SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
โครงงานการค้นคว้า
เรื่องการดูเวลาของคนในสมัยก่อน
จัดทาโดย
นาย สุรศักดิ์ จันทร์ดวง ม. 6/3 เลขที่ 10
นายอภิเษก แสนงาม ม.6/3 เลขที่ 31
นาเสนอ
อาจารย์ ฮาวารีย์ มะเตฮะ
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS
โรงเรียนปทุมคงคา
ความมุ่งหมายของงการวิจัย
 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการดูเวลาของคนสมัยก่อน
 2. เพื่อเผยแพร่หัวเรื่องที่ศึกษาให้เป็นประโยชน์ส่วนรวม
 3. ทาให้รู้ความคิดริเริ่มหรือการประยุคใช้ของคนสมัยก่อน
 4. ทาให้รู้วิวัฒนาการและการเปลี่ยนไปของโลก
 5.ทาให้รู้วิธีการดูเวลาของคนสมัยก่อน
ความมุ่งหมายของงการวิจัย
 หนึ่งในความสาคัญของมนุษย์คือการวิจัย เพราะเป็นรากเหง้าของความคิดจินตนาการพัฒนา
สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่นาพาวิถีชีวิตก้าวไปสู่ความเจริญทางวิทยาการต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทั้งทาง
เศรษฐกิจและทางสังคม
 การวิจัยเกิดมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทั้งที่เป็นวัตถุธรรมและนามธรรมชวนให้ผู้สนใจใฝ่รู้
ค้นคว้าที่มาที่ไปของสิ่งนั้น
 การวิจัยยังนาวิถีมนุษย์ให้รู้จักค้นหาในสิ่งที่ต้องการรู้ด้วยความสงสัยในสิ่งแปลกใหม่ จึงก่อเกิดผลที่
ตามมาดังที่เราเห็นได้ไม่ว่าจะเป็น เครื่องบิน รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ ยารักษาโรค ปุ๋ยเคมีชีวภาพ
และเรื่องอื่น ๆ มีมายมากที่ได้มาจากการวิจัย
 การวิจัยนามาซึ่งความเจริญก้าวหน้า ยิ่งมีการวิจัยค้นคว้ามาก ความเจริญก้าวหน้ายิ่งมากขึ้น สาหรับ
การวิจัยทางสังคมศาสตร์อาจก่อให้เกิดแก่บุคคลอย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ
ความสาคัญของการวิจัย
1. เป็นประโยชน์แก้นักสังคมศาสตร์ ทาให้มีความรู้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นของ
ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม นอกจากนั้น ยังทราบถึงเทคนิคและทฤษฎีใหม่ที่ได้จากการศึกษาด้วย
2. เป็นประโยชน์แก่ผู้นาชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพต่าง ๆ เช่น นักบริหาร ครูอาจารย์ กลุ่มผู้ใช้
แรงงาน และผู้บริหารงานในภาครัฐ บุคคลเหล่านี้ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยในการปรับปรุงนโยบาย การ
วางแผน และการปฏิบัติงานของตน
3. เป็นประโยชน์แก่บุคคลทั่วไป ก่อให้เกิดความเข้าใจในพลวัต ( Dynamic ) และศักยภาพ (
Potential ) ของกิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ และใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความสาเร็จในหน้าที่
การงานส่วนตัว และส่วนรวม
 ในการดูเวลาของคนสมัยก่อน เป็นการดูด้วยการใช้สิ่งธรรมชาติ คือ พระจันทร์และพระอาทิตย์
และใช้ดวงดาวบนท้องฟ้ าเป็นเครื่องกาหนด วันเดือนปี สมัยก่อนไม่มีนาฬิกาดู แต่คน
เหล่านั้นก็แหงนหน้าดูฟ้ า และก็บอกว่าช่วงเวลานี้กี่โมง โดยปรากฏว่าคนสมัยก่อนอาศัยการดู
วันและเวลาคือการมองท้องฟ้ า เพราะเหตุนี้คนสมัยก่อนอาจจะอาศัยการสังเกต การจดจา
ตาแหน่งดวงอาทิตย์ นี่ถือว่าเป็นภูมิปัญญา ความฉลาดในการกาหนดนับวันเวลาตามแบบ
ชาวบ้านโบราณโดยแท้ แต่อย่างไงก็ตามการดูเวลาของคนสมัยก่อนอาจจะไม่แม้นยาเหมือน
สมัยปัจจุบัน เพราะเทคโนโลยี ที่ทาให้โลกเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและกาลเวลา
สมมุติฐานของการวิจัย
การกาหนดวันเวลานั้น ไม่ใช่ว่าจะเพิ่งมีในสมัยนี้ แม้แต่สมัยก่อนๆ หรือสมัยโบราณ ก็มีการกาหนดนับวัน
เวลา แต่ในยุคต้นๆ นั้น คนโบราณใช้สิ่งที่สังเกตได้ง่าย รู้เห็นกันทุกคน ดูกันทุกวันคืน นั่นก็คือใช้ดวง
อาทิตย์และดวงจันทร์เป็นเครื่องกาหนดนับวันเวลา.
ก็ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น เนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์เป็นสิ่งที่สังเกตได้ง่าย รู้ดูเห็นกันทุกวัน คน
