SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
ยาเสพติดให้โทษ
-สารใดก็ตาม – ธรรมชาติ,กึ่งสงเคราะห์, ผลิต
-นาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าวิธีใด
-ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย และจิตใจ
-มีการเสพเป็นประจาและมีลักษณะที่สาคัญ
4 ประการ คือ
1. มีอาการดื้อยา ต้องเสพเพิ่มมากขึ้น
2. มีอาการขาดยา เมื่อเสพเท่าเดิม, ลดหรือหยุด
3. มีความต้องการอย่างสูงที่จะต้องหามาเสพให้ได้
4. เกิดผลเสียต่อตนเองและสังคม
ความหมายของยาเสพติด คือ
แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
ประเภท1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงไม่เป็ นประโชน์ทางการแพทย์
เช่น เฮโอีน (Heroin) แอมเฟตามีน(Amphetamine) เมทแอมเฟตา
มีน (Metham phetamine) แอลเอสดี (LSD) เอ็คซ์ตาซี
(Ecstasy)
ประเภท2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น ฝิ่น (Opium) มอร์ฟีน
(Morphine) โคเคนหรือโคคาอีน เมทาโดน (Methadone)
ประเภท3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็ นต้นตารับยา และมียาเสพ
ติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเดอีนผสมอยู่,ยาแก้ท้องเสียที่
มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้งกินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่ นผสมอยู่ เช่น
มอร์ฟีนฉีด เป็นต้น
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ
ทางกฎหมาย
ประเภท 4 เป็ นสารเคมีที่นามาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และ
2 ได้แก่ น้ายาเคมีอาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้เปลี่ยน
มอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซูโดอีเฟดรีน และสารตัว
อื่นๆที่นามาผลิตยาอีและยาบ้า
ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น
พืชกัญชา,พืชกระท่อม,ยาเค และพืชเห็ดขี้ควาย เป็นต้น
การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ
ทางกฎหมาย
แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ได้แก่
1.ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท
กระตุ้นการทางานของสมอง หัวใจ ทาให้หัวใจเต้นเร็วและความดัน
เลือดสูงขึ้น ไม่หลับไม่นอน ไม่หิว หากเสพมากทาให้มีอาการหงุดหงิด
กระวนกระวาย หวาดระแวง ก้าวร้าว อาละวาด ทาร้ายผู้อื่นยาเสพติด
ประเภทนี้ได้แก่ ยาบ้า ยาไอซ์ ยาเลิฟ ยาอี โคเคน เป็นต้น
2.ประเภทออกฤทธิ์กดประสาท
กดการทางานของกล้ามเนื้อ ศูนย์ควบคุมการหายใจ และสมองส่วน
ที่ควบคุม ทาให้เชื่องซึม ง่วง สะลึมสะลือ ปฏิกิริยาโต้ตอบช้า และ
ควบคุมตนเองไม่ได้ มือสั่น ขนลุก คลื่นไส้ ตัดสินใจผิดพลาด หากขาด
ยาจะมีอาการกระวนกระวาย อาละวาด ทาร้ายผู้อื่น ยาเสพติดประเภทนี้
ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท เครื่องดื่นมึน
เมาทุกชนิด รวมทั้งสารระเหย เช่น ทินเนอร์ แลกเกอร์ กาว เบนซิน
เป็นต้น
3.ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท
มีผลต่อสมองส่วนการรับรู้ ทาให้การรับรู้ทางประสาทสัมผัสปรวนแปร
