SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 2
เรื่อง การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม PageMaker 7.0
1. หน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม PageMaker 7.0
เมื่อเริ่มเปิดเครื่องใช้งานโปรแกรม PageMaker 7.0 หน้าจอของโปรแกรมจะแสดงอยู่ในพื้นที่
สี่เหลี่ยม หรือที่เรียกว่า “หน้าต่าง” (Window) ซึ่งประกอบด้วยส่วนสาคัญต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคาสั่งและ
เครื่องมือ จัดเก็บไว้ในรูปของสัญลักษณ์ที่เรียกว่า ไอคอน (Icon) ให้เราสามารถดึงออกมาใช้งานและ
จัดเก็บไว้ เพื่อให้หน้าจอได้มีพื้นที่ทางานมากขึ้น รูปร่างหน้าตาของจอโปรแกรม PageMaker 7.0 มี
รูปร่างลักษณะดังที่ได้แสดงไว้ในรูปที่ 2.1
รูปที่ 2.1 แสดงส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม PageMaker 7.0
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
1.1 หน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม
ตารางที่ 2.1 แสดงหน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม
ส่วนสาคัญ ความหมาย/หน้าที่
ไตเติลบาร์
(Title Bar)
ส่วนแสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ของของงานพิมพ์ที่กาลัง
ใช้งานอยู่ ในกรณีที่สร้างสิ่งพิมพ์ใหม่และยังไม่ได้ตั้งชื่อไฟล์งาน
โปรแกรมจะตั้งชื่อให้เป็น Untitle…. จนกว่าจะได้ตั้งชื่อไฟล์งานและ
บันทึกสิ่งพิมพ์
เมนูบาร์
(Menu Bar)
เป็นที่รวมคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรมที่ใช้ใน PageMaker 7.0เพื่อ
อานวยความสะดวกในการทางานของโปรแกรม
ทูลบาร์
(Tool Bar)
เป็นแถบรวมไอคอน (Icon) เครื่องมือของคาสั่ง ที่เรียกใช้
บ่อย ๆ
ทูลบ็อกซ์
(Toolbox)
เป็นที่รวบรวมชุดเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและแก้ไข
ออบเจ็กต์
พื้นที่ทางาน
(Page)
คือ พื้นที่หน้ากระดาษทางานที่จะแสดงเป็นผลงานออกมาทาง
เครื่องพิมพ์ เป็นส่วนที่ให้เราได้จัดองค์ประกอบของข้อความและ
รูปภาพ
เพจบอร์ด
(Pasteboard)
คือ พื้นที่ว่าง ๆ รอบหน้าสิ่งพิมพ์ทาหน้าที่เหมือนกระดาษทดใช้
สาหรับเป็นพื้นที่พักข้อมูลเตรียมข้อความหรือรูปภาพก่อน
เคลื่อนย้ายไปยังหน้าสิ่งพิมพ์
มาสเตอร์เพจ
(Master Page)
คือ หน้าต้นแบบซึ่งมีทั้งหน้าต้นแบบซ้าย และหน้าต้นแบบขวา ใช้ใน
การกาหนดลักษณะต่าง ๆ เพื่อเป็นต้นแบบของหน้าอื่น
เพจไอคอน
(Page Icon)
เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่ากาลังใช้งานอยู่หน้าไหน และยังสามารถ
คลิกเมาส์ดูหน้าอื่น ๆ ตามเลขหมายได้
คอนโทรลพาเลจ
(Control Palette)
เป็นส่วนที่ควบคุมการทางานของออบเจ็กต์ต่าง ๆ ร่วมกับ
Toolbox สาหรับกาหนดคุณสมบัติ (จะเป็นไปตามเครื่องมือที่ใช้)
คัลเลอร์พาเลจ
(Colors Palette)
ทาหน้าที่กาหนดสีให้กับตัวอักษรและวัตถุ
2. การใช้งาน Zero Point และเส้นไกด์ชนิดต่าง ๆ
Zero Point คือ จุดที่เลขศูนย์ (0) ไม้บรรทัด ตามแนวนอนและแนวตั้งมาบรรจบกัน จะช่วย
ในการเลื่อนแถบหน่วยวัดบนไม้บรรทัดทั้งในแนวตั้งและแนวนอนให้เหมาะสมกับการทางาน โดยเมื่อ
เริ่มสร้างไฟล์ใหม่ ถ้ากาหนดให้เป็นหน้าเดี่ยว Zero Point จะอยู่ที่หัวมุมบนซ้ายของกระดาษพอดี
ส่วนหน้าใหม่ที่เป็นหน้าคู่ (กาหนด Double Sides ไว้ในส่วน Document Setup) จะมี Zero Point
อยู่ตรงด้านบนของกึ่งกลางที่สองหน้าบรรจบกัน
2.1 การย้าย Zero Point
ย้าย Zero Point มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่มุมบนซ้ายใต้เมนูค้างไว้
ขั้นตอนที่ 2 ลากเมาส์ไปปล่อยลงตรงตาแหน่งที่ต้องการให้เป็น Zero Point ใหม่
ขั้นตอนที่ 3 จุดศูนย์กลางของไม้บรรทัดทั้งสองแนวจะเปลี่ยนมาอยู่ ณ ตาแหน่ง Zero Point
ใหม่
รูปที่ 2.2 แสดงการย้าย Zero Point
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
เส้นไกด์ (Guide) คือ เส้นบนหน้าเอกสารที่เราใช้เป็นแนวในการจัดวางออบเจ็กต์ต่าง ๆ เส้น
ไกด์จะปรากฎเฉพาะบนหน้าจอเท่านั้น โดยจะไม่ถูกพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ ชนิดของเส้นไกด์มี 3
ชนิด คือ Margin Guide, Column Guide และ Ruler Guide
2.2 การสร้าง Margin Guide
Margin Guide คือ เส้นไกด์ของระยะเว้นจากขอบกระดาษ เส้นไกด์ชนิดนี้จะปรากฏเป็น
กรอบสี่เหลี่ยมสีในแต่ละหน้า ซึ่งสามารถกาหนดระยะของเส้นไกด์ได้ในส่วน Margin ของ
Document Setup ดังแสดงไว้ในรูปที่ 2.3
รูปที่ 2.3 แสดงส่วนของ Margins Guide
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จากรูปที่ 2.3 สามารถระบุระยะที่เส้นไกด์เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา ตรงที่ Margins โดยที่ Inside,