โบราณจึงเฝ้าสังเกตการปรากฏขึ้น และการลับไปของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวต่างๆ เป็นเครื่อง
กาหนดนับวันเวลา ในช่วงแรก ๆ อาจจะกาหนดนับแบบกว้างๆ ก่อน เช่น กาหนดหนึ่งวัน มีสามช่วง
ช่วงเวลาแรกก่อนพระอาทิตย์จะตรงศีรษะ ช่วงที่สองขณะพระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ ช่วงที่สามพระอาทิตย์อยู่
เลยศีรษะไป
"คนยุคโบราณใช้ดวงดาวบนท้องฟ้ าเป็นเครื่องกาหนดนับวันเดือนปี" อาจารย์สิทธิชัย จันทรศิลปิน หัวหน้า
ฝ่ายท้องฟ้ าจาลองกรุงเทพฯ เริ่มต้นย้อนอดีตการกาเนิดปฏิทินโลก และเล่าต่อว่า เดิมทีมนุษย์ดารงชีวิตตาม
สัญชาตญาณ แต่เมื่อเกิดภัยธรรมชาติที่รบกวนวิถีชีวิตปกติ ทาให้มนุษย์เริ่มสังเกตสิ่งรอบตัว รวมทั้งท้องฟ้ า
และดวงดาว กระทั่งพบว่าบางครั้งภัยธรรมชาติมาพร้อมกับดาวบางดวงบนฟ้ า จึงเริ่มสนใจสิ่งที่อยู่บนฟ้ า และ
นามาเทียบเคียงกับสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตของพวกเขา ซึ่งมีทั้งที่ตรงและไม่ตรง แต่สิ่งที่ตรงตามการคาดคะเนก็
ถูกจดจาต่อเนื่องเรื่อยมา จนกระทั่งรู้การครบรอบของสิ่งที่อยู่บนฟ้ า เช่น การครบรอบของดวงจันทร์ข้างขึ้น
ข้างแรม
ต่อมาในยุคเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 5,000 ปีที่แล้ว คนในสมัยนั้นเริ่มใช้ดวงจันทร์เป็นเครื่องกาหนดนับ
ช่วงระยะเวลาที่ปัจจุบันเราเรียกว่า "เดือน" ซึ่งง่ายกว่าการสังเกตดวงอาทิตย์ ที่สามารถนับได้เหมือนกัน แต่
บอกช่วงเวลายาวนานเป็นรอบปี โดยมีชาวบาบิโลเนียเป็นชนชาติแรกที่กาหนดนับวันโดยวัดระยะเชิงมุมของ
ดวงอาทิตย์ ซึ่งในแต่ละวันดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ไปประมาณ 1 องศา และครบรอบ 360 องศา ในระเวลา 1
ปี
เมื่อ 4,000 ปีก่อน ชาวอียิปต์โบราณใช้ปฏิทินจันทรคติสังเกตดาว "ซิริอุส" (Sirius) ที่สว่างสุดบน
ฟ้ าในเวลากลางคืนเป็นเครื่องบอกเวลา เช่น หากเมื่อใดเห็นดาวซิริอุสอยู่บนท้องฟ้ าด้านทิศตะวันออกก่อน
พระอาทิตย์ขึ้น แสดงว่าแม่น้าไนล์จะเริ่มเอ่อล้น และเป็นเวลาเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก แต่หากช่วงไหนไม่เป็น
ดาวซิริอุสบนฟ้ าในยามค่าคืน แสดงว่าช่วงนั้นคือฤดูร้อน
กระทั่งพบว่า ทุกๆ 4 ปี ดาวซิริอุสจะปรากฏในตาแหน่งเดิมช้าไป 1 วัน ทาให้รู้ว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
ครบ 1 รอบ เป็นเวลา 365 วัน และอีก 1/4 วัน และนามาปรับใช้กันปฏิทินจันทรคต
ส่วนปฏิทินของชาวมายาได้ชื่อว่าเป็นปฏิทินที่มีความละเอียดสูงมากกว่าอารยธรรมอื่นๆ เพราะใช้ทั้ง
ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวฤกษ์ และดาวศุกร์ เป็นเครื่องกาหนดเวลา และปฏิทินของชาวมายายังมีหลาย
รูปแบบ ใช้ประโยชน์แตกต่างกันไป เช่น ปฏิทินสาหรับการประกอบพิธีกรรม, ปฏิทินการปกครอง และ
ปฏิทินทางศาสนา แต่หลักๆ ใช้ปฏิทินที่มีลักษณะเป็นวงกลมหลายๆ วงซ้อนกัน มีหลายละเอียดสูง และมี
การแบ่งช่วงเวลาเป็นยุคสมัยต่างๆ รวมแล้วเป็นระยะเวลา 5126 ปี
 อาจารย์สิทธิชัย บอกว่าปฏิทินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีที่มาจากปฏิทินของชาวโรมันเมื่อประมาณ 800 ปี
ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นปฏิทินแบบสุริยคติ โดยชาวโรมันประยุกต์มาจากปฏิทินของอารยธรรมอื่นอีกที
หนึ่ง กษัตริย์โรมันในยุคแรกกาหนดให้ปฏิทินมี 10 เดือน สันนิษฐานว่าอิงตามเลขฐาน 10 โดยให้เดือน
มี.ค. (March) เป็น เดือน 1 ทั้งนี้ เพราะชาวโรมันให้ความเคารพ "มาร์ส" (Mars) เทพเจ้าแห่ง
สงครามมากเป็นพิเศษ และในแต่ละเดือนจะมี 30 หรือ 31 วัน สลับกันไป ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับปฏิทิน
จันทรคติ เรื่อยไปจนถึงเดือนสุดท้ายคือเดือน ธ.ค. (December) รวมแล้วมีทั้งหมด 364วัน