ความจาระยะสั้นและความนึกคิดเสื่อม การกะระยะผิดความรู้สึกกับเวลา
เปลี่ยนไป หากเสพมากทาให้มีอาการประสาทหลอน รับรู้เสียงและภาพ
เปลี่ยนไป เช่น เห็นภาพหลอน ได้ยินเสียงประหลาด หวาดผวา ป่ วยเป็น
โรคจิต ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาเค แอลเอสดี เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
4.ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน
ออกฤทธิ์ผสมผสานทั้งกด กระตุ้นและหอน ขึ้นอยู่กับขนาดและ
ระยะเวลาของการเสพ
ทาให้หวาดระแวง ความคิดสับสน เห็นภาพลวงตา ควบคุมตัวเอง
ไม่ได้ สุดท้ายจะกลายเป็นโรคจิต ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ กัญชา
1.ทางปาก
- กิน เช่น ยาอี, ยานอนหลับ,ยาม้า
- เคี้ยวกลืน กัดกลืน เช่น ใบกระท่อม
- อม เช่น เหล้าแห้ง
- อมใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน,โคเคน
- แตะลิ้น เช่น ยาหลอนประสาทแอลเอสดี
- ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่ น
- ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์,กระท่อม,กัญชา
- ดิ่ง(ทิ้งดิ่ง) ปั้นฝิ่ นเป็นก้อนกลมแล้วกลืน
2.จมูก
- สูด,นัตถุ์เช่น โคเคน,ยาเค
- ดม เช่น สารระเหย
วิธีการเสพสารเสพติด
3. สูบ
- คลุกบุหรี่สูบ เช่น ฝิ่ น,กัญชา,เฮโรอีน,โคเคน
- สูบบ้อง หรือพาชนะที่ดัดแปลงมาจากบ้องผ่านน้า,ไม่ผ่านน้า เช่น
ฝิ่ น,กัญชา
- สูบควัน ได้แก่ยาบ้า โคเคน เป็นต้น
4. ฉีด
- ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน
- ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน
- ฉีดเข้าเส้นเลือดดา เช่น เฮโรอีน,ยาบ้า
5. อื่นๆ เช่น สอดทวารหนัก,ซุกใต้หนังตา,ลิปสติก,ผิวหนัง,พ่นทางสเปรย์,
ใส่หัวแหวนดม ฯลฯ
วิธีการเสพสารเสพติด
อุปกรณ์การเสพยา
สาเหตุของการเสพด้วยวิธีแตกต่างกัน
1. ข้อจากัดของวิธีเสพ
2. ความประสงค์ของการออกฤทธิ์
3. พฤติกรรมของผู้เสพ,การแสวงหาวิธีการเสพใหม่ๆ
สาเหตุของการติดยาเสพติด
1. ตัวสารเสพติด
- ออกฤทธิ์เร็ว, แรง, สั้น จะติดง่าย
- อาการดื้อยาเกิดขึ้นเร็ว จะติดง่าย
- อาการอยากยามาก ติดง่าย
- ออกฤทธิ์ทดแทนสารเคมีที่ผู้ป่วยขาด ทาให้ติดง่าย
- เสพแล้วมีผลข้างเคียงน้อย ทาให้กล้าเสพจะติดง่าย
- โรคแทรกเกิดไม่ชัดเจน ไม่กลัวจึงเสพบ่อยจะติดง่าย
2. ตัวผู้เสพ
- ความอยากรู้ อยากลอง ด้วยความคึกคะนอง
- เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน
- มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เชื่อว่ายาเสพติดบางชนิดอาจช่วยให้สบายใจ
ลืม ความทุกข์ หรือช่วยให้ทางานได้มาก อ่านหนังสือได้มาก
- ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาและ
ไม่สามารถแก้ได้
- ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บจนเกิดการติดยา
เพราะใช้เป็นประจา
3. สิ่งแวดล้อม
- ขาดความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัว และสังคม
- มีการใช้สารเสพติดในครอบครัว
- คบเพื่อนที่เสพยา สูบบุหรี่ตั้งแต่เด็ก
- ทางานใกล้ชิดกับยาโอกาสหาใช้,หาซื้อง่าย
- ความกดดันทางเศรฐกิจ,สังคม ใช้ยาจนติด
- มั่วสุมในแหล่งบันเทิงหรือที่ที่มียาเสพติด