Outside, Top และ Bottom คือ ระยะจากขอบ ซ้าย ขวา บน และล่าง ตามลาดับ
2.3 การสร้าง Column Guide
Column Guide คือ เส้นไกด์ที่ใช้แบ่งหน้าออกเป็นหลาย ๆ คอลัมน์ โดยให้มีช่องว่างระหว่าง
คอลัมน์เท่า ๆ กัน ขั้นตอนการสร้าง Column Guide มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิกเมนู Layout
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Column Guides
รูปที่ 2.4 แสดง เมนู Layout เลือก Column Guides
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จะปรากฏหน้าต่างให้ใส่ค่าต่าง ๆ ดังรูปที่ 2.5
รูปที่ 2.5 แสดง หน้าต่าง Column Guide
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
Number of column คือ จานวนคอลัมน์ใน 1 หน้า
Space between column คือ ระยะห่างระหว่างคอลัมน์
ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม OK เพื่อสร้าง Column Guide
2.4 การสร้าง Ruler Guide
Ruler Guide คือ เส้นไกด์ที่เราสามารถหยิบออกมาจากไม้บรรทัดทั้งแนวนอนและแนวตั้ง
ได้ตลอดเวลาอย่างไม่จากัด โดยมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิกเมาส์ค้างไว้ที่ไม้บรรทัด
ขั้นตอนที่ 2 ลากเมาส์แล้วปล่อยที่ตาแหน่งที่ต้องการ
รูปที่ 2.6 แสดงการสร้าง Ruler Guide
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
2.5 การยกเลิก Ruler Guide
ให้คลิกเส้นไกด์ที่ต้องการลบออกค้างไว้ แล้วลากกลับไปที่ไม้บรรทัด จากนั้นจึงปล่อยเมาส์
2.6 การซ่อนและแสดงเส้นไกด์ทั้งหมด
สาหรับการซ่อนและแสดงเส้นไกด์ สามารถทาได้โดยคลิกที่เมนู View > Hide Guide เส้น
ไกด์บนหน้าจอจะหายไป ถ้าต้องการให้แสดงเส้นไกด์อีกครั้ง ให้คลิกที่ เมนู View > Show Guide
2.7 การจัดออบเจ็กต์เข้าชิดเส้นไกด์
เมื่อเวลาเราลากออบเจ็กต์ใด ๆ เข้าใกล้เส้นไกด์แล้ว ออบเจ็กต์นั้นจะเคลื่อนเข้าไปชิดเส้นไกด์
โดยอัตโนมัติ สามารถทาได้โดยคลิกที่เมนู View > Snap to Guide
2.8 การล็อกเส้นไกด์
หากเราไม่ต้องการให้เส้นไกด์ใด ๆ สามารถเคลื่อนย้ายตาแหน่งไปจากเดิม ให้คลิกที่เมนู
View > Lock Guide จะปรากฏเครื่องหมายถูกหน้าคาสั่ง แต่หากต้องการให้เส้นไกด์สามารถ
เคลื่อนย้ายตาแหน่งได้ ให้คลิกที่ Lock Guide อีกครั้ง เพื่อไม่ให้มีเครื่องหมายถูกปรากฏ
3. การทางานกับตัวอักษรและข้อความ
สาหรับการพิมพ์ข้อความลงบนพื้นที่หน้ากระดาษ สามารถทาได้ด้วยปุ่ม Text Tool ใน
กล่องเครื่องมือ Toolbox โดยใช้คาสั่งในการพิมพ์ข้อความ และทาตามขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม Text Tool ในกล่องเครื่องมือ Toolbox และตัวชี้เมาส์จะมี
ลักษณะเปลี่ยนไปเป็น
รูปที่ 2.7 แสดงลักษณะของตัวชี้เมาส์ที่เปลี่ยนไปเมื่อคลิกที่ปุ่ม Text Tool
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมาส์ลากเพื่อกาหนดขอบเขตในการพิมพ์ข้อความ ดังรูปที่ 2.8
รูปที่ 2.8 แสดงการสร้างขอบเขตของการพิมพ์ข้อความจากการคลิกเมาส์ลาก
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 พิมพ์ข้อความลงไปบนหน้ากระดาษ ในเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่สามารถทาได้
ด้วยการกดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ด
รูปที่ 2.9 แสดงการพิมพ์ข้อความลงบนพื้นที่หน้ากระดาษ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ภายหลังจากที่ได้พิมพ์ข้อความที่ต้องการไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยังสามารถจัดการกับข้อความ
ที่พิมพ์ไว้ได้อีกมากมาย เช่น การเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของตัวอักษร, กาหนดข้อความให้ดูแตกต่าง,
การตกแต่งข้อความด้วยสี, ปรับช่องไฟ หรือระยะห่างระหว่างตัวอักษร สามารถทาได้ ดังนี้
4. การเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
4.1 การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร
รูปแบบของตัวอักษรหรือบางครั้งเรียกว่า “ฟอนต์” (Font) จะช่วยให้การแสดงผลของ
ข้อความมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของฟอนต์
ตัวอักษรสามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของฟอนต์ ดังรูปที่ 2.10
รูปที่ 2.10 แสดงการลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของฟอนต์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมนู Type > Font และเลือกรูปแบบของฟอนต์ที่ต้องการ ดังรูปที่ 2.11 ได้
เลือกที่ฟอนต์ @Arial Unicode MS
รูปที่ 2.11 แสดงการเลือกรูปแบบของฟอนต์ @Arial Unicode MS