More Related Content

What's hot

ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdfฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdf
Artiya Chaisuk
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
Kroopop Su
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
Sirirat Pongpid
 

What's hot (20)

ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
Introduction to nutrition
Introduction to nutritionIntroduction to nutrition
Introduction to nutrition
 
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์แบบทดสอบประวัติศาสตร์
แบบทดสอบประวัติศาสตร์
 
ฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdfฉันทศาสตร์ Pdf
ฉันทศาสตร์ Pdf
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่านใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 

Similar to การดูเวลาของคนสมัยก่อน

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
krunumc
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
Decode Ac
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
noeiinoii
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
NetchanOk Maneechai
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
teacherhistory
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 

Similar to การดูเวลาของคนสมัยก่อน (20)

03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1Global Young Scientists Summit 2014 # 1
Global Young Scientists Summit 2014 # 1
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdf
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 

การดูเวลาของคนสมัยก่อน

  • 1. โครงงานการค้นคว้า เรื่องการดูเวลาของคนในสมัยก่อน จัดทาโดย นาย สุรศักดิ์ จันทร์ดวง ม. 6/3 เลขที่ 10 นายอภิเษก แสนงาม ม.6/3 เลขที่ 31 นาเสนอ อาจารย์ ฮาวารีย์ มะเตฮะ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS โรงเรียนปทุมคงคา
  • 2. ความมุ่งหมายของงการวิจัย  1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการดูเวลาของคนสมัยก่อน  2. เพื่อเผยแพร่หัวเรื่องที่ศึกษาให้เป็นประโยชน์ส่วนรวม  3. ทาให้รู้ความคิดริเริ่มหรือการประยุคใช้ของคนสมัยก่อน  4. ทาให้รู้วิวัฒนาการและการเปลี่ยนไปของโลก  5.ทาให้รู้วิธีการดูเวลาของคนสมัยก่อน ความมุ่งหมายของงการวิจัย
  • 3.  หนึ่งในความสาคัญของมนุษย์คือการวิจัย เพราะเป็นรากเหง้าของความคิดจินตนาการพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่นาพาวิถีชีวิตก้าวไปสู่ความเจริญทางวิทยาการต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความมั่นคงทั้งทาง เศรษฐกิจและทางสังคม  การวิจัยเกิดมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทั้งที่เป็นวัตถุธรรมและนามธรรมชวนให้ผู้สนใจใฝ่รู้ ค้นคว้าที่มาที่ไปของสิ่งนั้น  การวิจัยยังนาวิถีมนุษย์ให้รู้จักค้นหาในสิ่งที่ต้องการรู้ด้วยความสงสัยในสิ่งแปลกใหม่ จึงก่อเกิดผลที่ ตามมาดังที่เราเห็นได้ไม่ว่าจะเป็น เครื่องบิน รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ ยารักษาโรค ปุ๋ยเคมีชีวภาพ และเรื่องอื่น ๆ มีมายมากที่ได้มาจากการวิจัย  การวิจัยนามาซึ่งความเจริญก้าวหน้า ยิ่งมีการวิจัยค้นคว้ามาก ความเจริญก้าวหน้ายิ่งมากขึ้น สาหรับ การวิจัยทางสังคมศาสตร์อาจก่อให้เกิดแก่บุคคลอย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ ความสาคัญของการวิจัย