- ความเชื่อโบราณทางศาสนากับการใช้ยาเสพติด
1. สารกลุ่มฝิ่ น และ เมทาโดน
ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน (ผงขาว) ยาเมา (ยาแก้ไอ) และ เมทาโดน
อันตรายจากสารเสพติดให้โทษ
เมื่อเสพ - มีอาการมึนงง เฉื่อยชา ง่วงนอน
- ม่านตาหรี่ หายใจ
- หัวใจเต้นช้าลง
- ความดันเลือดลดลง
เมื่อได้ไม่เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย ปวดกระดูก ปวดท้อง ลงแดง
- ม่านตาขยาย ความดันเลือดสูง ไข้ขึ้น
โรคแทรกซ้อนจากการเสพสารกลุ่มฝิ่ น
พิษเฉียบพลัน กดการหายใจ หรือ ติดเชื้อในกระแสเลือดถึงเสียชีวิตได้
สูบ - หลอดลม,ปอดอักเสบโอกาสเกิดมะเร็งสูงกว่าปกติ
ฉีด - ติดเชื้อแบคทีเรีย
- ฝีตามร่างกาย ผิวหนัง ปอด สมอง
- ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อเอดส์ และติดเชื้อโรคอื่นๆ
- กระเพาะอาหารอักเสบ
- วัณโรคปอด
- กระตุ้นให้โรคจิต, โรคประสาทกาเริบ
- เส้นประสาทเสื่อม จากการถูกกดทับ หรือถูกเข็มทาลาย
2. กลุ่มยานอนหลับและยากล่อมประสาท
เมื่อเสพ - เดินเซ พูดเสียงอ้อแอ้ ควบคุมตนเองไม่ได้คลุ้มคลั่ง อาละวาด
- ในขนาดสูงจะหลับ และกดการหายใจ
เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระวนกระวาย ชัก
การนาไปผสมแอลกอฮอลล์ ออกฤทธิ์เสริมกดการหายใจ ถึงตายได้
ผู้ติดยานอนหลับ อาการจะดูคล้ายๆ คนเมาสุรา แต่ไม่มีกลิ่นสุราทางลมหายใจ
3. กลุ่มยากระตุ้นประสาท, ยาบ้า,กระท่อม,โคเคน
กาแฟ,บุหรี่,เครื่องดื่มชูกาลังและน้าอัดลม
เมื่อเสพ - ครื้นเครง กระวนกระวาย แน่นหน้าอก, ใจสั่น,ปวดหัว,
ม่านตาขยาย, หัวใจวาย
- หายใจเร็ว
- หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง
- ไข้ขึ้น
- อาการประสาทหลอน หวาดกลัว หลงผิด
เมื่อไม่ได้เสพ - จะหงุดหงิด กระสับกระส่ายง่วงนอน ซึมเศร้า
ฆ่าตัวตาย
พิษจากสารเมทแอมเฟตามีน
- หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ภาวะหัวใจล้มเหลว
- ความดันโลหิตสูง ทาให้เส้นเลือดแตกในสมองได้
- ชัก
- ไข้สูง
- หวาดกลัวอย่างรุนแรง หูแว่ว ประสาทหลอน
อาการพิษเฉียบพลันรุนแรงถึงตายได้
พิษจากการสูบควันยาบ้า
เกิดโรคหลอดลม, ปอดอักเสบ , มะเร็งช่องปาก,คอและปอด สูงกว่าการ
สูบบุหรี่, วัณโรคปอด
พิษจากสารอันตรายในยาบ้า
ได้แก่ ฟอร์มอรีน, ยาฆ่าหญ้า, สตริ๊กนีน และสารอื่นๆ
พิษจากส่วนผสมในยาบ้า
ได้แก่ คาเฟอีน, เอฟริดีน เสริมฤทธิ์กระตุ้นประสาท
พิษจากสารโลหะหนักที่เจือปนในยาบ้า
ได้แก่ สารปรอท, ตะกั่ว, ทองแดง และสารอื่นๆ
การสูบยาบ้าไปนานๆ สมองและร่างกายจะได้สะสมสารพิษ ต่างๆที่
เจือปนอยู่ เป็นการตายผ่อนส่ง
ยาบ้า ทาให้เกิดโรคจิต รักษาไม่หาย
4. กลุ่มยาหลอนประสาท
ได้แก่ LSD เห็ดเมา ยาเค และสารระเหย
(Ketamine)
คือยาสลบชนิดหนึ่ง ที่ทางสัตวแพทย์ใช้ฉีดสลบสัตว์และ
แพทย์ใช้ฉีด ผู้ป่วยเด็กก่อนทาการ ผ่าตัดขนาดเล็ก ยานี้ไม่ทาให้
หมดสติ แต่ทาให้ผู้ป่วยอยู่ใน ภาวะที่ร่างกายและจิตใจ เหมือนแยก
จากกัน ไม่รับรู้ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากการผ่าตัด ..
เมื่อเสพ - มีอาการเคลิบเคลิ้ม จินตนาการต่างๆ นานา
- มีอาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอน
- ใช้นานๆเกิดการเสพติด และเป็นโรคจิตได้
เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย
แสตมป์ หรือ เมจิกเปเปอร์ คือ กระดาษเคลือบ LSD
ยาเค หรือ ยาส่าย(หัว) ทาจากการ เอายาสลบเคตามีนมาอบให้แห้ง
เมื่อสูดเข้าไปจะเมา เคลิบเคลิ้ม ส่ายหัวไปมา
5. สารออกฤทธิ์หลายอย่าง ได้แก่ กัญชา ยาอี (ยาเลิฟ Ectasy)
กัญชา
เมื่อเสพ ปริมาณน้อย
- กระตุ้นประสาท ร่าเริง
ปริมาณมาก
- เสพมากขึ้นจะซึม หลับ
- เสพขนาดสูงจะมีอาการประสาทหลอน
- กดการหายใจเสียชีวิตได้
อาการพิษเฉียบพลันจากการสูบกัญชา...
ตาแดง ใจสั่น แน่นหน้าอก กระวนกระวาย หวาดกลัว
อาการพิษเรื้อรัง ...
การเสพในระยะเวลานานเกิดอาการซึมเฉย- โรคจิตที่ถาวรได้
6. สารระเหย
เมื่อเสพ - สูดดมแล้วเมาเคลิบเคลิ้ม เดินเซ
- ประสาทหลอน เห็นดาวเห็นเดือน หูแว่วได้
- ทาท่าทางแปลกประหลาด ไม่ได้เสพ จะมีอาการหงุดหงิด
วิตกกังวล กระวนกระวาย
พิษจากการสูดดมสารระเหย
- ทางเดินหายใจ เยื่อบุโพรงจมูก- หลอดลม
- ปอดอักเสบ
- ทางเดินอาหาร หลอดอาหารอักเสบ, กระเพาะอักเสบ
- กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, ตับ, ไต อักเสบ
พิษจากการสูดดมสารระเหย
- ทาลายไขกระดูก เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดต่า
- ทาลายระบบประสาททั้งส่วนปลายและส่วนกลาง
- กล้ามเนื้อแขนขาลีบ
- ทาลายสมองแบบถาวร ทาให้มีอาการสั่น, เดินเซ
- ทาลายเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้กาเนิดบุติที่พิการได้
- ทาให้เกิดโรคสมองเสื่อมเกิดโรคจิตแบบถาวรได้
ทาลายทุกระบบในร่างกาย
25
30
7. แอลกอฮอล์
เมื่อเสพ - ดื่มแล้วเกิดอาการเมา ควบคุมตัวเองไม่ได้
- กดประสาท กดการหายใจ
- เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งในการเกิดอุบัติเหตุ
เมื่อไม่ได้เสพ - เมื่อเสพติดแล้ว เกิดภาวะพิษสุราเรื้อรัง
การหยุดดื่มกระทันหันจะมีอาการชัก หูแว่ว ประสาทหลอน
การดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับการใช้ยาอื่น อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
โรคแทรกซ้อนจากการดื่มแอลกอฮอล์
- เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคทาง ระบบหลอดเลือดและหัวใจ ความ
ดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองแตก,ตีบ
- หลอดอาหาร
-กระเพาะอาหารอักเสบกระเพาะ อาหารทะลุ, มะเร็งกระเพาะอาหาร
ลาไส้อักเสบ
- ภาวะทุโภชนาการ โรคผิวหนังเรื้อรัง วัณโรคปอด
- ตับอักเสบ ตับแข็ง ตับวาย ท้องมานอัณฑะฝ่อ
- ตับอ่อนอักเสบ เบาหวาน
- สมองเสื่อม
- โรคซึมเศร้า วิตกกังวล
- โรคจิตหวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอนรักษาไม่หาย
อายุและสาเหตุที่เริ่มสูบบุหรี่
พบว่าอายุระหว่าง15 - 19 ปี เป็นอายุที่เริ่มสูบบุหรี่มากที่สุด
(55.9%) อยากทดลองสูบ
(37.5%) ตามอย่างเพื่อนหรือเพื่อนชวนสูบ
(34.8%) สาเหตุอื่นๆ เพื่อเข้าสังคม คลายเครียด ตามอย่างสมาชิกในครัวเรือน
แพ้ท้อง ที่บ้านปลูกยาสูบ
แต่ละคนที่สูบไม่คิดว่าตนเองจะติดบุหรี่
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt

More Related Content

What's hot

พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษPamPaul
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

What's hot (20)

พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Similar to สอนยาเสพติด.ppt

สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติดAobinta In
 
ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษpoegpanda11
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด AntoineYRC04
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4linnoi
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
ยาเสพติด1
ยาเสพติด1ยาเสพติด1
ยาเสพติด1jpimpila
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดJettanut Poonlaptavee
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2topsaby99
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดchueng
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดchueng
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติดSUNDAY0A1
 

Similar to สอนยาเสพติด.ppt (20)

สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
5555
55555555
5555
 
ยาเสพติด1
ยาเสพติด1ยาเสพติด1
ยาเสพติด1
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
Drug
DrugDrug
Drug
 

More from พรพจน์ แสงแก้ว (6)

DHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.pptDHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.ppt
 
โควิค19.pptx
โควิค19.pptxโควิค19.pptx
โควิค19.pptx
 
อบรม ความรู้ โควิค19.pptx
อบรม ความรู้ โควิค19.pptxอบรม ความรู้ โควิค19.pptx
อบรม ความรู้ โควิค19.pptx
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
ตรวจเต้านม.ppt
ตรวจเต้านม.pptตรวจเต้านม.ppt
ตรวจเต้านม.ppt
 
