SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
คุณธรรมจริยธรรมของครู
คุณธรรมจริยธรรมของ
ครู
1. ความสาคัญของคุณธรรมจริยธรรม
ต่อครูและวิชาชีพ
2. คุณธรรรมจริยธรรมที่สาคัญใน
วิชาชีพครู
3. ปัญหาคุณธรรมจริยธรรมของครู
1. ความสาคัญของ
คุณธรรมจริยธรรมต่อครู
และวิชาชีพครู
ความหมายของ
คุณธรรมจริยธรรมคุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ กิริยาที่ควรปฏิบัติ
คุณธรรมและจริยธรรมมีความหมายใกล้เคียงกัน มีความสัมพันธ์กัน โดยคุณธรรม
เป็นสภาพที่พึงประสงค์ในด้านความดี ควรกระทา ความถูกต้อง ส่วนจริยธรรมเป็นการ
ปฏิบัติไปสู่สภาพที่พึงประสงค์ คุณธรรมจึงเป็นสภาพทางจิตใจที่จะโน้มนาการกระทาให้
เกิดการประพฤติปฏิบัติดี
ดังนั้นคุณธรรมเป็นปัจจัยที่เกื้อหนุนให้เกิดจริยธรรม และจริยธรรมเป็นผลของการมี
คุณธรรม
ความสาคัญของคุณธรรมจริยธรรม
ต่อวิชาชีพครู1. ความสาคัญต่อการดารงชีวิตประจาวัน
2. ความสาคัญต่อการปฏิบัติงานในวิชาชีพครู
3. ความสาคัญของคุณธรรมจริยธรรมต่อวิชาชีพครู
2. คุณธรรมจริยธรรมที่
สาคัญในวิชาชีพครู
คุณธรรมของความเป็ น
คน 1. ความรู ้รอบ หมายถึง การเล็งเห็น การหยั่งรู้โดยง่ายและชัดเจนว่าอะไร
ควรประพฤติ อะไรไม่ควรประพฤติ การแสวงหาความรู้
2. ความเข้มแข็ง หมายถึง การกล้าเสี่ยง การเผชิญความ
ยากลาบาก ความเข้มแข็งทางจิตใจ ทางร่างกาย
3. ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง
ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใด ๆ
4. ความยุติธรรม หมายถึง ความถูกต้อง ความชอบธรรม มีเหตุมีผล
ตามกฎหมายกาหนดในขณะเดียวกัน
คุณธรรมตามหลักศาสนา
ศาสนาศาสนาพุทธ คนมีศีลธรรมหรือมีมนุษยธรรมที่เรียกได้ว่าเป็นอารยชน เป็นผู้มีธรรม 10 ข้อ
เรียกว่า กุศลธรรมบถ (ทางทากรรมดี) หรือธรรมจริยาซึ่งจัดเป็นอารยธรรมที่ครบถ้วนสมบูรณ์โดยทาให้
คนเจริญขึ้นพร้อมทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ
ศาสนาคริสต์หลักคุณธรรมจริยธรรมสาคัญของศาสนาคริสต์ คือ ความรัก ซึ่งมี 2 ลักษณะ
คือความรักในพระเจ้าซึ่งเป็นความรักที่แท้จริงสูงสุด และความรักในเพื่อนมนุษย์ การปฏิบัติความรักแท้
จะต้องกระทา
ศาสนาอิสลาม คุณธรรมในศาสนาอิสลาม หมายถึง การที่มนุษย์เคารพภักดีต่ออัลลอฮ์
เสมือนหนึ่งว่ามองเห็นพระองค์ การมีคุณธรรมจึงหมายถึงการที่มุสลิมทุกคนจะต้องตระหนักว่าการ
ดาเนินชีวิตของตนทุกอิริยาบถ และทุกการกระทาของตนพึงอยู่ระหว่างการภักดี การระลึกถึงพระองค์
กระทาได้หลายวิธี
คุณธรรมของการเป็ น
ข้าราชการที่ดี1. พึ่งตนเอง สามารถพึ่งตนเองในการทางานและการใช้ชีวิต
2. พอดี เป็นข้าราชการที่ต้องทางาน ใช้ชีวิต และวางตัวอย่างพอดี
พอควร โดยยึดหลักความเหมาะสม สามารถปรับตัวได้ทันโลก
3. พอเพียง การทางานของข้าราชการจะต้องครอบคลุมหลักความ
รอบคอบ มีเหตุผลและมีความเพียงพอทั้งในเรื่องของขอบเขตของงานและความ
ครบถ้วน โดยรับผิดชอบผลงานต่อสังคม
4. พอใจ ข้าราชการต้องพอใจในสถานภาพของตน และเน้นความพึง
พอใจของประชาชนจากผลงานของตนที่มีประสิทธิภาพ
จริยธรรม
ของครูพรหมวิหาร 4
เมตตา คือ ความรัก ความปรารถนาดี มีไมตรี
กรุณา คือ ความสงสาร อยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์