  • 4. 1. เป็นประโยชน์แก้นักสังคมศาสตร์ ทาให้มีความรู้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นของ ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม นอกจากนั้น ยังทราบถึงเทคนิคและทฤษฎีใหม่ที่ได้จากการศึกษาด้วย 2. เป็นประโยชน์แก่ผู้นาชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพต่าง ๆ เช่น นักบริหาร ครูอาจารย์ กลุ่มผู้ใช้ แรงงาน และผู้บริหารงานในภาครัฐ บุคคลเหล่านี้ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยในการปรับปรุงนโยบาย การ วางแผน และการปฏิบัติงานของตน 3. เป็นประโยชน์แก่บุคคลทั่วไป ก่อให้เกิดความเข้าใจในพลวัต ( Dynamic ) และศักยภาพ ( Potential ) ของกิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ และใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความสาเร็จในหน้าที่ การงานส่วนตัว และส่วนรวม
  • 5.  ในการดูเวลาของคนสมัยก่อน เป็นการดูด้วยการใช้สิ่งธรรมชาติ คือ พระจันทร์และพระอาทิตย์ และใช้ดวงดาวบนท้องฟ้ าเป็นเครื่องกาหนด วันเดือนปี สมัยก่อนไม่มีนาฬิกาดู แต่คน เหล่านั้นก็แหงนหน้าดูฟ้ า และก็บอกว่าช่วงเวลานี้กี่โมง โดยปรากฏว่าคนสมัยก่อนอาศัยการดู วันและเวลาคือการมองท้องฟ้ า เพราะเหตุนี้คนสมัยก่อนอาจจะอาศัยการสังเกต การจดจา ตาแหน่งดวงอาทิตย์ นี่ถือว่าเป็นภูมิปัญญา ความฉลาดในการกาหนดนับวันเวลาตามแบบ ชาวบ้านโบราณโดยแท้ แต่อย่างไงก็ตามการดูเวลาของคนสมัยก่อนอาจจะไม่แม้นยาเหมือน สมัยปัจจุบัน เพราะเทคโนโลยี ที่ทาให้โลกเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและกาลเวลา สมมุติฐานของการวิจัย
  • 6. การกาหนดวันเวลานั้น ไม่ใช่ว่าจะเพิ่งมีในสมัยนี้ แม้แต่สมัยก่อนๆ หรือสมัยโบราณ ก็มีการกาหนดนับวัน เวลา แต่ในยุคต้นๆ นั้น คนโบราณใช้สิ่งที่สังเกตได้ง่าย รู้เห็นกันทุกคน ดูกันทุกวันคืน นั่นก็คือใช้ดวง อาทิตย์และดวงจันทร์เป็นเครื่องกาหนดนับวันเวลา. ก็ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น เนื่องจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์เป็นสิ่งที่สังเกตได้ง่าย รู้ดูเห็นกันทุกวัน คน โบราณจึงเฝ้าสังเกตการปรากฏขึ้น และการลับไปของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวต่างๆ เป็นเครื่อง กาหนดนับวันเวลา ในช่วงแรก ๆ อาจจะกาหนดนับแบบกว้างๆ ก่อน เช่น กาหนดหนึ่งวัน มีสามช่วง ช่วงเวลาแรกก่อนพระอาทิตย์จะตรงศีรษะ ช่วงที่สองขณะพระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ ช่วงที่สามพระอาทิตย์อยู่ เลยศีรษะไป