พิษภัยของบุหรี่.ppt
พิษภัยของบุหรี่.pptพิษภัยของบุหรี่.ppt
พิษภัยของบุหรี่.ppt
 

สอนยาเสพติด.ppt

  • 2.
  • 3. -สารใดก็ตาม – ธรรมชาติ,กึ่งสงเคราะห์, ผลิต -นาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าวิธีใด -ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย และจิตใจ -มีการเสพเป็นประจาและมีลักษณะที่สาคัญ 4 ประการ คือ 1. มีอาการดื้อยา ต้องเสพเพิ่มมากขึ้น 2. มีอาการขาดยา เมื่อเสพเท่าเดิม, ลดหรือหยุด 3. มีความต้องการอย่างสูงที่จะต้องหามาเสพให้ได้ 4. เกิดผลเสียต่อตนเองและสังคม ความหมายของยาเสพติด คือ
  • 4. แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ประเภท1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรงไม่เป็ นประโชน์ทางการแพทย์ เช่น เฮโอีน (Heroin) แอมเฟตามีน(Amphetamine) เมทแอมเฟตา มีน (Metham phetamine) แอลเอสดี (LSD) เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) ประเภท2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น ฝิ่น (Opium) มอร์ฟีน (Morphine) โคเคนหรือโคคาอีน เมทาโดน (Methadone) ประเภท3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็ นต้นตารับยา และมียาเสพ ติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเดอีนผสมอยู่,ยาแก้ท้องเสียที่ มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้งกินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่ นผสมอยู่ เช่น มอร์ฟีนฉีด เป็นต้น การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางกฎหมาย
  • 5. ประเภท 4 เป็ นสารเคมีที่นามาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และ 2 ได้แก่ น้ายาเคมีอาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้เปลี่ยน มอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซูโดอีเฟดรีน และสารตัว อื่นๆที่นามาผลิตยาอีและยาบ้า ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น พืชกัญชา,พืชกระท่อม,ยาเค และพืชเห็ดขี้ควาย เป็นต้น การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางกฎหมาย
  • 6. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ได้แก่ 1.ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท กระตุ้นการทางานของสมอง หัวใจ ทาให้หัวใจเต้นเร็วและความดัน เลือดสูงขึ้น ไม่หลับไม่นอน ไม่หิว หากเสพมากทาให้มีอาการหงุดหงิด กระวนกระวาย หวาดระแวง ก้าวร้าว อาละวาด ทาร้ายผู้อื่นยาเสพติด ประเภทนี้ได้แก่ ยาบ้า ยาไอซ์ ยาเลิฟ ยาอี โคเคน เป็นต้น 2.ประเภทออกฤทธิ์กดประสาท กดการทางานของกล้ามเนื้อ ศูนย์ควบคุมการหายใจ และสมองส่วน ที่ควบคุม ทาให้เชื่องซึม ง่วง สะลึมสะลือ ปฏิกิริยาโต้ตอบช้า และ ควบคุมตนเองไม่ได้ มือสั่น ขนลุก คลื่นไส้ ตัดสินใจผิดพลาด หากขาด ยาจะมีอาการกระวนกระวาย อาละวาด ทาร้ายผู้อื่น ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท เครื่องดื่นมึน เมาทุกชนิด รวมทั้งสารระเหย เช่น ทินเนอร์ แลกเกอร์ กาว เบนซิน เป็นต้น
  • 7. 3.ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท มีผลต่อสมองส่วนการรับรู้ ทาให้การรับรู้ทางประสาทสัมผัสปรวนแปร ความจาระยะสั้นและความนึกคิดเสื่อม การกะระยะผิดความรู้สึกกับเวลา เปลี่ยนไป หากเสพมากทาให้มีอาการประสาทหลอน รับรู้เสียงและภาพ เปลี่ยนไป เช่น เห็นภาพหลอน ได้ยินเสียงประหลาด หวาดผวา ป่ วยเป็น โรคจิต ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาเค แอลเอสดี เห็ดขี้ควาย เป็นต้น 4.ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ออกฤทธิ์ผสมผสานทั้งกด กระตุ้นและหอน ขึ้นอยู่กับขนาดและ ระยะเวลาของการเสพ ทาให้หวาดระแวง ความคิดสับสน เห็นภาพลวงตา ควบคุมตัวเอง ไม่ได้ สุดท้ายจะกลายเป็นโรคจิต ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ กัญชา
  • 8. 1.ทางปาก - กิน เช่น ยาอี, ยานอนหลับ,ยาม้า - เคี้ยวกลืน กัดกลืน เช่น ใบกระท่อม - อม เช่น เหล้าแห้ง - อมใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน,โคเคน - แตะลิ้น เช่น ยาหลอนประสาทแอลเอสดี - ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่ น - ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์,กระท่อม,กัญชา - ดิ่ง(ทิ้งดิ่ง) ปั้นฝิ่ นเป็นก้อนกลมแล้วกลืน 2.จมูก - สูด,นัตถุ์เช่น โคเคน,ยาเค - ดม เช่น สารระเหย วิธีการเสพสารเสพติด