มุทิตา คือ ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข
อุเบกขา คือ ความมีใจเป็นกลาง มองตามความเป็นจริง
โดยวางจิตเรียบสม่าเสมอ
จริยธรรมของ
ครู (ต่อ)มรรค 8 คือเป็นข้อปฏิบัติอันพอดี ทางสายกลาง
1. สัมมาทิฏิิความเห็นที่ถูกต้อง
2. สัมมาสังกัปปะ ความคิดที่ถูกต้อง
3. สัมมาวาจา วาจาที่ถูกต้อง
4. สัมมากัมมันตะ การปฏิบัติที่ถูกต้อง
5. สัมมาอาชีวะ การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง
6. สัมมาวายามะ ความเพียรที่ถูกต้อง
7. สัมมาสติการมีสติที่ถูกต้อง
8. สัมมาสมาธิการมีสมาธิที่ถูกต้อง
จริยธรรมของครู
(ต่อ)ฆราวาสธรรม แปลว่า คุณสมบัติของผู้ประสบความสาเร็จในการดาเนินชีวิตทางโลก
สัจจะ แปลว่า จริง ตรง แท้ มีความซื่อสัตย์เป็นพื้นฐาน เป็นคนจริงต่อความเป็น
มนุษย์ ทมะ แปลว่า ฝึกตน ข่มจิต และรักษาใจ บังคับตัวเองเพื่อลดและละกิเลส
ขันติแปลว่า อดทน ไม่ใช่แพียงแต่อดทนกับคาพูดหรือการกระทาของผู้อื่นที่เราไม่
พอใจ จาคะ แปลว่า เสียสละ บริจาคสิ่งที่ไม่ควรมีอยู่ในตน
จริยธรรมของ
ครู (ต่อ)สังคหวัตถุ 4 เป็นหลักธรรมที่ให้แนวคิดเกี่ยวกับการยึดเหนี่ยวจิตใจบุคคล
ทาน หมายถึง การให้ ครูอาจารย์จะต้องให้คาแนะนาสั่งสอน ให้
ความรู้และความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ
ปิ ยวาจา หมายถึง พูดจาด้วยน้าใจหวังดี มุ่งให้เป็นประโยชน์และเกิด
ผลดี ทาให้เกิดความเชื่อถือและเคารพนับถือ
อัตถจริยา หมายถึง การประพฤติอันเป็นประโยชน์ การขวนขวาย
ช่วยเหลือ กิจการสาธารณประโยชน์
สมานัตตตา หมายถึง การทาตนให้เสมอต้นเสมอปลาย ตลอดจนการ
วางตัวให้เหมาะแก่ฐานะ ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม
จริยธรรมของ
ครู (ต่อ)อิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมที่ทาให้ทางานประสพความสาเร็จ ประกอบด้วย
ฉันทะ คือ ความพึงพอใจ ความต้องการที่จะทา ใฝ่ใจรักจะทาสิ่งนั้นอยู่
เสมอ และปรารถนาทาให้ได้ผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป
วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นเพียรประกอบสิ่งนั้น ๆ ด้วยความพยายาม
เข้มแข็งอดทน
จิตตะ คือ ความคิดตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทาและทาสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิต
ฝักใฝ่ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านจากสิ่งที่ต้องรับผิดชอบ
วิมังสา คือ ความไตร่ตรอง หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญตรวจตราหา
เหตุผล และมีการวางแผน ปรับปรุงงานอยู่เสมอ
จริยธรรมของ
ครู (ต่อ)กัลยาณมิตร คือ มิตรแท้ เพื่อนแท้
ปิ โย น่ารัก
ครุ น่าเคารพ
ภาวนีโย น่าเจริญใจ
วตฺตา จ รู้จักพูดให้ได้ผล
วจนกฺขโม อดทนต่อถ้อยคา
คมฺภีรฺฺจ กถ กตฺตา แถลงเรื่องล้าลึกได้
โน จฏิาเน นิโยชเย คือ ไม่แนะนาในเรื่องเหลวไหล
จริยธรรมของ
ครู (ต่อ)ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม 10 คือจริยวัตร 10
1. ทาน คือ การให้
2. ศีล คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ
3. บริจาค คือ การเสียสละความสุขส่วนตนเพื่อความสุขส่วนรวม
4. ความซื่อตรง คือ การสุจริตต่อหน้าที่การงานของตน ต่อมิตรสหาย ต่อองค์กร
5. ความอ่อนโยน คือ การมีอัธยาศัยอ่อนโยน