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
หลังจากที่ได้เลือกรูปแบบฟอนต์ตามที่ต้องการแล้ว ตัวอักษรหรือข้อความที่ลากเมาส์เลือกไว้
ก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของฟอนต์ที่เลือก
รูปที่ 2.12 แสดงรูปแบบของฟอนต์ที่เปลี่ยนไปตามรูปแบบที่เลือก
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ในกรณีที่ต้องการเลือกข้อความทั้งหมดที่อยู่ในกรอบ สามารถทาได้ด้วยการคลิกเมนู
Edit > Select All หรือกดปุ่ม < Ctrl + A >
4.2 การเปลี่ยนขนาดตัวอักษร
ขั้นตอนของการเปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทาได้ด้วยการลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยน
ขนาด โดยคลิกที่ Type > Size และเลือกขาดที่ต้องการ โดยค่ามากจะทาให้ฟอนต์มีขนาดใหญ่ขึ้น
และข้อความที่เลือกไว้จะมีขนาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทันที ดังรูปที่ 2.13 และ 2.14
รูปที่ 2.13 แสดงการเลือกการเปลี่ยนขนาดของฟอนต์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
รูปที่ 2.14 แสดงขนาดของฟอนต์ที่เปลี่ยนแปลง
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
5. การแต่งข้อความด้วยสี
การแต่งข้อความด้วยสี จัดเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่จะช่วยให้ผลงานที่ได้ออกมามีความสวยงาม
มากยิ่งขึ้น ซึ่งโดยปกติข้อความที่พิมพ์ไว้จะเป็นสีดาแต่หากต้องการเปลี่ยนให้เป็นสีอื่น ๆ สามารถทา
ได้ ดังขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนสี
ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมนู Type > Character หรือกดปุ่ม <Ctrl + T>
รูปที่ 2.15 แสดงการคลิกเมนู Type >Character
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จากนั้นก็จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Character Specifications ขึ้นมา ดังรูปที่ 2.16
รูปที่ 2.16 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Character Specifications
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 เลือกในส่วนของ Color และเลือกสีที่ต้องการ โดยในที่นี้เลือก สีน้าเงิน
รูปที่ 2.17 แสดงขั้นตอนของการเลือกเปลี่ยนสีของข้อความ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 เมื่อแน่ใจแล้วว่าจะเปลี่ยนข้อความเป็นสีน้าเงิน คลิก OK ข้อความที่เลือกก็จะ
เปลี่ยนไปเป็นสีน้าเงินทันที ดังรูปที่ 2.18
รูปที่ 2.18 แสดงการเปลี่ยนสีของข้อความที่สมบูรณ์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
6. การแทรกหน้ากระดาษด้วยคาสั่ง Insert Pages
การแทรกหน้ากระดาษ หมายถึง การเพิ่มหน้ากระดาษว่างเข้าไป เพื่อการทางานหลาย ๆ
หน้า ด้วยการใช้คาสั่ง ตามขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่คาสั่ง Layout
ขั้นตอนที่ 2 เลือกที่ Insert Pages
รูปที่ 2.19 แสดงเมนูคาสั่ง Layout > Insert Pages
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 เลือกใส่จานวนหน้ากระดาษที่ต้องการเพิ่มลงในช่องของไดอะล็อกบ็อก Insert Page
รูปที่ 2.20 แสดงไดอะล็อกบ็อกของ Insert Page
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
7. การบันทึกเพื่อปิดไฟล์งาน
หลังจากที่มีการสร้างงานขึ้นมาแล้ว ถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ในครั้งต่อไปจะต้องทาการบันทึกงาน
นั้น ๆ เอาไว้ใน Diskette หรือ Hard Disk ซึ่งถ้าต้องการเรียกใช้เมื่อใดก็สามารถใช้คาสั่งในการเปิด
ไฟล์ เพื่อเรียกงานที่บันทึกไว้มาใช้งานได้ สาหรับวิธีการในการจัดการกับไฟล์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการ
บันทึก การเปิดไฟล์ ใช้งานหรือการปิดไฟล์สามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
7.1 การบันทึกไฟล์งาน
การบันทึกงานที่สร้างไว้เพื่อนามาใช้ในครั้งต่อไป สาหรับขั้นตอนในการบันทึก นั้นสิ่งที่สาคัญ
คือ ผู้ใช้ต้องกาหนด Drive หรือ Directory ที่จะเก็บไฟล์ให้ถูกต้อง และตั้งชื่อไฟล์ให้สอดคล้องกับงาน
ที่ทา เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ในครั้งต่อไป สาหรับวิธีการบันทึกไฟล์ ทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือก Save จากเมนู File จะปรากฏ ไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 2.21
รูปที่ 2.21 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Save Publication
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 กาหนด Drive/Directory ที่ต้องการบันทึกไฟล์ ในที่นี้ให้บันทึกใน Drive G
ขั้นตอนที่ 3 ตั้งโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไว้เป็นงานของตนเอง ในที่นี้ให้ตั้งโฟลเดอร์ว่า PageMager
ขั้นตอนที่ 4 ตั้งชื่อไฟล์ที่ต้องการในช่อง File Name ว่า Page01 ดังรูปที่ 2.22
รูปที่ 2.22 แสดงการจัดเก็บไฟล์งาน
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่ม Save
ก็จะได้งานชื่อ Page01 อยู่ในโฟลเดอร์ที่ชื่อว่า PageMaker 7.0 ให้เราได้เรียกเปิดงาน
ออกมาแก้ไขและปรับปรุงงานได้สะดวกและรวดเร็ว
งานที่ได้บันทึกหรือจัดเก็บแล้วจะแสดงชื่อของงานปรากฎอยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือของหน้าจอ
ที่แถบ Title Bar แทนที่ Untitled-1 เป็นชื่องานที่ได้บันทึกว่า [G:Page01.pmd] ดังรูปที่ 2.23
รูปที่ 2.23 แสดงงานที่ได้บันทึกไว้และสามารถปิดงานนั้นได้
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
7.2 การปิดไฟล์งาน
หลังจากที่มีการบันทึกไฟล์เก็บไว้เรียบร้อยแล้ว ถ้าไม่ต้องการทางานกับไฟล์นั้นแล้ว ควรจะมี
การปิดไฟล์นั้นลงไป เนื่องจากถ้าเรายังเปิดอยู่จะทาให้เปลืองพื้นที่ใช้งานในหน่วยความจา และจะทา
ให้การทางานนั้นช้าลง ดังนั้นในเมื่อไม่ได้ใช้งานใด ๆ อีกก็ควรจะปิดไฟล์เหล่านั้นลงไป โดยทาตาม
ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือก Close จากเมนู File หรือ
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Close จาก Control Menu Box ของ File
ขั้นตอนที่ 3 ในกรณีที่ยังไม่ได้ทาการบันทึกข้อมูลไว้โปรแกรมจะมี ไดอะล็อกบ็อกซ์ เพื่อ
ถามถึงการบันทึก
ขั้นตอนที่ 4 ตอบ Yes ถ้าต้องการบันทึกไฟล์ไว้
ตอบ No ถ้าไม่ต้องการบันทึกไฟล์
ตอบ Cancel ถ้าต้องการยกเลิกคาสั่ง
รูปที่ 2.24 แสดงงานที่ได้บันทึกไว้และสามารถปิดงานนั้นได้
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
7.3 การเปิดไฟล์งาน
ในกรณีที่มีการบันทึกไฟล์ไว้แล้ว ถ้าต้องการเรียกไฟล์ ที่บันทึกไว้มาใช้งานสามารถทาได้ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือก Open จาก Menu File
รูปที่ 2.25 แสดงการเปิดไฟล์งาน ที่ File > Open
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 เปิด Drive/Directory ที่บันทึก File ไว้
ขั้นตอนที่ 3 เลือกชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิด
รูปที่ 2.26 แสดงการเรียกหาชื่อไฟล์งานที่ได้บันทึกไว้
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม Open ก็จะได้งานที่บันทึกไว้ขึ้นมาใช้งาน และปรากฏชื่อของไฟล์งาน
อยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือใต้แถบของ Tool Bar ดังรูปที่ 2.27
รูปที่ 2.27 แสดงไฟล์งานที่ได้เปิดขึ้นมาพร้อมที่จะทาการแก้ไขหรือใช้งานต่อไป
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ใบงานที่ 2.1
กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 30 นาที
จุดประสงค์ของงาน
1. ตั้งค่าหน้ากระดาษได้
2. พิมพ์อักษรและข้อความได้
3. ตกแต่งสีตัวอักษรและข้อความได้
4. มีความคิดสร้างสรรค์ผลงานได้
5. บันทึกไฟล์งานตามคาสั่งได้
กิจกรรม
คาสั่ง ให้นักศึกษาพิมพ์ประวัติส่วนตัว ดังนี้
1. ตั้งค่าหน้ากระดาษ Inside = 1 นิ้ว, Outside = 1 นิ้ว, Top = 1 นิ้ว, Bottom = 1นิ้ว
วางกระดาษแนวตั้ง
2. กาหนดแบบตัวอักษร AngsanaUPC
3. รายละเอียดประวัติส่วนตัวของนักศึกษา
เกณฑ์การพิจารณา
1. สะกดคาถูกต้อง
2. ใช้แบบตัวอักษรถูกต้อง
3. ใช้ขนาดของตัวอักษรถูกต้อง
4. ตกแต่งสีข้อความสวยงาม
5. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด
ใบงานที่ 2.2
กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที
จุดประสงค์ของงาน
1. ตั้งค่าหน้ากระดาษได้
2. สร้างเส้นไกด์ได้
3. ตกแต่งข้อความด้วยสีได้
4. ใส่รูปภาพได้
กิจกรรม
ให้นักศึกษาปฏิบัติงานดังนี้
การ์ดอวยพร
1. คลิก File - New สร้างสิ่งพิมพ์
2. ให้ตั้งค่า Document Setup ตามตัวอย่างขนาดกระดาษ Letter เลือกแนวนอน Wide
3 ให้แบ่งเส้น guide แนวตั้ง โดยลาก จากไม้บรรทัดมาที่ตาแหน่งเลข 5 , 5.5 และ 6
ได้ 3 เส้น
4. จะถูกแบ่งกระดาษออกเป็น 2 ด้าน ให้ออกแบบโดยให้ตกแต่งข้อความและใส่รูปภาพตาม
ต้องการโดยออกแบบให้สวยงามตามตัวอย่าง
5 ให้แทรกหน้า 2 โดยคลิกเมนู Layout เลือก 1 หน้า หรือ คลิกขวาที่เลขหน้า เลือก Add
one Page เพื่อตกแต่งด้านในของการ์ดอวยพร โดยกาหนดเส้น Guide เหมือนหน้าแรก โดยลากที่
เลข 5 ,5.5 และ 6 ให้ตกแต่งตามที่ต้องการ ใส่ข้อความและรูปภาพ
6. ให้บันทึกงาน File – Save
เกณฑ์การพิจารณา
1. การตั้งค่าหน้ากระดาษ
2. การแบ่งเส้นไกด์
3. การแทรกหน้ากระดาษ

More Related Content

What's hot

คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานguest8ec15d
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรการใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรRathapol Siriphimolwat
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นchupol bamrungchok
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 

What's hot (14)

Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งาน
 
คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรการใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การใส่รูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
 
Unit 8
Unit 8Unit 8
Unit 8
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 

Similar to Unit 2

Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายkrunueng1
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
Flasheffect[1]
Flasheffect[1]Flasheffect[1]
Flasheffect[1]pom_2555
 
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรการแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรpanisa
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานกชพร มณีพงษ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8doraemonbookie
 
Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorwarepui3327
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2patchareepoim
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบเขมิกา กุลาศรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1wachee_4
 

Similar to Unit 2 (20)

Unit 12
Unit 12Unit 12
Unit 12
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
Flasheffect[1]
Flasheffect[1]Flasheffect[1]
Flasheffect[1]
 
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษรการแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
การแทรกรูปภาพและการประดิษฐ์ตัวอักษร
 
เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Comcmpoly

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...Comcmpoly
 
Com-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseCom-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseComcmpoly
 

More from Comcmpoly (13)

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
Eport158
Eport158Eport158
Eport158
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
 
Unit 18
Unit 18Unit 18
Unit 18
 
Unit 17
Unit 17Unit 17
Unit 17
 
Unit 16
Unit 16Unit 16
Unit 16
 
Unit 14
Unit 14Unit 14
Unit 14
 
Unit 11
Unit 11Unit 11
Unit 11
 
Unit 13
Unit 13Unit 13
Unit 13
 
Unit 10
Unit 10Unit 10
Unit 10
 
unit 1
unit 1unit 1
unit 1
 
P1
P1P1
P1
 
Com-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseCom-basic Shortcourse
Com-basic Shortcourse
 

Unit 2

  • 1. บทที่ 2 เรื่อง การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม PageMaker 7.0 1. หน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม PageMaker 7.0 เมื่อเริ่มเปิดเครื่องใช้งานโปรแกรม PageMaker 7.0 หน้าจอของโปรแกรมจะแสดงอยู่ในพื้นที่ สี่เหลี่ยม หรือที่เรียกว่า “หน้าต่าง” (Window) ซึ่งประกอบด้วยส่วนสาคัญต่าง ๆ ทั้งที่เป็นคาสั่งและ เครื่องมือ จัดเก็บไว้ในรูปของสัญลักษณ์ที่เรียกว่า ไอคอน (Icon) ให้เราสามารถดึงออกมาใช้งานและ จัดเก็บไว้ เพื่อให้หน้าจอได้มีพื้นที่ทางานมากขึ้น รูปร่างหน้าตาของจอโปรแกรม PageMaker 7.0 มี รูปร่างลักษณะดังที่ได้แสดงไว้ในรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 แสดงส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม PageMaker 7.0 (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 2. 1.1 หน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม ตารางที่ 2.1 แสดงหน้าที่ส่วนประกอบสาคัญของหน้าจอโปรแกรม ส่วนสาคัญ ความหมาย/หน้าที่ ไตเติลบาร์ (Title Bar) ส่วนแสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ของของงานพิมพ์ที่กาลัง ใช้งานอยู่ ในกรณีที่สร้างสิ่งพิมพ์ใหม่และยังไม่ได้ตั้งชื่อไฟล์งาน โปรแกรมจะตั้งชื่อให้เป็น Untitle…. จนกว่าจะได้ตั้งชื่อไฟล์งานและ บันทึกสิ่งพิมพ์ เมนูบาร์ (Menu Bar) เป็นที่รวมคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรมที่ใช้ใน PageMaker 7.0เพื่อ อานวยความสะดวกในการทางานของโปรแกรม ทูลบาร์ (Tool Bar) เป็นแถบรวมไอคอน (Icon) เครื่องมือของคาสั่ง ที่เรียกใช้ บ่อย ๆ ทูลบ็อกซ์ (Toolbox) เป็นที่รวบรวมชุดเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและแก้ไข ออบเจ็กต์ พื้นที่ทางาน (Page) คือ พื้นที่หน้ากระดาษทางานที่จะแสดงเป็นผลงานออกมาทาง เครื่องพิมพ์ เป็นส่วนที่ให้เราได้จัดองค์ประกอบของข้อความและ รูปภาพ เพจบอร์ด (Pasteboard) คือ พื้นที่ว่าง ๆ รอบหน้าสิ่งพิมพ์ทาหน้าที่เหมือนกระดาษทดใช้ สาหรับเป็นพื้นที่พักข้อมูลเตรียมข้อความหรือรูปภาพก่อน เคลื่อนย้ายไปยังหน้าสิ่งพิมพ์ มาสเตอร์เพจ (Master Page) คือ หน้าต้นแบบซึ่งมีทั้งหน้าต้นแบบซ้าย และหน้าต้นแบบขวา ใช้ใน การกาหนดลักษณะต่าง ๆ เพื่อเป็นต้นแบบของหน้าอื่น เพจไอคอน (Page Icon) เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่ากาลังใช้งานอยู่หน้าไหน และยังสามารถ คลิกเมาส์ดูหน้าอื่น ๆ ตามเลขหมายได้ คอนโทรลพาเลจ (Control Palette) เป็นส่วนที่ควบคุมการทางานของออบเจ็กต์ต่าง ๆ ร่วมกับ Toolbox สาหรับกาหนดคุณสมบัติ (จะเป็นไปตามเครื่องมือที่ใช้) คัลเลอร์พาเลจ (Colors Palette) ทาหน้าที่กาหนดสีให้กับตัวอักษรและวัตถุ
  • 3. 2. การใช้งาน Zero Point และเส้นไกด์ชนิดต่าง ๆ Zero Point คือ จุดที่เลขศูนย์ (0) ไม้บรรทัด ตามแนวนอนและแนวตั้งมาบรรจบกัน จะช่วย ในการเลื่อนแถบหน่วยวัดบนไม้บรรทัดทั้งในแนวตั้งและแนวนอนให้เหมาะสมกับการทางาน โดยเมื่อ เริ่มสร้างไฟล์ใหม่ ถ้ากาหนดให้เป็นหน้าเดี่ยว Zero Point จะอยู่ที่หัวมุมบนซ้ายของกระดาษพอดี ส่วนหน้าใหม่ที่เป็นหน้าคู่ (กาหนด Double Sides ไว้ในส่วน Document Setup) จะมี Zero Point อยู่ตรงด้านบนของกึ่งกลางที่สองหน้าบรรจบกัน 2.1 การย้าย Zero Point ย้าย Zero Point มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่มุมบนซ้ายใต้เมนูค้างไว้ ขั้นตอนที่ 2 ลากเมาส์ไปปล่อยลงตรงตาแหน่งที่ต้องการให้เป็น Zero Point ใหม่ ขั้นตอนที่ 3 จุดศูนย์กลางของไม้บรรทัดทั้งสองแนวจะเปลี่ยนมาอยู่ ณ ตาแหน่ง Zero Point ใหม่ รูปที่ 2.2 แสดงการย้าย Zero Point (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 4. เส้นไกด์ (Guide) คือ เส้นบนหน้าเอกสารที่เราใช้เป็นแนวในการจัดวางออบเจ็กต์ต่าง ๆ เส้น ไกด์จะปรากฎเฉพาะบนหน้าจอเท่านั้น โดยจะไม่ถูกพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ ชนิดของเส้นไกด์มี 3 ชนิด คือ Margin Guide, Column Guide และ Ruler Guide 2.2 การสร้าง Margin Guide Margin Guide คือ เส้นไกด์ของระยะเว้นจากขอบกระดาษ เส้นไกด์ชนิดนี้จะปรากฏเป็น กรอบสี่เหลี่ยมสีในแต่ละหน้า ซึ่งสามารถกาหนดระยะของเส้นไกด์ได้ในส่วน Margin ของ Document Setup ดังแสดงไว้ในรูปที่ 2.3 รูปที่ 2.3 แสดงส่วนของ Margins Guide (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) จากรูปที่ 2.3 สามารถระบุระยะที่เส้นไกด์เว้นจากขอบกระดาษเข้ามา ตรงที่ Margins โดยที่ Inside, Outside, Top และ Bottom คือ ระยะจากขอบ ซ้าย ขวา บน และล่าง ตามลาดับ 2.3 การสร้าง Column Guide Column Guide คือ เส้นไกด์ที่ใช้แบ่งหน้าออกเป็นหลาย ๆ คอลัมน์ โดยให้มีช่องว่างระหว่าง คอลัมน์เท่า ๆ กัน ขั้นตอนการสร้าง Column Guide มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเมนู Layout ขั้นตอนที่ 2 เลือก Column Guides
  • 5. รูปที่ 2.4 แสดง เมนู Layout เลือก Column Guides (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) จะปรากฏหน้าต่างให้ใส่ค่าต่าง ๆ ดังรูปที่ 2.5 รูปที่ 2.5 แสดง หน้าต่าง Column Guide (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) Number of column คือ จานวนคอลัมน์ใน 1 หน้า Space between column คือ ระยะห่างระหว่างคอลัมน์ ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม OK เพื่อสร้าง Column Guide
  • 6. 2.4 การสร้าง Ruler Guide Ruler Guide คือ เส้นไกด์ที่เราสามารถหยิบออกมาจากไม้บรรทัดทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ได้ตลอดเวลาอย่างไม่จากัด โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเมาส์ค้างไว้ที่ไม้บรรทัด ขั้นตอนที่ 2 ลากเมาส์แล้วปล่อยที่ตาแหน่งที่ต้องการ รูปที่ 2.6 แสดงการสร้าง Ruler Guide (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 2.5 การยกเลิก Ruler Guide ให้คลิกเส้นไกด์ที่ต้องการลบออกค้างไว้ แล้วลากกลับไปที่ไม้บรรทัด จากนั้นจึงปล่อยเมาส์ 2.6 การซ่อนและแสดงเส้นไกด์ทั้งหมด สาหรับการซ่อนและแสดงเส้นไกด์ สามารถทาได้โดยคลิกที่เมนู View > Hide Guide เส้น ไกด์บนหน้าจอจะหายไป ถ้าต้องการให้แสดงเส้นไกด์อีกครั้ง ให้คลิกที่ เมนู View > Show Guide 2.7 การจัดออบเจ็กต์เข้าชิดเส้นไกด์ เมื่อเวลาเราลากออบเจ็กต์ใด ๆ เข้าใกล้เส้นไกด์แล้ว ออบเจ็กต์นั้นจะเคลื่อนเข้าไปชิดเส้นไกด์ โดยอัตโนมัติ สามารถทาได้โดยคลิกที่เมนู View > Snap to Guide
  • 7. 2.8 การล็อกเส้นไกด์ หากเราไม่ต้องการให้เส้นไกด์ใด ๆ สามารถเคลื่อนย้ายตาแหน่งไปจากเดิม ให้คลิกที่เมนู View > Lock Guide จะปรากฏเครื่องหมายถูกหน้าคาสั่ง แต่หากต้องการให้เส้นไกด์สามารถ เคลื่อนย้ายตาแหน่งได้ ให้คลิกที่ Lock Guide อีกครั้ง เพื่อไม่ให้มีเครื่องหมายถูกปรากฏ 3. การทางานกับตัวอักษรและข้อความ สาหรับการพิมพ์ข้อความลงบนพื้นที่หน้ากระดาษ สามารถทาได้ด้วยปุ่ม Text Tool ใน กล่องเครื่องมือ Toolbox โดยใช้คาสั่งในการพิมพ์ข้อความ และทาตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม Text Tool ในกล่องเครื่องมือ Toolbox และตัวชี้เมาส์จะมี ลักษณะเปลี่ยนไปเป็น รูปที่ 2.7 แสดงลักษณะของตัวชี้เมาส์ที่เปลี่ยนไปเมื่อคลิกที่ปุ่ม Text Tool (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมาส์ลากเพื่อกาหนดขอบเขตในการพิมพ์ข้อความ ดังรูปที่ 2.8 รูปที่ 2.8 แสดงการสร้างขอบเขตของการพิมพ์ข้อความจากการคลิกเมาส์ลาก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 8. ขั้นตอนที่ 3 พิมพ์ข้อความลงไปบนหน้ากระดาษ ในเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่สามารถทาได้ ด้วยการกดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ด รูปที่ 2.9 แสดงการพิมพ์ข้อความลงบนพื้นที่หน้ากระดาษ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ภายหลังจากที่ได้พิมพ์ข้อความที่ต้องการไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยังสามารถจัดการกับข้อความ ที่พิมพ์ไว้ได้อีกมากมาย เช่น การเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของตัวอักษร, กาหนดข้อความให้ดูแตกต่าง, การตกแต่งข้อความด้วยสี, ปรับช่องไฟ หรือระยะห่างระหว่างตัวอักษร สามารถทาได้ ดังนี้ 4. การเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของตัวอักษร 4.1 การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรหรือบางครั้งเรียกว่า “ฟอนต์” (Font) จะช่วยให้การแสดงผลของ ข้อความมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบและขนาดของฟอนต์ ตัวอักษรสามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของฟอนต์ ดังรูปที่ 2.10 รูปที่ 2.10 แสดงการลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของฟอนต์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 9. ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมนู Type > Font และเลือกรูปแบบของฟอนต์ที่ต้องการ ดังรูปที่ 2.11 ได้ เลือกที่ฟอนต์ @Arial Unicode MS รูปที่ 2.11 แสดงการเลือกรูปแบบของฟอนต์ @Arial Unicode MS (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) หลังจากที่ได้เลือกรูปแบบฟอนต์ตามที่ต้องการแล้ว ตัวอักษรหรือข้อความที่ลากเมาส์เลือกไว้ ก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของฟอนต์ที่เลือก รูปที่ 2.12 แสดงรูปแบบของฟอนต์ที่เปลี่ยนไปตามรูปแบบที่เลือก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ในกรณีที่ต้องการเลือกข้อความทั้งหมดที่อยู่ในกรอบ สามารถทาได้ด้วยการคลิกเมนู Edit > Select All หรือกดปุ่ม < Ctrl + A >
  • 10. 4.2 การเปลี่ยนขนาดตัวอักษร ขั้นตอนของการเปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทาได้ด้วยการลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยน ขนาด โดยคลิกที่ Type > Size และเลือกขาดที่ต้องการ โดยค่ามากจะทาให้ฟอนต์มีขนาดใหญ่ขึ้น และข้อความที่เลือกไว้จะมีขนาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทันที ดังรูปที่ 2.13 และ 2.14 รูปที่ 2.13 แสดงการเลือกการเปลี่ยนขนาดของฟอนต์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) รูปที่ 2.14 แสดงขนาดของฟอนต์ที่เปลี่ยนแปลง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 11. 5. การแต่งข้อความด้วยสี การแต่งข้อความด้วยสี จัดเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่จะช่วยให้ผลงานที่ได้ออกมามีความสวยงาม มากยิ่งขึ้น ซึ่งโดยปกติข้อความที่พิมพ์ไว้จะเป็นสีดาแต่หากต้องการเปลี่ยนให้เป็นสีอื่น ๆ สามารถทา ได้ ดังขั้นตอนต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนสี ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมนู Type > Character หรือกดปุ่ม <Ctrl + T> รูปที่ 2.15 แสดงการคลิกเมนู Type >Character (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) จากนั้นก็จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Character Specifications ขึ้นมา ดังรูปที่ 2.16 รูปที่ 2.16 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Character Specifications (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 12. ขั้นตอนที่ 3 เลือกในส่วนของ Color และเลือกสีที่ต้องการ โดยในที่นี้เลือก สีน้าเงิน รูปที่ 2.17 แสดงขั้นตอนของการเลือกเปลี่ยนสีของข้อความ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 4 เมื่อแน่ใจแล้วว่าจะเปลี่ยนข้อความเป็นสีน้าเงิน คลิก OK ข้อความที่เลือกก็จะ เปลี่ยนไปเป็นสีน้าเงินทันที ดังรูปที่ 2.18 รูปที่ 2.18 แสดงการเปลี่ยนสีของข้อความที่สมบูรณ์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 6. การแทรกหน้ากระดาษด้วยคาสั่ง Insert Pages การแทรกหน้ากระดาษ หมายถึง การเพิ่มหน้ากระดาษว่างเข้าไป เพื่อการทางานหลาย ๆ หน้า ด้วยการใช้คาสั่ง ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่คาสั่ง Layout ขั้นตอนที่ 2 เลือกที่ Insert Pages
  • 13. รูปที่ 2.19 แสดงเมนูคาสั่ง Layout > Insert Pages (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 3 เลือกใส่จานวนหน้ากระดาษที่ต้องการเพิ่มลงในช่องของไดอะล็อกบ็อก Insert Page รูปที่ 2.20 แสดงไดอะล็อกบ็อกของ Insert Page (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 7. การบันทึกเพื่อปิดไฟล์งาน หลังจากที่มีการสร้างงานขึ้นมาแล้ว ถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ในครั้งต่อไปจะต้องทาการบันทึกงาน นั้น ๆ เอาไว้ใน Diskette หรือ Hard Disk ซึ่งถ้าต้องการเรียกใช้เมื่อใดก็สามารถใช้คาสั่งในการเปิด ไฟล์ เพื่อเรียกงานที่บันทึกไว้มาใช้งานได้ สาหรับวิธีการในการจัดการกับไฟล์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการ บันทึก การเปิดไฟล์ ใช้งานหรือการปิดไฟล์สามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้ 7.1 การบันทึกไฟล์งาน การบันทึกงานที่สร้างไว้เพื่อนามาใช้ในครั้งต่อไป สาหรับขั้นตอนในการบันทึก นั้นสิ่งที่สาคัญ คือ ผู้ใช้ต้องกาหนด Drive หรือ Directory ที่จะเก็บไฟล์ให้ถูกต้อง และตั้งชื่อไฟล์ให้สอดคล้องกับงาน ที่ทา เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ในครั้งต่อไป สาหรับวิธีการบันทึกไฟล์ ทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
  • 14. ขั้นตอนที่ 1 เลือก Save จากเมนู File จะปรากฏ ไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 2.21 รูปที่ 2.21 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Save Publication (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 กาหนด Drive/Directory ที่ต้องการบันทึกไฟล์ ในที่นี้ให้บันทึกใน Drive G ขั้นตอนที่ 3 ตั้งโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไว้เป็นงานของตนเอง ในที่นี้ให้ตั้งโฟลเดอร์ว่า PageMager ขั้นตอนที่ 4 ตั้งชื่อไฟล์ที่ต้องการในช่อง File Name ว่า Page01 ดังรูปที่ 2.22 รูปที่ 2.22 แสดงการจัดเก็บไฟล์งาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่ม Save
  • 15. ก็จะได้งานชื่อ Page01 อยู่ในโฟลเดอร์ที่ชื่อว่า PageMaker 7.0 ให้เราได้เรียกเปิดงาน ออกมาแก้ไขและปรับปรุงงานได้สะดวกและรวดเร็ว งานที่ได้บันทึกหรือจัดเก็บแล้วจะแสดงชื่อของงานปรากฎอยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือของหน้าจอ ที่แถบ Title Bar แทนที่ Untitled-1 เป็นชื่องานที่ได้บันทึกว่า [G:Page01.pmd] ดังรูปที่ 2.23 รูปที่ 2.23 แสดงงานที่ได้บันทึกไว้และสามารถปิดงานนั้นได้ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 7.2 การปิดไฟล์งาน หลังจากที่มีการบันทึกไฟล์เก็บไว้เรียบร้อยแล้ว ถ้าไม่ต้องการทางานกับไฟล์นั้นแล้ว ควรจะมี การปิดไฟล์นั้นลงไป เนื่องจากถ้าเรายังเปิดอยู่จะทาให้เปลืองพื้นที่ใช้งานในหน่วยความจา และจะทา ให้การทางานนั้นช้าลง ดังนั้นในเมื่อไม่ได้ใช้งานใด ๆ อีกก็ควรจะปิดไฟล์เหล่านั้นลงไป โดยทาตาม ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือก Close จากเมนู File หรือ ขั้นตอนที่ 2 เลือก Close จาก Control Menu Box ของ File ขั้นตอนที่ 3 ในกรณีที่ยังไม่ได้ทาการบันทึกข้อมูลไว้โปรแกรมจะมี ไดอะล็อกบ็อกซ์ เพื่อ ถามถึงการบันทึก ขั้นตอนที่ 4 ตอบ Yes ถ้าต้องการบันทึกไฟล์ไว้ ตอบ No ถ้าไม่ต้องการบันทึกไฟล์ ตอบ Cancel ถ้าต้องการยกเลิกคาสั่ง
  • 16. รูปที่ 2.24 แสดงงานที่ได้บันทึกไว้และสามารถปิดงานนั้นได้ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 7.3 การเปิดไฟล์งาน ในกรณีที่มีการบันทึกไฟล์ไว้แล้ว ถ้าต้องการเรียกไฟล์ ที่บันทึกไว้มาใช้งานสามารถทาได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือก Open จาก Menu File รูปที่ 2.25 แสดงการเปิดไฟล์งาน ที่ File > Open (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 เปิด Drive/Directory ที่บันทึก File ไว้ ขั้นตอนที่ 3 เลือกชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิด
  • 17. รูปที่ 2.26 แสดงการเรียกหาชื่อไฟล์งานที่ได้บันทึกไว้ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม Open ก็จะได้งานที่บันทึกไว้ขึ้นมาใช้งาน และปรากฏชื่อของไฟล์งาน อยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือใต้แถบของ Tool Bar ดังรูปที่ 2.27 รูปที่ 2.27 แสดงไฟล์งานที่ได้เปิดขึ้นมาพร้อมที่จะทาการแก้ไขหรือใช้งานต่อไป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 18. ใบงานที่ 2.1 กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 30 นาที จุดประสงค์ของงาน 1. ตั้งค่าหน้ากระดาษได้ 2. พิมพ์อักษรและข้อความได้ 3. ตกแต่งสีตัวอักษรและข้อความได้ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ผลงานได้ 5. บันทึกไฟล์งานตามคาสั่งได้ กิจกรรม คาสั่ง ให้นักศึกษาพิมพ์ประวัติส่วนตัว ดังนี้ 1. ตั้งค่าหน้ากระดาษ Inside = 1 นิ้ว, Outside = 1 นิ้ว, Top = 1 นิ้ว, Bottom = 1นิ้ว วางกระดาษแนวตั้ง 2. กาหนดแบบตัวอักษร AngsanaUPC 3. รายละเอียดประวัติส่วนตัวของนักศึกษา เกณฑ์การพิจารณา 1. สะกดคาถูกต้อง 2. ใช้แบบตัวอักษรถูกต้อง 3. ใช้ขนาดของตัวอักษรถูกต้อง 4. ตกแต่งสีข้อความสวยงาม 5. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด
  • 19. ใบงานที่ 2.2 กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที จุดประสงค์ของงาน 1. ตั้งค่าหน้ากระดาษได้ 2. สร้างเส้นไกด์ได้ 3. ตกแต่งข้อความด้วยสีได้ 4. ใส่รูปภาพได้ กิจกรรม ให้นักศึกษาปฏิบัติงานดังนี้ การ์ดอวยพร 1. คลิก File - New สร้างสิ่งพิมพ์ 2. ให้ตั้งค่า Document Setup ตามตัวอย่างขนาดกระดาษ Letter เลือกแนวนอน Wide 3 ให้แบ่งเส้น guide แนวตั้ง โดยลาก จากไม้บรรทัดมาที่ตาแหน่งเลข 5 , 5.5 และ 6 ได้ 3 เส้น 4. จะถูกแบ่งกระดาษออกเป็น 2 ด้าน ให้ออกแบบโดยให้ตกแต่งข้อความและใส่รูปภาพตาม ต้องการโดยออกแบบให้สวยงามตามตัวอย่าง 5 ให้แทรกหน้า 2 โดยคลิกเมนู Layout เลือก 1 หน้า หรือ คลิกขวาที่เลขหน้า เลือก Add one Page เพื่อตกแต่งด้านในของการ์ดอวยพร โดยกาหนดเส้น Guide เหมือนหน้าแรก โดยลากที่ เลข 5 ,5.5 และ 6 ให้ตกแต่งตามที่ต้องการ ใส่ข้อความและรูปภาพ 6. ให้บันทึกงาน File – Save