  • 7. "คนยุคโบราณใช้ดวงดาวบนท้องฟ้ าเป็นเครื่องกาหนดนับวันเดือนปี" อาจารย์สิทธิชัย จันทรศิลปิน หัวหน้า ฝ่ายท้องฟ้ าจาลองกรุงเทพฯ เริ่มต้นย้อนอดีตการกาเนิดปฏิทินโลก และเล่าต่อว่า เดิมทีมนุษย์ดารงชีวิตตาม สัญชาตญาณ แต่เมื่อเกิดภัยธรรมชาติที่รบกวนวิถีชีวิตปกติ ทาให้มนุษย์เริ่มสังเกตสิ่งรอบตัว รวมทั้งท้องฟ้ า และดวงดาว กระทั่งพบว่าบางครั้งภัยธรรมชาติมาพร้อมกับดาวบางดวงบนฟ้ า จึงเริ่มสนใจสิ่งที่อยู่บนฟ้ า และ นามาเทียบเคียงกับสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตของพวกเขา ซึ่งมีทั้งที่ตรงและไม่ตรง แต่สิ่งที่ตรงตามการคาดคะเนก็ ถูกจดจาต่อเนื่องเรื่อยมา จนกระทั่งรู้การครบรอบของสิ่งที่อยู่บนฟ้ า เช่น การครบรอบของดวงจันทร์ข้างขึ้น ข้างแรม
  • 8. ต่อมาในยุคเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 5,000 ปีที่แล้ว คนในสมัยนั้นเริ่มใช้ดวงจันทร์เป็นเครื่องกาหนดนับ ช่วงระยะเวลาที่ปัจจุบันเราเรียกว่า "เดือน" ซึ่งง่ายกว่าการสังเกตดวงอาทิตย์ ที่สามารถนับได้เหมือนกัน แต่ บอกช่วงเวลายาวนานเป็นรอบปี โดยมีชาวบาบิโลเนียเป็นชนชาติแรกที่กาหนดนับวันโดยวัดระยะเชิงมุมของ ดวงอาทิตย์ ซึ่งในแต่ละวันดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ไปประมาณ 1 องศา และครบรอบ 360 องศา ในระเวลา 1 ปี เมื่อ 4,000 ปีก่อน ชาวอียิปต์โบราณใช้ปฏิทินจันทรคติสังเกตดาว "ซิริอุส" (Sirius) ที่สว่างสุดบน ฟ้ าในเวลากลางคืนเป็นเครื่องบอกเวลา เช่น หากเมื่อใดเห็นดาวซิริอุสอยู่บนท้องฟ้ าด้านทิศตะวันออกก่อน พระอาทิตย์ขึ้น แสดงว่าแม่น้าไนล์จะเริ่มเอ่อล้น และเป็นเวลาเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก แต่หากช่วงไหนไม่เป็น ดาวซิริอุสบนฟ้ าในยามค่าคืน แสดงว่าช่วงนั้นคือฤดูร้อน
  • 9. กระทั่งพบว่า ทุกๆ 4 ปี ดาวซิริอุสจะปรากฏในตาแหน่งเดิมช้าไป 1 วัน ทาให้รู้ว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ครบ 1 รอบ เป็นเวลา 365 วัน และอีก 1/4 วัน และนามาปรับใช้กันปฏิทินจันทรคต ส่วนปฏิทินของชาวมายาได้ชื่อว่าเป็นปฏิทินที่มีความละเอียดสูงมากกว่าอารยธรรมอื่นๆ เพราะใช้ทั้ง ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวฤกษ์ และดาวศุกร์ เป็นเครื่องกาหนดเวลา และปฏิทินของชาวมายายังมีหลาย รูปแบบ ใช้ประโยชน์แตกต่างกันไป เช่น ปฏิทินสาหรับการประกอบพิธีกรรม, ปฏิทินการปกครอง และ ปฏิทินทางศาสนา แต่หลักๆ ใช้ปฏิทินที่มีลักษณะเป็นวงกลมหลายๆ วงซ้อนกัน มีหลายละเอียดสูง และมี การแบ่งช่วงเวลาเป็นยุคสมัยต่างๆ รวมแล้วเป็นระยะเวลา 5126 ปี  อาจารย์สิทธิชัย บอกว่าปฏิทินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีที่มาจากปฏิทินของชาวโรมันเมื่อประมาณ 800 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นปฏิทินแบบสุริยคติ โดยชาวโรมันประยุกต์มาจากปฏิทินของอารยธรรมอื่นอีกที หนึ่ง กษัตริย์โรมันในยุคแรกกาหนดให้ปฏิทินมี 10 เดือน สันนิษฐานว่าอิงตามเลขฐาน 10 โดยให้เดือน มี.ค. (March) เป็น เดือน 1 ทั้งนี้ เพราะชาวโรมันให้ความเคารพ "มาร์ส" (Mars) เทพเจ้าแห่ง สงครามมากเป็นพิเศษ และในแต่ละเดือนจะมี 30 หรือ 31 วัน สลับกันไป ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับปฏิทิน จันทรคติ เรื่อยไปจนถึงเดือนสุดท้ายคือเดือน ธ.ค. (December) รวมแล้วมีทั้งหมด 364วัน