6. ความเพียร คือ ความเพียรพยายามในการทาความสุขเพื่อส่วนรวม
7. ความไม่โกรธ คือ การไม่แสดงอาการโกรธ
8. ความไม่เบียดเบียน คือ การดาเนินชีวิตไปตามทางสายกลาง
9. ความอดทน คือการรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ มีความมั่นคงหนักแน่นไม่หวั่นไหว
จริยธรรมของครู
(ต่อ)ความซื่อสัตย์สุจริต อยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพและคุณลักษณะครูที่ดี
1. ถ่ายทอดความรู้โดยไม่ปิดบังอาพราง
2. ไม่เบียดบังแรงงานหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
3. ไม่เบียดบังทรัพย์สินส่วนรวมหรือส่วนราชการไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง
4. ไม่อวดอ้างความสามารถเกินความจริง
5. ไม่นาหรือยอมให้นาผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็นภัยต่อมนุษยชาติ
6. ใช้เวลาราชการเพื่อประโยชน์ทางราชการอย่างเต็มที่
7. ไม่ชักชวนศิษย์กระทาในสิ่งที่เสื่อมเสีย
8. เข้าสอนและเลิกสอนตามเวลาที่กาหนด
9. ไม่ประจบสอพลอผู้บังคับบัญชาเพื่อประโยชน์ส่วนตน
10. ปฏิบัติหน้าที่อย่างดีทั้งต่อหน้าและลับหลังผู้บังคับบัญชา
11. เป็นบุคคลรักษาคามั่นสัญญา
จริยธรรมของครู (ต่อ)
จิตสาธารณะ
จิตสาธารณะ (Public Mind) หรือจิตสานึกสาธารณะ (Public
Consciousness) หมายถึง การรู้จักเอาใจใส่ เป็นธุระ มีสวนร่วมในกิจกรรมหรือ
สถานการณ์ของส่วนรวม ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันในสังคมด้วยความเต็มใจ โดยไม่
มุ่งหวังสิ่งตอบแทน
เสียสละต่อส่วนรวม
เสียสละ ไว้ว่า ให้โดยยินยอมให้ด้วยความเต็มใจ การละความเห็นแก่ตัว การให้ปันแก่คน
ที่ควรให้ด้วยกาลังกาย กาลังทรัพย์ กาลังสติปัญญา รวมทั้งการรู้จักสลัดทิ้งอารมณ์ร้ายใน
3. ปัญหาคุณธรรม
จริยธรรมครู
ปัญหาสาคัญของการขาดความรู ้ทาง
คุณธรรมจริยธรรม1. การไม่มีความเข้าใจในหลักธรรมคาสอนตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเพียงพอและชัดเจน ถูกต้อง
เช่น ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับหลักไตรสิกขา ได้ถูกต้อง
2. การไม่มีความเข้าใจในหลักธรรมของศาสนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อครูจะได้มีความเข้าใจเมื่อมี
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลที่นับถือศาสนาแตกต่างกันหรือเมื่อต้องทาการสอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
3. การไม่มีความเข้าใจคุณธรรมจริยธรรมแต่ละประการนั้นประกอบด้วยคุณธรรมจริยธรรมย่อย ๆ
เช่น การจะพัฒนาให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์นั้น คุณธรรมพื้นฐานที่จะนาไปสู่ความซื่อสัตย์คืออะไร
4. ขาดความเข้าใจเครือข่ายหรือชุดของคุณธรรมจริยธรรม
ปัญหาเจตคติทาง
คุณธรรมจริยธรรม
1. การไม่เห็นคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
2. ความท้อถอยในการปฏิบัติตามคุณธรรมจริยธรรม
3. ความสับสนทางจริยธรรม
ปัญหาทักษะทางคุณธรรม
จริยธรรม
1. การมีทักษะทางคุณธรรมจริยธรรมที่ไม่ครบถ้วน
2. การไม่สามารถสร้างเครือข่ายหรือชุดของคุณธรรมจริยธรรม
3. การไม่สามารถประยุกต์ใช้กับสถานการณ์และบุคคลที่หลากหลาย
4. การเลือกปฏิบัติ
4. แนวทางการพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรมครู
การเข้าใจความหมายและเป้ าหมาย
ที่ถูกต้องมานะ ในภาษาบาลี หมายถึง ความถือตัว ต้องการเด่นเหนือคนอื่น ต้องการความ
ยิ่งใหญ่ แต่คนทั่วไปจะมีความเข้าใจว่า มานะ หมายถึง ความเพียรพยายาม ความ
อดทน เช่น ลูกต้องมานะพากเพียรเรียนหนังสือจะได้เป็นใหญ่เป็นโตและร่ารวย
สันโดษ เป้าหมายของสันโดษ คือ เพื่อให้คนมีความพอใจในสิ่งที่ได้มาด้วยความ
เพียรพยายามของตนเองโดยสุจริตไม่อยากได้ในสิ่งที่ไม่ได้ทาเองหรือเป็นของคนอื่น
สันโดษจึงป้องกันความโลภและอยากได้ของของคนอื่นโดยง่ายและป้องกันการกระทา
ทุจริต
การพัฒนาคุณสมบัติของผู้มี
จรรยาบรรณ
1. ผู้ที่ยึดผลลัพธ ์หรืออรรถประโยชน์ หมายถึง
ผู้ปฏิบัติงานโดยยึดผลลัพธ์ของงานหรือประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดขึ้น ทั้งต่อตน
และส่วนรวมทั้งนี้เน้นที่คุณภาพเป็นสาคัญ
2. เป็ นผู้ยึดหลักความสัมพันธ ์ หมายถึง เป็นผู้มี
ความสัมพันธ์อันดีต่อผู้อื่นไม่ว่าจะเป็นระดับเดียวกัน ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือ
ผู้บังคับบัญชา โดยเฉพาะกับผู้รับบริการและประชาชน รู้จักการเคารพซึ่งกัน
และกัน ให้ความช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน มีความสามัคคี รู้จักการทางานเป็นทีม
การพัฒนาเป็ นชุด
จริยธรรมเนื่องจากคุณธรรมจริยธรรมแต่ละประการจะมีคุณธรรมจริยธรรมอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กัน
และประกอบกันเพื่อให้เกิดคุณค่าที่แท้จริง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมจึงไม่อาจ
พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมประการเดียวแบบเดี่ยว ๆ ได้ ต้องพัฒนาในลักษณะที่เป็นชุด
จริยธรรม
การพัฒนาจริยธรรม
ที่ครบวงจรจริยธรรมที่จะเกิดผลตามหลักธรรมนั้นจะต้องได้รับการพัฒนาที่ครบวงจร
หากไม่ครบวงจรจะไม่เกิดผลดีตามหลักการและอาจเกิดผลเสียด้วย
ตัวอย่างเช่น คุณธรรมเกี่ยวกับสันโดษ การที่สันโดษมีเป้าหมายเพื่อการพอใจสิ่ง
ได้มาด้วยความเพียรในทางที่สุจริต จะทาให้จิตใจของผู้มีความสันโดษไม่
วุ่นวายกังวลกับการแสวงหาทางวัตถุ ทาให้สามารถใช้เวลาและกาลัง
ความสามารถในการทาหน้าที่และสิ่งที่ดีงามได้อย่างเต็มที่
การพัฒนาตาม
ขั้นตอน
1. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเดี่ยว ๆ ตัวอย่างการพัฒนาเกี่ยวกับ
อนิจจังความหมายและเป้าหมายของอนิจจัง หมายถึง การรู้เท่าทันคติธรรมว่าสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้
ไม่แน่นอน มีเกิดขึ้นตั้งอยู่ แล้วดับไป เป้าหมายของการเข้าใจอนิจจัง คือ การเกิดปัญญาที่จะรู้เท่า
ทัน และคลายความทุกข์จากสิ่งที่เกิดขึ้นขั้นตอนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับอนิจจัง
2. การพัฒนาจริยธรรมเป็ นชุด การพัฒนาจริยธรรม เป็นชุดมีขั้นตอนหลัก
ดังนี้
1) วิเคราะห์เหตุการณ์ การกระทา หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2) สืบสาวหาสาเหตุที่แท้จริง
3) สร้างจริยธรรม
5. การพัฒนาองค์ประกอบของการ
พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
 5. การพัฒนาองค์ประกอบของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
1. องค์ประกอบภายนอก คือ สิ่งแวดล้อมทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม เป็นสภาพ
