภาคเรียน ครูโรงเรียน อาเภอ หรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดนิทรรศการโครงงาน เสนอโครงงานหรือ ประกวดโครงงาน เพื่อเปิดเวทีให้ผู้ทาโครงงานโดยเผยแพร่แลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับผู้อื่น และในส่วนขั้นประเมินผลตามสภาพที่แท้จริงมีการตั้งเป้าหมายและการตรวจสอบ โดย ตีค่าความสามารถ ซึ่งตั้งอยู่บนฐานของงานที่ปฏิบัติจริง การแสดงความรู้ความสามารถที่แท้จริง เทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร่วมกันระหว่างนักเรียนกับครู หรือเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนก็ได้ การตีค่ามุ่งทั้งวิธีทางานและผลงานดังนี้ 1. การใช้น้าหนักกับหลักฐานที่นักเรียนนามาแสดงแฟ้ มสะสมงาน 2. การให้น้าหนักแนวคิด ข้อคิดเห็น ข้อค้นพบ หรือการเรียนรู้ที่ได้ 3. การให้น้าหนักการเชื่อมโยงผลการศึกษากับการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4. การให้น้าหนักกับกระบวนการทางานและการนาเสนอของนักเรียน เกณฑ์การประเมินอาจใช้การประเมินค่า 3-5 ระดับ ข้อกระทงควรครอบคลุม กระบวนการทา การนาเสนอ และผลงานควรกาหนดเกณฑ์ขั้นต่าของโครงการเอาไว้ ถ้าต่ากว่า เกณฑ์ควรนาไปปรับปรุงแก้ไข การประเมินควรเป็นคณะกรรมการ ประกอบด้วยคณะครู ตัวแทน นักเรียนตัวแทนผู้ปกครอง เป็นต้น โดยนาคะแนนมารวมกันเพื่อสรุป การประเมินอาจใช้การ ตรวจสอบจากหลักฐาน หรือปากเปล่า หรือทั้ง 2 อย่างก็ได้ ซึ่งต้องแยกประเด็นออกจากกัน ผลงานที่นาเสนอถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ควรใช้คาว่า “ยังไม่สมบูรณ์” หรือผู้ทาโครงงานจะได้นาไป ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ก่อนถึงจะผ่าน ซึ่งปกติการทาโครงงานจะไม่มีการสอบตก การประเมินผลโครงงานควรจะมีการประเมิน 4ตอนด้วยกันคือ 1. ประเมินโครงร่างโครงงาน ตั้งแต่ฉบับแรก ฉบับแก้ไข และฉบับสุดท้าย 2. ประเมินรายงานโครงงาน ตั้งแต่ฉบับแรก ฉบับแก้ไข และฉบับปรับปรุง 3. ประเมินผลการทาโครงงาน เป็นการประเมินผลตั้งแต่เริ่มทาโครงงาน จนถึง การเสนอผลงานประเมินการสอบด้วยปากเปล่า เป็นการประเมินที่ให้นักเรียนนาเสนอโครงงานของ ตนเองด้วยปากเปล่า ประกอบผลงาน หลังจากนั้นคณะกรรมการประเมินซักถามถึงโครงงานที่ทา ออกมาให้ประจักษ์ เมื่อเป็นที่พอใจของคณะกรรมการแล้วก็ให้นักเรียนออกนอกห้อง คณะกรรมการ
  • 16. 16 ปรึกษาและตัดสิน แล้วให้นักเรียนเข้ารับข้อมูลย้อนกลับ ถ้ามีการแก้ไขก็ให้นากลับไปปรับปรุง แก้ไขตามระยะเวลาที่กาหนดพร้อมกับบอกผลการตัดสินการประเมินและประเด็นที่ประเมิน 6. บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน กรมวิชาการ (2544 : 31) กล่าวถึงบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบโครงงานไว้ดังนี้ 1. กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสงสัยในการทาโครงงาน 2. แนะนาให้นักเรียนให้รู้จักหลักการและวิธีการในการทาโครงงาน 3. จัดกิจกรรมเพื่อช่วยให้นักเรียนได้เห็นปัญหา 4. แนะนาแนวทางแก่นักเรียนในการเลือกปัญหาที่จะศึกษา 5. ให้คาปรึกษาแก่นักเรียนในการวางแผนดาเนินงานโครงงาน 6. อานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการทาโครงงาน 7. ติดตามการทาโครงงานของนักเรียนทุกระยะ และให้คาแนะนา ช่วยเหลือเมื่อ จาเป็น 8. ให้คาปรึกษาแนะนาแก่นักเรียนในการเขียนรายงานโครงงาน 9. ให้โอกาสนักเรียนได้แสดงผลงานของตน ในโอกาสและรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 10. ประเมินผลการทาโครงงานของนักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการ ทาโครงงานของนักเรียน ได้ดียิ่งขึ้น สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (2545 : 11) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูที่ปรึกษาไว้ดังนี้ 1. ใช้วิธีต่าง ๆที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อเรื่องโครงงาน 2. จัดหาสิ่งอานวยความสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในการทางาน 3. ติดตามการทางานอย่างใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษาควรคานึงความปลอดภัยเป็น สิ่งสาคัญ 4. ให้กาลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ไขปัญหาต่อไป 5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ ผู้รู้ เอกสารต่าง ๆ ในการศึกษาค้นคว้า ประเมินผลงาน ส่งผลงานเข้าประกวด จัดเวทีให้แสดงความรู้ ความสามารถ สรุป ลักษณะที่สาคัญของการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดกิจกรรมที่เป็นกระบวนการซึ่งต้องอาศัยการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ และมีกรอบแนวคิดประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5ขั้นตอน คือ 1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน 2. การกาหนดปัญหาที่จะศึกษา
  • 17. 17 3. การวางแผนเพื่อศึกษา/หาคาตอบ 4. การดาเนินการตามแผน 5. การสรุปและสะท้อนผล จากทั้งหมดที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ครูจะเป็นผู้คอยอานวยความสะดวก ให้คาปรึกษาตลอดจนช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ในสิ่งที่สนใจ โดยอาศัยทักษะกระบวนการที่มีระบบนาไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้จริงตามธรรมชาติอย่างเต็มศั กยภาพ จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่า การพัฒนาบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน หมายถึง การพัฒนาครูผู้สอนที่มีความสนใจในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยวิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศ เพื่อให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ สามารถกาหนดการสอนล่วงหน้าและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานได้สัมฤทธิ์ผล