  • 9. 3. สูบ - คลุกบุหรี่สูบ เช่น ฝิ่ น,กัญชา,เฮโรอีน,โคเคน - สูบบ้อง หรือพาชนะที่ดัดแปลงมาจากบ้องผ่านน้า,ไม่ผ่านน้า เช่น ฝิ่ น,กัญชา - สูบควัน ได้แก่ยาบ้า โคเคน เป็นต้น 4. ฉีด - ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน - ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน - ฉีดเข้าเส้นเลือดดา เช่น เฮโรอีน,ยาบ้า 5. อื่นๆ เช่น สอดทวารหนัก,ซุกใต้หนังตา,ลิปสติก,ผิวหนัง,พ่นทางสเปรย์, ใส่หัวแหวนดม ฯลฯ วิธีการเสพสารเสพติด
  • 11.
  • 13. สาเหตุของการติดยาเสพติด 1. ตัวสารเสพติด - ออกฤทธิ์เร็ว, แรง, สั้น จะติดง่าย - อาการดื้อยาเกิดขึ้นเร็ว จะติดง่าย - อาการอยากยามาก ติดง่าย - ออกฤทธิ์ทดแทนสารเคมีที่ผู้ป่วยขาด ทาให้ติดง่าย - เสพแล้วมีผลข้างเคียงน้อย ทาให้กล้าเสพจะติดง่าย - โรคแทรกเกิดไม่ชัดเจน ไม่กลัวจึงเสพบ่อยจะติดง่าย
  • 14. 2. ตัวผู้เสพ - ความอยากรู้ อยากลอง ด้วยความคึกคะนอง - เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน - มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เชื่อว่ายาเสพติดบางชนิดอาจช่วยให้สบายใจ ลืม ความทุกข์ หรือช่วยให้ทางานได้มาก อ่านหนังสือได้มาก - ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาและ ไม่สามารถแก้ได้ - ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บจนเกิดการติดยา เพราะใช้เป็นประจา
  • 15. 3. สิ่งแวดล้อม - ขาดความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัว และสังคม - มีการใช้สารเสพติดในครอบครัว - คบเพื่อนที่เสพยา สูบบุหรี่ตั้งแต่เด็ก - ทางานใกล้ชิดกับยาโอกาสหาใช้,หาซื้อง่าย - ความกดดันทางเศรฐกิจ,สังคม ใช้ยาจนติด - มั่วสุมในแหล่งบันเทิงหรือที่ที่มียาเสพติด - ความเชื่อโบราณทางศาสนากับการใช้ยาเสพติด
  • 16. 1. สารกลุ่มฝิ่ น และ เมทาโดน ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน (ผงขาว) ยาเมา (ยาแก้ไอ) และ เมทาโดน อันตรายจากสารเสพติดให้โทษ
  • 17. เมื่อเสพ - มีอาการมึนงง เฉื่อยชา ง่วงนอน - ม่านตาหรี่ หายใจ - หัวใจเต้นช้าลง - ความดันเลือดลดลง เมื่อได้ไม่เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย ปวดกระดูก ปวดท้อง ลงแดง - ม่านตาขยาย ความดันเลือดสูง ไข้ขึ้น
  • 18.
  • 19. โรคแทรกซ้อนจากการเสพสารกลุ่มฝิ่ น พิษเฉียบพลัน กดการหายใจ หรือ ติดเชื้อในกระแสเลือดถึงเสียชีวิตได้ สูบ - หลอดลม,ปอดอักเสบโอกาสเกิดมะเร็งสูงกว่าปกติ ฉีด - ติดเชื้อแบคทีเรีย - ฝีตามร่างกาย ผิวหนัง ปอด สมอง - ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อเอดส์ และติดเชื้อโรคอื่นๆ - กระเพาะอาหารอักเสบ - วัณโรคปอด - กระตุ้นให้โรคจิต, โรคประสาทกาเริบ - เส้นประสาทเสื่อม จากการถูกกดทับ หรือถูกเข็มทาลาย
  • 20. 2. กลุ่มยานอนหลับและยากล่อมประสาท เมื่อเสพ - เดินเซ พูดเสียงอ้อแอ้ ควบคุมตนเองไม่ได้คลุ้มคลั่ง อาละวาด - ในขนาดสูงจะหลับ และกดการหายใจ เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระวนกระวาย ชัก การนาไปผสมแอลกอฮอลล์ ออกฤทธิ์เสริมกดการหายใจ ถึงตายได้ ผู้ติดยานอนหลับ อาการจะดูคล้ายๆ คนเมาสุรา แต่ไม่มีกลิ่นสุราทางลมหายใจ
  • 22. เมื่อเสพ - ครื้นเครง กระวนกระวาย แน่นหน้าอก, ใจสั่น,ปวดหัว, ม่านตาขยาย, หัวใจวาย - หายใจเร็ว - หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง - ไข้ขึ้น - อาการประสาทหลอน หวาดกลัว หลงผิด เมื่อไม่ได้เสพ - จะหงุดหงิด กระสับกระส่ายง่วงนอน ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย
  • 23. พิษจากสารเมทแอมเฟตามีน - หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ภาวะหัวใจล้มเหลว - ความดันโลหิตสูง ทาให้เส้นเลือดแตกในสมองได้ - ชัก - ไข้สูง - หวาดกลัวอย่างรุนแรง หูแว่ว ประสาทหลอน อาการพิษเฉียบพลันรุนแรงถึงตายได้ พิษจากการสูบควันยาบ้า เกิดโรคหลอดลม, ปอดอักเสบ , มะเร็งช่องปาก,คอและปอด สูงกว่าการ สูบบุหรี่, วัณโรคปอด
  • 24. พิษจากสารอันตรายในยาบ้า ได้แก่ ฟอร์มอรีน, ยาฆ่าหญ้า, สตริ๊กนีน และสารอื่นๆ พิษจากส่วนผสมในยาบ้า ได้แก่ คาเฟอีน, เอฟริดีน เสริมฤทธิ์กระตุ้นประสาท พิษจากสารโลหะหนักที่เจือปนในยาบ้า ได้แก่ สารปรอท, ตะกั่ว, ทองแดง และสารอื่นๆ การสูบยาบ้าไปนานๆ สมองและร่างกายจะได้สะสมสารพิษ ต่างๆที่ เจือปนอยู่ เป็นการตายผ่อนส่ง ยาบ้า ทาให้เกิดโรคจิต รักษาไม่หาย
  • 25. 4. กลุ่มยาหลอนประสาท ได้แก่ LSD เห็ดเมา ยาเค และสารระเหย
  • 26. (Ketamine) คือยาสลบชนิดหนึ่ง ที่ทางสัตวแพทย์ใช้ฉีดสลบสัตว์และ แพทย์ใช้ฉีด ผู้ป่วยเด็กก่อนทาการ ผ่าตัดขนาดเล็ก ยานี้ไม่ทาให้ หมดสติ แต่ทาให้ผู้ป่วยอยู่ใน ภาวะที่ร่างกายและจิตใจ เหมือนแยก จากกัน ไม่รับรู้ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากการผ่าตัด ..
  • 27. เมื่อเสพ - มีอาการเคลิบเคลิ้ม จินตนาการต่างๆ นานา - มีอาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอน - ใช้นานๆเกิดการเสพติด และเป็นโรคจิตได้ เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย แสตมป์ หรือ เมจิกเปเปอร์ คือ กระดาษเคลือบ LSD ยาเค หรือ ยาส่าย(หัว) ทาจากการ เอายาสลบเคตามีนมาอบให้แห้ง เมื่อสูดเข้าไปจะเมา เคลิบเคลิ้ม ส่ายหัวไปมา
  • 28. 5. สารออกฤทธิ์หลายอย่าง ได้แก่ กัญชา ยาอี (ยาเลิฟ Ectasy) กัญชา
  • 29. เมื่อเสพ ปริมาณน้อย - กระตุ้นประสาท ร่าเริง ปริมาณมาก - เสพมากขึ้นจะซึม หลับ - เสพขนาดสูงจะมีอาการประสาทหลอน - กดการหายใจเสียชีวิตได้ อาการพิษเฉียบพลันจากการสูบกัญชา... ตาแดง ใจสั่น แน่นหน้าอก กระวนกระวาย หวาดกลัว อาการพิษเรื้อรัง ... การเสพในระยะเวลานานเกิดอาการซึมเฉย- โรคจิตที่ถาวรได้
  • 30.
  • 31.
  • 32. 6. สารระเหย เมื่อเสพ - สูดดมแล้วเมาเคลิบเคลิ้ม เดินเซ - ประสาทหลอน เห็นดาวเห็นเดือน หูแว่วได้ - ทาท่าทางแปลกประหลาด ไม่ได้เสพ จะมีอาการหงุดหงิด วิตกกังวล กระวนกระวาย พิษจากการสูดดมสารระเหย - ทางเดินหายใจ เยื่อบุโพรงจมูก- หลอดลม - ปอดอักเสบ - ทางเดินอาหาร หลอดอาหารอักเสบ, กระเพาะอักเสบ - กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, ตับ, ไต อักเสบ
  • 33. พิษจากการสูดดมสารระเหย - ทาลายไขกระดูก เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดต่า - ทาลายระบบประสาททั้งส่วนปลายและส่วนกลาง - กล้ามเนื้อแขนขาลีบ - ทาลายสมองแบบถาวร ทาให้มีอาการสั่น, เดินเซ - ทาลายเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้กาเนิดบุติที่พิการได้ - ทาให้เกิดโรคสมองเสื่อมเกิดโรคจิตแบบถาวรได้ ทาลายทุกระบบในร่างกาย 25 30
  • 34. 7. แอลกอฮอล์ เมื่อเสพ - ดื่มแล้วเกิดอาการเมา ควบคุมตัวเองไม่ได้ - กดประสาท กดการหายใจ - เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งในการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อไม่ได้เสพ - เมื่อเสพติดแล้ว เกิดภาวะพิษสุราเรื้อรัง การหยุดดื่มกระทันหันจะมีอาการชัก หูแว่ว ประสาทหลอน การดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับการใช้ยาอื่น อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
  • 35. โรคแทรกซ้อนจากการดื่มแอลกอฮอล์ - เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคทาง ระบบหลอดเลือดและหัวใจ ความ ดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองแตก,ตีบ - หลอดอาหาร -กระเพาะอาหารอักเสบกระเพาะ อาหารทะลุ, มะเร็งกระเพาะอาหาร ลาไส้อักเสบ - ภาวะทุโภชนาการ โรคผิวหนังเรื้อรัง วัณโรคปอด - ตับอักเสบ ตับแข็ง ตับวาย ท้องมานอัณฑะฝ่อ - ตับอ่อนอักเสบ เบาหวาน - สมองเสื่อม - โรคซึมเศร้า วิตกกังวล - โรคจิตหวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอนรักษาไม่หาย
  • 36. อายุและสาเหตุที่เริ่มสูบบุหรี่ พบว่าอายุระหว่าง15 - 19 ปี เป็นอายุที่เริ่มสูบบุหรี่มากที่สุด (55.9%) อยากทดลองสูบ (37.5%) ตามอย่างเพื่อนหรือเพื่อนชวนสูบ (34.8%) สาเหตุอื่นๆ เพื่อเข้าสังคม คลายเครียด ตามอย่างสมาชิกในครัวเรือน แพ้ท้อง ที่บ้านปลูกยาสูบ แต่ละคนที่สูบไม่คิดว่าตนเองจะติดบุหรี่