เศรษฐกิจ ตัวแบบ ค่านิยมในสังคม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมภายนอกให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมจึงต้องเป็นความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
2. องค์ประกอบภายใน ปัจจัยภายในตัวบุคคลซึ่งเป็นพื้นฐานของจริยธรรม จึงต้อง
สร้างขึ้นให้มีในตัวคน สิ่งแวดล้อมภายในที่สาคัญ
2.1 จิตสานึกในการศึกษา
2.2 แรงจูงใจ
2.3 การรู้จักคิด
5.กรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม
จริยธรรมของครู
กรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม
จริยธรรมของครูกรณีที่ 1
ครูปราณี จูงแขนคนแก่ข้ามถนนแสดงว่ามีคุณธรรมตาม พรหมวิหาร 4 กรุณา
ความสงสารความช่วยเหลือผู้อื่น
กรณีที 2
ครูวิภาให้การดูแลเพื่อนร่วมงานเป็นอย่างดี แสดงว่าปฏิบัติตาม หลักธรรมทิศ 6 อุตต
รทิส หมายถึง มิตรสหาย
กรณีที 3
ครูวิไลกาลังจะลงโทษนักเรียนที่ทาแบบฝึกหัดไม่ได้ แต่คิดได้ว่ายังไม่สมควรลงโทษ แสดง
ว่าครูวิไล มีคุณธรรมตามหลัก ฆราวาสธรรม 4 ทมะ หมายถึง ฝึกตน ข่มจิต และ
รักษาใจ บังคับตัวเองเพื่อลดและละกิเลส และรักษาสัจจะ
กรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม
จริยธรรมของครูกรณีที 4
ครูนิภาเป็นผู้มีนิสัยอ่อนโยน มีมนุษยสัมพันธ์ตรงกับ หลักทศพิธราชธรรม
มัทวะ หมายถึง ความอ่อนโยน
กรณีที 5
ดารุณีเป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์เป็นที่รักของเพื่อน มีคุณธรรม สังคหวัตถุธรรมุ
หมายถึง หลักการครองใจคน

More Related Content

What's hot

จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 

What's hot (20)

จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 

Similar to นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม

นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมssuser34255a
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4Ummara Kijruangsri
 
Se learn3
Se learn3Se learn3
Se learn3pakino
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีniralai
 
ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1krukung08
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลbankkokku
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์krupornpana55
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 

Similar to นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม (20)

นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
 
ศีลธรรม
ศีลธรรมศีลธรรม
ศีลธรรม
 
ศศ
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
 
Se learn3
Se learn3Se learn3
Se learn3
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
Unit one
Unit oneUnit one
Unit one
 
Unit one
Unit oneUnit one
Unit one
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
คุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณคุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณ
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 

นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม