SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual Basic
โปรแกรม Visual Basic เป็นโปรแกรมที่สนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมใน
รูปแบบของ GUI หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 เรียบร้อยแล้วจะ
ปรากฏโปรแกรมวิชาเบสิกใน Program พร้อมที่จะใช้งาน หน้าแรกที่จะใช้งาน
เรียกว่า New Program ประกอบด้วย 3 Tab ดังนี้ Tab New, Tab Existing, และ
Tab Recent ซึ่งโปรแกรมจะเตรียมโปรแกรมต่างๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมให้พร้อม
สาหรับพัฒนาโปรแกรม
หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 เรียบร้อยแล้วจะปรากฏ
โปรแกรมวิชาเบสิกใน Program พร้อมที่จะใช้งาน ในเนื้อหาบทนี้จะให้เราศึกษา
วิธีการใช้งานโปรแกรม และส่วนประกอบของโปรแกรม เริ่มต้นตั้งแต่การเข้าสู่
โปรแกรม และการใช้งานเครื่องมือต่างๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนา
โปรแกรม Visual Basic 6.0 เบื้องต้น
การเข้าใช้งานโปรแกรม Visual Basic 6.0
คลิกที่ปุ่ม Start--> Programs --> Microsoft Basic 6.0 --> Microsoft
Visual Basic 6.0
เริ่มต้น การเข้าใช้งานโปรแกรม Visual Basic 6.0
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic 6.0 จะพบกับหน้าต่างแรกของโปรแกรม
(Dialog Box) ซึ่งโดยทั่วไปเรียกว่า New Project ประกอบด้วย 3 Tab ดังนี้
Tab New เป็นหน้าต่างที่ประกอบไปด้วย Icon ต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับเรียกใช้
งาน Project ใหม่โดยแต่ละไอคอน ก็ จะมีคุณสมบัติ เหมาะกับงานในแต่ละอย่างไป
โดยปกติการพัฒนาโปรแกรมจะใช้ไอคอน Standard.EXE
Tab Existing เป็นหน้าต่างที่ใช้สาหรับเรียก Project เดิมที่มีการพัฒนาไว้แล้ว
ขึ้นมาใช้ งานหรือมาแก้ไขโปรแกรม โดยให้ เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บ Project แล้ว
เลือกไฟล์ Project ที่ต้องการและคลิกOpen
Tab Recent เป็นหน้าต่างที่แสดงรายการของ Project ต่าง ๆ ที่เคยถูกเรียก
ขึ้นมาใช้งาน ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกขึ้นมา ใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Basic 6.0
1. Title Bar ไตเติลบาร์ แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กาลังใช้งานอยู่
2. MenuBar เมนูบาร์ เป็นส่วนที่รับคาสั่งในแบบเมนู เมื่อทาการสร้าง
โปรแกรมด้วย Visual Basic เป็นเหมือนศูนย์กลางที่ควบคุมการสร้างโปรแกรม
3. ToolBar ทูลบาร์ ในการใช้งานเมนูบาร์สั่งงานอาจจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
เพื่อลดขั้นตอนลง สามารถคลิกที่ทูลบาร์เพียงครั้งเดียว ก็สามารถสั่งงานที่ต้องการได้
4. ToolBox ทูลบ็อกซ์ เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งจะนามาประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม
หรือออกแบบหน้าตาของโปรแกรม
5. Form Designer ฟอร์มดีไซเนอร์ เป็นส่วนที่ใช้ในการออกแบบหน้าจอของโปรแกรมที่พัฒนา หรือเป็น
ที่สาหรับวางเครื่องมือหรือคอนโทรล (Control) ใน ToolBox
6. Project Explorer เป็นหน้าต่างที่ใช้ในการควบคุมการทางานของโปรเจ็กต์
7. Properties Window เป็นส่วนที่กาหนดคุณสมบัติ (Properties) ของวัตถุ(Object) ต่าง ๆ ที่วางอยู่บน
Form Designer
8. Form Layout เป็นหน้าต่างแสดงผลและกาหนดตาแหน่งการแสดงผลของโปรแกรม ทาให้ทราบ
ตาแหน่งที่จะปรากฏบนจอภาพเมื่อรันโปรแกรม
9. Code Editor เป็นส่วนที่ให้เขียนคาสั่งของโปรแกรม หรือที่เรียกวา โค้ด (Code) เพื่อควบคุมการ
ทางานของโปรแกรม
รายละเอียดของ Toolbar ของโปรแกรม Visual Basic 6.0
Toolbar คือ สัญลักษณ์หรือรูปภาพที่ใช้แทนการใช้คาสั่งต่างๆ ในเมนู
(Menu bar) เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้งานและง่ายต่อการจดจา ซึ่งแสดง
อยู่ในรูปของไอคอน (Icon) ลักษณะต่างๆ
รายละเอียดของ Toolbox ของโปรแกรม Visual Basic 6.0
Toolbox คือ ทูลบ็อกซ์ เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งจะนามา
ประกอบเป็นส่วนต่างๆของโปรแกรมหรือออกแบบหน้าตาของโปรแกรม
โดยทั่วไปเรียกว่า คอนโทรล (Control) ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะนาไปวาดลงบนฟอร์ม
การวาดคอนโทรลใน Toolbox ลงบนฟอร์ม
การเลือกคอนโทรลใน Toolbox มาใช้งาน ขึ้นอยู่กับการออกแบบฟอร์ม
หรือหน้าตาของตัวโปรแกรม โดยจะต้องคานึงถึงหน้าที่การทางานของคอนโทรล
แต่ละตัวให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่นเพื่อรับข้อมูล หรือแสดงข้อมูล ซึ่งจะได้มี
การเขียนรหัสโปรแกรมควบคุมสามารถทางานได้ตามความต้องการได้ต่อไป การ
วางคอนโทรลสามารถปฏิบัติได้ 2 วิธี ดังนี้
1. ดับเบิลคลิกคอนโทรลที่ต้องการจาก Toolbox คอนโทรลนั้นจะไปปรากฏ
บนฟอร์ม หลังจากนั้นก็ทาการเคลื่อนย้ายคอนโทรล โดยการใช้เมาส์วางไว้บน
คอนโทรลที่ต้องการย้ายและกดเมาส์ค้างไว้แล้วลากไปวางตาแหนงที่ต้องการได้
2. คลิกเลือกคอนโทรลแล้ววาดลงบนฟอร์ม วิธีนี้ให้คลิกเลือกคอนโทรลบน
Toolbox ก่อน (คอนโทรลที่ถูกเลือกจะยุบลง) หลังจากนั้นให้เลือกเมาส์ไปที่วางบน
ฟอร์มจะสังเกตเห็นรูปเมาส์เปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย ให้คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้
แล้วลากทแยงมุมจากมุมซ้ายลงไปมุมล่างขวาตามขนาดที่ต้องการ จะสังเกตเห็น
ขนาดคอนโทรล เมื่อได้ขนาดที่ต้องการก็ปล่อยเมาส์จะปรากฏคอนโทรลที่ต้องการ
อยู่บนฟอร์มและอยู่ในตาแหน่งที่เราต้องการถ้าหากต้องการย้ายก็ให้ทาเหมือนเดิม
คือคลิกแล้วลากไป
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic
1.ขั้นตอนการออกแบบฟอร์มหรือหน้าจอ
ก่อนที่จะดาเนินสร้างโปรแกรมหรือออกแบบฟอร์ม จาเป็นต้องมีการร่างหน้าตาของ
โปรแกรมก่อน อาจจะออกแบบบนกระดาษก่อน เพื่อช่วยให้การจัดรูปแบบของหน้าจอมีความ
เหมาะสมกับการทางาน และทางานให้พัฒนาโปรแกรมเป็นไปด้วยความรวดเร็วทาให้ผู้พัฒนา
มองเห็นหน่าตาของโปรแกรมคร่าวๆก่อนที่จะลงมือสร้างบนโปรแกรมจริง
2. ขั้นตอนการสร้างฟอร์มหรือหน้าจอของโปรแกรม
เป็นขั้นตอนการนาคอนโทรล Toolbox มาวางบนฟอร์มตามรูปแบบที่ได้มีการ
ออกแบบหน้าจอไว้ซึ่งในขั้นตอนนี้ต้องเลือกคอนโทรลที่มีความเหมาะสมตรงกับความ
ต้องการใช้งาน ในตัวอย่างนี้จะใช้คอนโทรล 3 ตัวประกอบด้วย Label, Textbox, Command
Button หากต้องการลบคอนโทรลออกจากฟอร์ม ให้คลิกเลือกคอนโทรลที่ต้องการลบ
(สังเกต จะมีสี่เหลี่ยมล้อมรอบ) และกดปุ่ม Delete หรือคลิกไอคอนรูปกรรไกร
3. ขั้นตอนการกาหนดคุณสมบัติ (Properties) ของ Control
เป็นขั้นตอนการกาหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลที่วางบนฟอร์ม เพื่อให้มี
หน้าตาสวยงามตามความต้องการสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งคอนโทรลแต่ละตัวจะต้องกาหนด
คุณสมบัติที่ Properties Window โดยการเลือกคอนโทรลแต่ละตัวเพื่อกาหนดคุณสมบัติ
4. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งเพื่อควบคุมหรือสั่งให้ Control ทางานตามความต้องการ
โดยการดับเบิลคลิกลงบน Control ที่ต้องการสั่งให้ทางาน จะปรากฏหน้าต่างสาหรับเขียน
คาสั่ง (Code C) ถ้าหากไม่สามารถพิมพ์ภาษาไทยไม่ได้ให้ดาเนินการดังนี้
คลิกที่เมนู Tools > Option… > Tab Control Format > Font: ให้กาหนดตัวอักษรที่
เป็นภาษาไทย หรือลงท้ายด้วย UPC
5. ขั้นตอนรันโปรแกรม
ขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของโปรแกรม ว่าคาสั่งที่ใช้งานมี
ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหรือไม่ ถ้าหากมีข้อผิดพลาดโปรแกรมจะแสดงข้อความทาง
จอภาพ การรันโปรแกรมให้กดปุ่ม หรือกด F5 ถ้าหากหยุดการรันให้กดปุ่ม
6. ขั้นตอนการบันทึกและจัดเก็บโปรแกรม
เมื่อพัฒนาโปรแกรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการจัดเก็บ
โปรแกรมไว้เพื่อใช้งานหรือแก้ไขปรับปรุงในครั้งต่อไป ซึ่งจะประกอบไปด้วย
ชื่อ Project จะมีนามสกุลเป็น .vbp และ ชื่อ Form มีนามสกุล .frm การจัดเก็บควร
จะสร้างโฟลเดอร์เฉพาะสาหรับแต่ละ Project เนื่องจาก Project หนึ่งๆ อาจจะ
ประกอบไปด้วยหลายฟอร์ม หรือีองค์ประกอบอื่นๆเช่น Module, Data Report,
Data Environment เป็นต้น
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกpisan kiatudomsak
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ LayoutKhon Kaen University
 
Course Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageCourse Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageKhon Kaen University
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8kruppp46
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8duangnapa27
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Khon Kaen University
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6Sara Zara
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansNomjeab Nook
 
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมเครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมPongpitak Toey
 
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3Chutikarn Waprang
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Webidea Petchtharat
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationSedthawoot Pitapo
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
 
บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์
 
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งานVb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
 
Course Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home pageCourse Syllabus การสร้าง Home page
Course Syllabus การสร้าง Home page
 
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
 
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมเครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
 
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3
วิธีการติดตั้ง Dreamweaver CS3
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android Appliation
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 

Similar to Powerpoint บทที่ 2

ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3patchareepoim
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansApisit Song
 
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8Kru ChaTree
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaverphochai
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3She Ja-Good
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบเขมิกา กุลาศรี
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelกลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelเขมิกา กุลาศรี
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 

Similar to Powerpoint บทที่ 2 (20)

ยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอ
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3
 
Eng prac (2)
Eng prac (2)Eng prac (2)
Eng prac (2)
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
 
Sketch up 8
Sketch up 8 Sketch up 8
Sketch up 8
 
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaver
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelกลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 

Powerpoint บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual Basic โปรแกรม Visual Basic เป็นโปรแกรมที่สนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมใน รูปแบบของ GUI หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 เรียบร้อยแล้วจะ ปรากฏโปรแกรมวิชาเบสิกใน Program พร้อมที่จะใช้งาน หน้าแรกที่จะใช้งาน เรียกว่า New Program ประกอบด้วย 3 Tab ดังนี้ Tab New, Tab Existing, และ Tab Recent ซึ่งโปรแกรมจะเตรียมโปรแกรมต่างๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมให้พร้อม สาหรับพัฒนาโปรแกรม หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรม Visual Basic 6.0 เรียบร้อยแล้วจะปรากฏ โปรแกรมวิชาเบสิกใน Program พร้อมที่จะใช้งาน ในเนื้อหาบทนี้จะให้เราศึกษา วิธีการใช้งานโปรแกรม และส่วนประกอบของโปรแกรม เริ่มต้นตั้งแต่การเข้าสู่ โปรแกรม และการใช้งานเครื่องมือต่างๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนา โปรแกรม Visual Basic 6.0 เบื้องต้น
  • 2. การเข้าใช้งานโปรแกรม Visual Basic 6.0 คลิกที่ปุ่ม Start--> Programs --> Microsoft Basic 6.0 --> Microsoft Visual Basic 6.0
  • 3. เริ่มต้น การเข้าใช้งานโปรแกรม Visual Basic 6.0 เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic 6.0 จะพบกับหน้าต่างแรกของโปรแกรม (Dialog Box) ซึ่งโดยทั่วไปเรียกว่า New Project ประกอบด้วย 3 Tab ดังนี้ Tab New เป็นหน้าต่างที่ประกอบไปด้วย Icon ต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับเรียกใช้ งาน Project ใหม่โดยแต่ละไอคอน ก็ จะมีคุณสมบัติ เหมาะกับงานในแต่ละอย่างไป โดยปกติการพัฒนาโปรแกรมจะใช้ไอคอน Standard.EXE
  • 4. Tab Existing เป็นหน้าต่างที่ใช้สาหรับเรียก Project เดิมที่มีการพัฒนาไว้แล้ว ขึ้นมาใช้ งานหรือมาแก้ไขโปรแกรม โดยให้ เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บ Project แล้ว เลือกไฟล์ Project ที่ต้องการและคลิกOpen
  • 5. Tab Recent เป็นหน้าต่างที่แสดงรายการของ Project ต่าง ๆ ที่เคยถูกเรียก ขึ้นมาใช้งาน ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกขึ้นมา ใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
  • 7. 1. Title Bar ไตเติลบาร์ แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กาลังใช้งานอยู่ 2. MenuBar เมนูบาร์ เป็นส่วนที่รับคาสั่งในแบบเมนู เมื่อทาการสร้าง โปรแกรมด้วย Visual Basic เป็นเหมือนศูนย์กลางที่ควบคุมการสร้างโปรแกรม 3. ToolBar ทูลบาร์ ในการใช้งานเมนูบาร์สั่งงานอาจจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก เพื่อลดขั้นตอนลง สามารถคลิกที่ทูลบาร์เพียงครั้งเดียว ก็สามารถสั่งงานที่ต้องการได้ 4. ToolBox ทูลบ็อกซ์ เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งจะนามาประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม หรือออกแบบหน้าตาของโปรแกรม 5. Form Designer ฟอร์มดีไซเนอร์ เป็นส่วนที่ใช้ในการออกแบบหน้าจอของโปรแกรมที่พัฒนา หรือเป็น ที่สาหรับวางเครื่องมือหรือคอนโทรล (Control) ใน ToolBox 6. Project Explorer เป็นหน้าต่างที่ใช้ในการควบคุมการทางานของโปรเจ็กต์ 7. Properties Window เป็นส่วนที่กาหนดคุณสมบัติ (Properties) ของวัตถุ(Object) ต่าง ๆ ที่วางอยู่บน Form Designer 8. Form Layout เป็นหน้าต่างแสดงผลและกาหนดตาแหน่งการแสดงผลของโปรแกรม ทาให้ทราบ ตาแหน่งที่จะปรากฏบนจอภาพเมื่อรันโปรแกรม 9. Code Editor เป็นส่วนที่ให้เขียนคาสั่งของโปรแกรม หรือที่เรียกวา โค้ด (Code) เพื่อควบคุมการ ทางานของโปรแกรม
  • 8. รายละเอียดของ Toolbar ของโปรแกรม Visual Basic 6.0 Toolbar คือ สัญลักษณ์หรือรูปภาพที่ใช้แทนการใช้คาสั่งต่างๆ ในเมนู (Menu bar) เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้งานและง่ายต่อการจดจา ซึ่งแสดง อยู่ในรูปของไอคอน (Icon) ลักษณะต่างๆ
  • 9.
  • 10. รายละเอียดของ Toolbox ของโปรแกรม Visual Basic 6.0 Toolbox คือ ทูลบ็อกซ์ เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งจะนามา ประกอบเป็นส่วนต่างๆของโปรแกรมหรือออกแบบหน้าตาของโปรแกรม โดยทั่วไปเรียกว่า คอนโทรล (Control) ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะนาไปวาดลงบนฟอร์ม
  • 11. การวาดคอนโทรลใน Toolbox ลงบนฟอร์ม การเลือกคอนโทรลใน Toolbox มาใช้งาน ขึ้นอยู่กับการออกแบบฟอร์ม หรือหน้าตาของตัวโปรแกรม โดยจะต้องคานึงถึงหน้าที่การทางานของคอนโทรล แต่ละตัวให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่นเพื่อรับข้อมูล หรือแสดงข้อมูล ซึ่งจะได้มี การเขียนรหัสโปรแกรมควบคุมสามารถทางานได้ตามความต้องการได้ต่อไป การ วางคอนโทรลสามารถปฏิบัติได้ 2 วิธี ดังนี้
  • 12. 1. ดับเบิลคลิกคอนโทรลที่ต้องการจาก Toolbox คอนโทรลนั้นจะไปปรากฏ บนฟอร์ม หลังจากนั้นก็ทาการเคลื่อนย้ายคอนโทรล โดยการใช้เมาส์วางไว้บน คอนโทรลที่ต้องการย้ายและกดเมาส์ค้างไว้แล้วลากไปวางตาแหนงที่ต้องการได้
  • 13. 2. คลิกเลือกคอนโทรลแล้ววาดลงบนฟอร์ม วิธีนี้ให้คลิกเลือกคอนโทรลบน Toolbox ก่อน (คอนโทรลที่ถูกเลือกจะยุบลง) หลังจากนั้นให้เลือกเมาส์ไปที่วางบน ฟอร์มจะสังเกตเห็นรูปเมาส์เปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย ให้คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ แล้วลากทแยงมุมจากมุมซ้ายลงไปมุมล่างขวาตามขนาดที่ต้องการ จะสังเกตเห็น ขนาดคอนโทรล เมื่อได้ขนาดที่ต้องการก็ปล่อยเมาส์จะปรากฏคอนโทรลที่ต้องการ อยู่บนฟอร์มและอยู่ในตาแหน่งที่เราต้องการถ้าหากต้องการย้ายก็ให้ทาเหมือนเดิม คือคลิกแล้วลากไป
  • 14. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic 1.ขั้นตอนการออกแบบฟอร์มหรือหน้าจอ ก่อนที่จะดาเนินสร้างโปรแกรมหรือออกแบบฟอร์ม จาเป็นต้องมีการร่างหน้าตาของ โปรแกรมก่อน อาจจะออกแบบบนกระดาษก่อน เพื่อช่วยให้การจัดรูปแบบของหน้าจอมีความ เหมาะสมกับการทางาน และทางานให้พัฒนาโปรแกรมเป็นไปด้วยความรวดเร็วทาให้ผู้พัฒนา มองเห็นหน่าตาของโปรแกรมคร่าวๆก่อนที่จะลงมือสร้างบนโปรแกรมจริง
  • 15. 2. ขั้นตอนการสร้างฟอร์มหรือหน้าจอของโปรแกรม เป็นขั้นตอนการนาคอนโทรล Toolbox มาวางบนฟอร์มตามรูปแบบที่ได้มีการ ออกแบบหน้าจอไว้ซึ่งในขั้นตอนนี้ต้องเลือกคอนโทรลที่มีความเหมาะสมตรงกับความ ต้องการใช้งาน ในตัวอย่างนี้จะใช้คอนโทรล 3 ตัวประกอบด้วย Label, Textbox, Command Button หากต้องการลบคอนโทรลออกจากฟอร์ม ให้คลิกเลือกคอนโทรลที่ต้องการลบ (สังเกต จะมีสี่เหลี่ยมล้อมรอบ) และกดปุ่ม Delete หรือคลิกไอคอนรูปกรรไกร
  • 16. 3. ขั้นตอนการกาหนดคุณสมบัติ (Properties) ของ Control เป็นขั้นตอนการกาหนดคุณสมบัติของฟอร์มและคอนโทรลที่วางบนฟอร์ม เพื่อให้มี หน้าตาสวยงามตามความต้องการสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งคอนโทรลแต่ละตัวจะต้องกาหนด คุณสมบัติที่ Properties Window โดยการเลือกคอนโทรลแต่ละตัวเพื่อกาหนดคุณสมบัติ
  • 17. 4. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งเพื่อควบคุมหรือสั่งให้ Control ทางานตามความต้องการ โดยการดับเบิลคลิกลงบน Control ที่ต้องการสั่งให้ทางาน จะปรากฏหน้าต่างสาหรับเขียน คาสั่ง (Code C) ถ้าหากไม่สามารถพิมพ์ภาษาไทยไม่ได้ให้ดาเนินการดังนี้ คลิกที่เมนู Tools > Option… > Tab Control Format > Font: ให้กาหนดตัวอักษรที่ เป็นภาษาไทย หรือลงท้ายด้วย UPC
  • 18. 5. ขั้นตอนรันโปรแกรม ขั้นตอนการตรวจสอบการทางานของโปรแกรม ว่าคาสั่งที่ใช้งานมี ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหรือไม่ ถ้าหากมีข้อผิดพลาดโปรแกรมจะแสดงข้อความทาง จอภาพ การรันโปรแกรมให้กดปุ่ม หรือกด F5 ถ้าหากหยุดการรันให้กดปุ่ม
  • 19. 6. ขั้นตอนการบันทึกและจัดเก็บโปรแกรม เมื่อพัฒนาโปรแกรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการจัดเก็บ โปรแกรมไว้เพื่อใช้งานหรือแก้ไขปรับปรุงในครั้งต่อไป ซึ่งจะประกอบไปด้วย ชื่อ Project จะมีนามสกุลเป็น .vbp และ ชื่อ Form มีนามสกุล .frm การจัดเก็บควร จะสร้างโฟลเดอร์เฉพาะสาหรับแต่ละ Project เนื่องจาก Project หนึ่งๆ อาจจะ ประกอบไปด้วยหลายฟอร์ม หรือีองค์ประกอบอื่นๆเช่น Module, Data Report, Data Environment เป็นต้น