SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
บทที่ 8
เรื่อง การทาหนังสือและพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์
1. การกาหนดหน้าหนังสือ
PageMaker มีคาสั่งและการทางานเกี่ยวกับการจัดหน้าของหนังสือ ได้แก่ การใส่เลขหน้า
การสลับลาดับหน้า การสร้างสารบัญ การสร้างดรรชนีคา และการรวมเล่ม
อันดับแรก จะต้องกาหนดเสียก่อนว่าหนังสือที่กาลังจัดหน้าอยู่นั้น มีรูปเล่มแบบพิมพ์หน้า
เดียว (ในกระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือมีข้อความพิมพ์อยู่หน้าเดียว ) หรือแบบพิมพ์สองหน้า ซึ่ง
ขั้นตอนการกาหนดมีดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง File > Document Setup…
ขั้นตอนที่ 2 เลือกลักษณะรูปเล่มของหนังสือ
รูปที่ 8.1 แสดงการเลือกลักษณะและรูปเล่มของหนังสือ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
กาหนดตัวเลือกตรงส่วนของ Option ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ดังนี้
Double-sided เลือกเพื่อกาหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่ม
แบบพิมพ์หน้าเดียว
Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดทีละ
หน้า (ตัวเลือกนี้ไม่มีผลต่อลักษณะรูปเล่ม แต่เลือกเพื่อความสะดวกในการดูหน้าที่จัด)
Adjust layout เลือกให้ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าปรับเปลี่ยนตาแหน่งไปตามลักษณะ
หน้าที่เปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปเล่มจากแบบพิมพ์สองหน้าไปเป็นแบบพิมพ์หน้าเดียว
หรือกลับกัน
ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม OK
ขั้นตอนที่ 4 ลักษณะหน้าที่เห็นบนหน้าจอเปลี่ยนไปตามที่เรากาหนด
1.1 การใส่เลขหน้า
ในการใส่เลขหน้าลงไปในหน้าที่จัดแต่ละหน้า เลขหน้าที่ใส่นั้นจะไม่ใช่ตัวเลขที่ตายตัว
ตามปกติ แต่จะสามารถปรับเปลี่ยนตัวเลขของหน้าเองไปตามลาดับที่แท้จริงของหน้าที่อยู่
ใส่เลขหน้าลงไปในหน้ามาสเตอร์ที่เดียว ก็จะได้เลขหน้าไปปรากฏอยู่ในทุก ๆ หน้าที่ใช้หน้า
มาสเตอร์นั้น แถมตาแหน่งของตัวเลขยังจะตรงกันในทุก ๆ หน้าอีกด้วย ขั้นตอนการใส่เลขหน้าลงใน
หน้ามาสเตอร์ มีดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกหน้ามาสเตอร์
รูปที่ 8.2 แสดงการใส่เลขหน้าให้กับหน้ามาสเตอร์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 คลิกตาแหน่งเลขหน้า
ขั้นตอนที่ 3 กดปุ่ม < Ctrl+Alt+P >
รูปที่ 8.3 แสดงเลขหน้าปรากฏที่หน้าสิ่งพิมพ์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 พิมพ์ข้อความเพิ่มเติม
รูปที่ 8.4 แสดงการพิมพ์ข้อความเพิ่มเติม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 5 เมื่อเปิดหน้าทางาน เลขหน้าก็จะปรากฏ ดังรูปที่ 8.5
รูปที่ 8.5 แสดงเลขหน้าปรากฏขึ้นในหน้าทางาน
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
1.2 รูปแบบของลาดับเลขหน้า
PageMaker มีระบบลาดับเลขหน้าหลายแบบด้วยกัน นอกเหนือจากระบบตัวเลขอารบิคที่ใช้
กันตามปกติ ซึ่งเราจะเปลี่ยนระบบลาดับของเลขหน้าได้ด้วยขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง File>Document Setup…
ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Numbers…
รูปที่ 8.6 แสดงขั้นตอนของการเลือกรูปแบบของลาดับเลขหน้า
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering ให้เลือกระบบลาดับสาหรับเลขหน้า
จากตัวเลือกดังนี้
Arabic numeral ระบบตัวเลขอารบิค
Upper Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่
Lower Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็ก
Upper alphabetic ระบบตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ โดยที่ A-Z จะแทนตัวเลข 1-26 และ
AA-ZZ แทนตัวเลข 27-52
Lower alphabetic ระบบตัวอักษรพิมพ์เล็ก โดยที่ a-z จะแทนตัวเลข 1-26 และ aa-
zz แทนตัวเลข 27-52
ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK ทั้งของไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering และของ
ไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup
หมายเหตุ
สาหรับระบบเลขโรมัน (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก ) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 4999 และ
ระบบตัวอักษร (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 52 PageMaker จะเปลี่ยนไป
ใช้เลขหน้าในระบบตัวเลขอารบิคแทน
1.3 การสลับลาดับหน้า
ในกรณีที่ได้จัด และเรียงหน้าหนังสือไว้เรียบร้อยแล้วแต่เกิดต้องการสลับลาดับของบางหน้า
เสียใหม่ ก็มีวิธีที่ทาได้แบบตรงไปตรงมา คือการสร้างหน้าเปล่าขึ้น แล้วย้ายออบเจ็กต์ทั้งหมดจาก
หน้าที่ต้องการย้ายนั้นมาใส่หน้าใหม่ แล้วทาการลบหน้าที่เกินออกเสีย วิธีนี้ดูจะยุ่งยากเกินไปสักหน่อย
PageMaker จึงได้เตรียมคาสั่งและการทางานที่อานวยความสะดวกสาหรับการนี้โดยเฉพาะ ซึ่งมี
ขั้นตอนของการทางานดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง Layout > Sort Pages…
ขั้นตอนที่ 2 คลิก ค้างตรงหน้าที่ต้องการย้ายลาดับ
รูปที่ 8.7 แสดงหน้า Sort Pages…
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 คลิกเมาส์ลากตรงหน้าที่ต้องการย้ายลาดับ
รูปที่ 8.8 แสดงการคลิกเมาส์ลากเพื่อสลับหน้า
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK
ขั้นตอนที่ 5 เกิดการสลับลาดับหน้า (เลขหน้าเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ)
รูปที่ 8.9 แสดงเมื่อปล่อยเมาส์ลาดับหน้าก็จะเปลี่ยนไป
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
1.4 การปรับเปลี่ยนการทางานของวินโดวส์ Sort Pages
นอกเหนือจากการสลับลาดับหน้าที่จัดแล้ว ในวินโดวส์ Sort Pages ยังมีคาสั่งสาหรับ
ปรับเปลี่ยนการทางานของตัวเองอีกด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
รูปที่ 8.10 แสดงตัวเลือกเพิ่มในอะล็อกบ็อก Options
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
Double-sided เลือกเพื่อกาหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่ม
แบบพิมพ์หน้าเดียว
Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าจอทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดที
ละหน้า (ตัวเลือกทั้งสองนี้ ให้ผลเช่นเดียวกับตัวเลือกที่มีชื่อเหมือนกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Document
Setup)
Show detailed thumbnails เลือกเพื่อดูรายละเอียดในหน้าที่จัด ถ้าไม่เลือกเราจะเห็น
ทุก ๆ หน้าเป็นสีทึบหมด ซึ่งทาให้ หน้าในวินโดวส์ Sort Pages ปรากฏรวดเร็วยิ่งขึ้น
Do not move elements เลือกแล้วออบเจ็กต์ต่าง ๆ ในหน้าจะอยู่คงที่แม้มีการ
เปลี่ยนรูปเล่มจากการ คลิก ตัวเลือก Double-sided แต่ถ้าไม่เลือกออบเจ็กต์ต่าง ๆ จะปรับเปลี่ยน
ตาแหน่งไปตามลักษณะรูปเล่มที่เปลี่ยนไป (จากพิมพ์สองหน้าเป็นพิมพ์หน้าเดียวหรือกลับกัน ) เมื่อ
เลือกตัวเลือกในไดอะล็อกบ็อกซ์แล้วให้ คลิกปุ่ม OK
2. การสร้างสารบัญ
ถ้าต้องการให้ PageMaker สร้างหน้าสารบัญให้โดยอัตโนมัติ เราควรมีการวางแผนการใช้
สไตล์ของย่อหน้าตั้งแต่ก่อนที่จะเริ่มลงมือจัดหน้าหนังสือเลย เพราะสไตล์ของย่อหน้าจะช่วยในการ
กาหนดลักษณะของสารบัญที่ PageMaker สร้างออกมาได้มากทีเดียว
ในตอนนี้จะกล่าวถึงการสร้างสารบัญสาหรับหนังสือที่มีทุก ๆ หน้ารวมอยู่ในไฟล์เดียวกัน
เท่านั้น ส่วนการจัดการกับหนังสือมีหลาย ๆ บทกระจายอยู่ในตอน “การรวมบท” ที่จะอธิบายต่อไป
การสร้างสารบัญประกอบด้วย 2 วิธีด้วยกัน ได้แก่
วิธีที่ 1 คือการกาหนดบรรทัดที่เป็นหัวเรื่องทั้งหลายให้ไปปรากฏอยู่ในสารบัญ ซึ่งเราอาจใช้
วิธีกาหนดไปทีละบรรทัดก็ได้ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้ Text Tool คลิกตรงบรรทัดที่เป็นหัวเรื่อง
รูปที่ 8.11 แสดงการคลิกที่บรรทัดหัวเรื่อง
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 เลือกคาสั่ง Type > Paragraph
รูปที่ 8.12 แสดงParagraph Specifications
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 คลิกตัวเลือกสาหรับการสร้าง ให้เราเลือกตรง Include in table of contents
ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK
หมายเหตุ
ในการกาหนดหัวเรื่องสาหรับสารบัญ มีข้อควรระวังคือจะต้องไม่ใช้แท็บ (Tab) ในบรรทัดที่
เป็นหัวเรื่อง เพราะแท็บจะมีผลต่อคาสั่งสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติในขั้นตอนต่อไป ซึ่งจะทาให้สารบัญ
ที่ได้ผิดเพี้ยนไปหากต้องการให้หัวเรื่องเว้นย่อหน้าก็ให้ใช้การกาหนด First-line indent แทน
วิธีที่ 2 ของการสร้างสารบัญ คือการใช้คาสั่งของ PageMaker เพื่อนาเอาบรรทัดต่าง ๆ ใน
หน้าหนังสือมาสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติ ขั้นตอนของการใช้คาสั่งมีดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง Utilities > Create TOC…
ขั้นตอนที่ 2 ระบุลักษณะสารบัญ
รูปที่ 8.13 แสดงขั้นตอนที่ 1, 2 และ 3
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
Replace existing table of contents เลือกเพื่อให้สารบัญที่กาลังจะสร้างใหม่ทับ
สารบัญที่มีอยู่เดิม
Include paragraphs on hidden layers เลือกเพื่อให้หัวเรื่องในเลเยอร์อื่น ๆ ที่ไม่ใช้
เลเยอร์ปัจจุบันปรากฏในสารบัญด้วย
Format:
No page number เลือกไม่ให้มีเลขหน้าในสารบัญ
Page number before entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หน้าหัวเรื่อง
Page number after entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หลังหัวเรื่อง
Between entry and page number: ระบุให้ตัวอักษรพิเศษที่จะอยู่ระหว่างหัวเรื่อง
กับเลขหน้า โดยที่ ^t หมายถึงจุดไข่ปลา ซึ่งถ้าไม่ต้องการก็ลบออกไปได้
ขั้นตอนที่ 3 คลิก OK
ขั้นตอนที่ 4 PageMaker ใช้เวลาสร้างสารบัญสักครู่ จากนั้น ถ้าในขั้ นตอนที่ 2 เราเลือก
Replacing existing table of contents จะเกิดสารบัญใหม่ทับสารบัญเดิมทันที คลิก ตรงตาแหน่ง
ที่เป็นหน้าสารบัญ
รูปที่ 8.14 แสดงการสร้างหน้าสารบัญ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
หมายเหตุ
หากต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหัวเรื่องในสารบัญที่ถูกสร้างออกมาเรียบร้อยแล้ว เราควร
กลับไปแก้ในหัวเรื่องในหน้าหนังสือ แล้วใช้คาสั่งสร้างสารบัญใหม่อีกครั้งแทนที่จะมาแก้ไขใน
สารบัญโดยตรง วิธีนี้จะ ทาให้การแก้ไขของเราคงอยู่ตลอดไปไม่ต้องมานั่งแก้ที่จุดเดิมทุก ๆ ครั้งที่มี
การสร้างสารบัญใหม่ขึ้นมา
2.1 การแก้ไขลักษณะตัวอักษรของสารบัญ
สารบัญที่ PageMaker สร้างขึ้นโดยอัตโนมัตินั้นก็คือออบเจ็กต์ของข้อความธรรมดานี่เอง
ดังนั้นเราจึงสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษรและข้อความที่ปรากฏในสารบัญได้ทันที
แต่ก็ไม่ควรใช้วิธีนี้ เพราะหากมีการสร้างสารบัญครั้งใหม่ครั้งใด เราก็ต้องลาบากมาปรับเปลี่ยน
ลักษณะข้อความทุก ๆ ครั้ง
ทางที่ถูกคือเราควรไปแก้ในสไตล์ของหัวเรื่องในสารบัญจะดีกว่า ซึ่งสไตล์ที่ว่านี้จะเกิดขึ้นเอง
พร้อมกับสารบัญที่โปรแกรมสร้างขึ้น โดยมีชื่อสไตล์ขึ้นต้นด้วยคาว่า TOC แล้วต่อท้ายด้วยชื่อสไตล์ที่
หัวเรื่องนั้นใช้อยู่ เช่น จากหัวเรื่องที่ใช้สไตล์ชื่อ Title จะเกิดสไตล์สาหรับสารบัญชื่อ TOC Title
เป็นต้น
รูปที่ 8.15 แสดงวิธีการแก้ไขชื่อหัวเรื่องในสไตล์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
3. การพิมพ์เครื่องหมายและเลขลาดับ
การพิมพ์เครื่องหมายหน้าหัวข้อ ในกรณีที่พิมพ์ข้อความไว้แล้ว ถ้าต้องการกาหนด
เครื่องหมายต่าง ๆ วางหน้าข้อความเพื่อให้เอกสารมีความสวยงามสามารถทาได้ดังนี้
รูปที่ 8.16 แสดงข้อความที่ต้องการใส่เครื่องหมาย
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box ลากคลุมข้อความ
ทุกบรรทัดที่ต้องการ แล้วทาตามขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Bullets and Numbering
รูปที่ 8.17 แสดงขั้นตอนการใส่เครื่องหมายหน้าข้อความ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จะปรากฏรายละเอียดดังรูปที่ 8.18
รูปที่ 8.18 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
กาหนดรายละเอียดของการวางเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Range
For Next: paragraphs กาหนดให้กับข้อความกี่ย่อหน้า
All those with style: กาหนดให้ข้อความที่ถูกจัดโดย Style ที่กาหนด
Every paragraph in story กาหนดให้ทุกย่อหน้า
Only selected paragraphs กาหนดให้เฉพาะย่อหน้าที่เลือกเท่านั้น
ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม Edit เพื่อเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ
รูปที่ 8.19 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font
ขั้นตอนที่ 5 เลือกเครื่องหมายและกาหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size
ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่ม OK
ขั้นตอนที่ 7 จะได้เครื่องหมายที่ต้องการดังนี้
รูปที่ 8.20 แสดงเครื่องหมายที่ต้องการปรากฏอยู่หน้าข้อความที่เลือก
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
3.1 การลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ
เมื่อกาหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อให้กับข้อความเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการจะเปลี่ยน
เครื่องหมายหน้าหัวข้อเป็นแบบอื่นสามารถทาได้ แต่ก่อนที่จะเปลี่ยนเครื่องหมายเป็นแบบอื่นจะต้อง
ทาการลบเครื่องหมายเดิมที่กาหนดไว้แล้วออกไปก่อน แล้วจึงกาหนดใหม่ สาหรับขั้นตอนในการลบ
เครื่องหมายออกทาได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการลบเครื่องหมายออก อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียวก็ได้
ขั้นตอนที่ 2 ลือก Plug-ins จาก Menu Utilities
ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering
ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Remove จะปรากฏ Dialog Box ถามความแน่ใจ
ขั้นตอนที่ 5 ตอบ OK
รูปที่ 8.21 แสดงการลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
3.2 การเปลี่ยนเครื่องหมายหน้าหัวข้อ
หลังจากที่กาหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่องหมายหน้า
หัวข้อ สามารถเข้าไปเปลี่ยนได้โดยทาตามขั้นตอนเช่นเดียวกับการเข้าไปกาหนดดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบเครื่องหมาย อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียว
ก็ได้
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities
ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering
ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Edit เพื่อเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 5 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font
ขั้นตอนที่ 6 เลือกเครื่องหมายและกาหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size
ขั้นตอนที่ 7 คลิกปุ่ม OK 2 ครั้ง
รูปที่ 8.22 แสดงเครื่องหมายหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
3.3 การกาหนดเลขลาดับ
เลขลาดับคือ เลขที่พิมพ์ต่อเนื่องกันไป และมีระยะห่างที่เท่ากัน ซึ่งสามารถกาหนดได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 2 เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box
ขั้นตอนที่ 3 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities
ขั้นตอนที่ 4 เลือก Bullets and Numbering
ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่ม Numbers
ขั้นตอนที่ 6 เลือกรูปแบบตัวเลขที่ต้องการในช่อง Numbering Style
ขั้นตอนที่ 7 เลือกตัวคั่นระหว่างตัวเลขกับข้อความที่ต้องการในช่อง Separator
ขั้นตอนที่ 8 กาหนดเลขเริ่มต้นที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Start At
ขั้นตอนที่ 9 กาหนดขอบเขตการแสดงตัวเลขที่ต้องการในช่อง Range
ขั้นตอนที่ 10 คลิกปุ่ม OK ดังรูปที่ 8.22
รูปที่ 8.22 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
รูปที่ 8.23 แสดงตัวหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 10 ถ้าต้องการลบหรือเปลี่ยนรูปแบบเลขลาดับให้ทาเช่นเดียวกับเครื่องหมายหน้า
หัวข้อ
4. การพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์
เมื่อสร้างงานเรียบร้อยแล้วถ้าต้องการสั่งพิมพ์งานออกทางกระดาษ สามารถทาได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เลือก Print จากเมนู File
รูปที่ 8.24 แสดงการสั่ง Print ผลงาน
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 8.25
รูปที่ 8.25 แสดงรายละเอียดไดอะล็อกบ็อกซ์ของคาสั่ง Print
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
กาหนดเครื่องพิมพ์ที่ต้องการในช่อง Printer
กาหนดจานวนชุดที่ต้องการในช่อง Copies
Collate กาหนดให้พิมพ์เป็นชุดต่อเนื่องกันไป
Reverse กาหนดให้พิมพ์จากหน้าสุดท้ายขึ้นมาหน้าแรก
Proof กาหนดให้พิมพ์แบบคร่าว ๆ
กาหนดหน้าที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Pages
All พิมพ์ทุกหน้า
Ranges พิมพ์เฉพาะหน้าที่กาหนด
ถ้าต้องการพิมพ์เฉพาะหน้าคี่ หน้าคู่ หรือทั้งสองหน้า ให้กาหนดในช่อง Print
Both Pages พิมพ์ทั้งสองหน้า
Odd Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคี่
Even Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคู่
กาหนดแนวการพิมพ์ในช่อง Orientation
ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Print หลังจากกาหนดรายการต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว
หน้าที่พิมพ์
จานวนที่พิมพ์
Collate เรียงหน้าเป็นชุด ๆ เมื่อพิมพ์หลายชุด
Reverse พิมพ์จากหน้าสุดท้ายไปหน้าแรก
Proof พิมพ์เพื่อตรวจพรู๊ฟ
เลือกเครื่องพิมพ์
พิมพ์ทุกหน้าหรือเฉพาะหน้าคู่ หรือหน้าคี่ แนววางกระดาษ
ใบงานที่ 8.1
กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที
จุดประสงค์ของงาน
นาเครื่องมือที่ได้เรียนมานามาประยุกต์ใช้ในการทาแผ่นพับ
กิจกรรม
คาสั่ง ให้นักศึกษาทาแผ่นพับ ดังนี้
1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษเป็นแนวนอนตามตัวอย่าง
2. ให้กาหนดแบ่งคอลัมน์ 3 คอลัมน์
3. ให้คลิกเมนู Layout>Column Guide สร้างคอลัมน์ กาหนด 3 คอลัมน์จะได้งาน
คอลัมน์ 3 คอลัมน์
4. ให้ไปกาหนดที่หน้า 2 ด้วย ให้กาหนดการพิมพ์งานแต่ละคอลัมน์ดังนี้
งานหน้าที่ 1
เกณฑ์การพิจารณา
1. ตั้งคอลัมน์ได้ถูกต้อง
2. ใช้คาสั่งต่างๆ ได้ถูกต้อง
3. ตกแต่งแผ่นพับได้สวยงาม
4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด
ใบงานที่ 8.2
กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที
จุดประสงค์ของงาน
นาเครื่องมือที่ได้เรียนมานามาประยุกต์ใช้ในการทาหน้าปก CD
กิจกรรม
คาสั่ง ให้นักศึกษาทาหน้าปก CD ดังนี้
1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างจะได้ขนาดกระดาษ
เหมือนหน้าปกของ CD
2. สร้างเส้น Guide แบ่งตาแหน่งของการใส่รูปภาพและข้อความ
3. ให้ใช้เครื่องมือรูปออบเจ็กต์ต่าง ๆ วาดรูปทรงตกแต่งหน้าปก ใส่ข้อความที่เป็นข้อมูลของ
หน้าปก CD ใส่รูปภาพ ให้สวยงาม
ตัวอย่าง
เกณฑ์การพิจารณา
1. ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างได้ถูกต้อง
2. ใช้คาสั่งในการวาดภาพและคาสั่งอื่นๆ ได้ถูกต้อง
3. ตกแต่งหน้าปก CD ได้สวยงาม
4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด

More Related Content

What's hot

Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...Paradorn Sriarwut
 
In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5School
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6 Nattapong Manlee
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลkrunueng1
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007Nit Noi
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณTeerapat Piyaket
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 

What's hot (19)

Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
 
In design cs5
In design cs5In design cs5
In design cs5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ
4100103 ch04-2 word อ.พิมลพรรณ
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 

Similar to Unit 8

คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8doraemonbookie
 
การใช้งาน Ms word
การใช้งาน Ms wordการใช้งาน Ms word
การใช้งาน Ms wordMatee Witawasiri
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ LayoutKhon Kaen University
 
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิหน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิPlai Fon
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 807 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8Natchanon Srinuan
 
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรสFull 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรสPranitee Ratanawijitr
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยSKETCHUP HOME
 

Similar to Unit 8 (20)

Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 
การใช้งาน Ms word
การใช้งาน Ms wordการใช้งาน Ms word
การใช้งาน Ms word
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
 
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิหน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 807 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
 
Word7
Word7Word7
Word7
 
เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Dw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_phpDw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_php
 
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรสFull 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Full 10-word press ขั้นตอนการสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
 
Mediawiki training-doc-2
Mediawiki training-doc-2Mediawiki training-doc-2
Mediawiki training-doc-2
 

More from Comcmpoly

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...Comcmpoly
 
Com-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseCom-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseComcmpoly
 

More from Comcmpoly (16)

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
Eport158
Eport158Eport158
Eport158
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
 
Unit 18
Unit 18Unit 18
Unit 18
 
Unit 17
Unit 17Unit 17
Unit 17
 
Unit 16
Unit 16Unit 16
Unit 16
 
Unit 14
Unit 14Unit 14
Unit 14
 
Unit 12
Unit 12Unit 12
Unit 12
 
Unit 11
Unit 11Unit 11
Unit 11
 
Unit 13
Unit 13Unit 13
Unit 13
 
Unit 10
Unit 10Unit 10
Unit 10
 
Unit 6
Unit 6Unit 6
Unit 6
 
Unit 5
Unit 5Unit 5
Unit 5
 
unit 1
unit 1unit 1
unit 1
 
P1
P1P1
P1
 
Com-basic Shortcourse
Com-basic ShortcourseCom-basic Shortcourse
Com-basic Shortcourse
 

Unit 8

  • 1. บทที่ 8 เรื่อง การทาหนังสือและพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์ 1. การกาหนดหน้าหนังสือ PageMaker มีคาสั่งและการทางานเกี่ยวกับการจัดหน้าของหนังสือ ได้แก่ การใส่เลขหน้า การสลับลาดับหน้า การสร้างสารบัญ การสร้างดรรชนีคา และการรวมเล่ม อันดับแรก จะต้องกาหนดเสียก่อนว่าหนังสือที่กาลังจัดหน้าอยู่นั้น มีรูปเล่มแบบพิมพ์หน้า เดียว (ในกระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือมีข้อความพิมพ์อยู่หน้าเดียว ) หรือแบบพิมพ์สองหน้า ซึ่ง ขั้นตอนการกาหนดมีดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง File > Document Setup… ขั้นตอนที่ 2 เลือกลักษณะรูปเล่มของหนังสือ รูปที่ 8.1 แสดงการเลือกลักษณะและรูปเล่มของหนังสือ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) กาหนดตัวเลือกตรงส่วนของ Option ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ดังนี้ Double-sided เลือกเพื่อกาหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่ม แบบพิมพ์หน้าเดียว Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดทีละ หน้า (ตัวเลือกนี้ไม่มีผลต่อลักษณะรูปเล่ม แต่เลือกเพื่อความสะดวกในการดูหน้าที่จัด) Adjust layout เลือกให้ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าปรับเปลี่ยนตาแหน่งไปตามลักษณะ หน้าที่เปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปเล่มจากแบบพิมพ์สองหน้าไปเป็นแบบพิมพ์หน้าเดียว หรือกลับกัน ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 4 ลักษณะหน้าที่เห็นบนหน้าจอเปลี่ยนไปตามที่เรากาหนด
  • 2. 1.1 การใส่เลขหน้า ในการใส่เลขหน้าลงไปในหน้าที่จัดแต่ละหน้า เลขหน้าที่ใส่นั้นจะไม่ใช่ตัวเลขที่ตายตัว ตามปกติ แต่จะสามารถปรับเปลี่ยนตัวเลขของหน้าเองไปตามลาดับที่แท้จริงของหน้าที่อยู่ ใส่เลขหน้าลงไปในหน้ามาสเตอร์ที่เดียว ก็จะได้เลขหน้าไปปรากฏอยู่ในทุก ๆ หน้าที่ใช้หน้า มาสเตอร์นั้น แถมตาแหน่งของตัวเลขยังจะตรงกันในทุก ๆ หน้าอีกด้วย ขั้นตอนการใส่เลขหน้าลงใน หน้ามาสเตอร์ มีดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกหน้ามาสเตอร์ รูปที่ 8.2 แสดงการใส่เลขหน้าให้กับหน้ามาสเตอร์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 คลิกตาแหน่งเลขหน้า ขั้นตอนที่ 3 กดปุ่ม < Ctrl+Alt+P > รูปที่ 8.3 แสดงเลขหน้าปรากฏที่หน้าสิ่งพิมพ์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 3. ขั้นตอนที่ 4 พิมพ์ข้อความเพิ่มเติม รูปที่ 8.4 แสดงการพิมพ์ข้อความเพิ่มเติม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 5 เมื่อเปิดหน้าทางาน เลขหน้าก็จะปรากฏ ดังรูปที่ 8.5 รูปที่ 8.5 แสดงเลขหน้าปรากฏขึ้นในหน้าทางาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 4. 1.2 รูปแบบของลาดับเลขหน้า PageMaker มีระบบลาดับเลขหน้าหลายแบบด้วยกัน นอกเหนือจากระบบตัวเลขอารบิคที่ใช้ กันตามปกติ ซึ่งเราจะเปลี่ยนระบบลาดับของเลขหน้าได้ด้วยขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง File>Document Setup… ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Numbers… รูปที่ 8.6 แสดงขั้นตอนของการเลือกรูปแบบของลาดับเลขหน้า (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 3 ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering ให้เลือกระบบลาดับสาหรับเลขหน้า จากตัวเลือกดังนี้ Arabic numeral ระบบตัวเลขอารบิค Upper Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ Lower Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็ก Upper alphabetic ระบบตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ โดยที่ A-Z จะแทนตัวเลข 1-26 และ AA-ZZ แทนตัวเลข 27-52 Lower alphabetic ระบบตัวอักษรพิมพ์เล็ก โดยที่ a-z จะแทนตัวเลข 1-26 และ aa- zz แทนตัวเลข 27-52
  • 5. ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK ทั้งของไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering และของ ไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup หมายเหตุ สาหรับระบบเลขโรมัน (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก ) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 4999 และ ระบบตัวอักษร (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 52 PageMaker จะเปลี่ยนไป ใช้เลขหน้าในระบบตัวเลขอารบิคแทน 1.3 การสลับลาดับหน้า ในกรณีที่ได้จัด และเรียงหน้าหนังสือไว้เรียบร้อยแล้วแต่เกิดต้องการสลับลาดับของบางหน้า เสียใหม่ ก็มีวิธีที่ทาได้แบบตรงไปตรงมา คือการสร้างหน้าเปล่าขึ้น แล้วย้ายออบเจ็กต์ทั้งหมดจาก หน้าที่ต้องการย้ายนั้นมาใส่หน้าใหม่ แล้วทาการลบหน้าที่เกินออกเสีย วิธีนี้ดูจะยุ่งยากเกินไปสักหน่อย PageMaker จึงได้เตรียมคาสั่งและการทางานที่อานวยความสะดวกสาหรับการนี้โดยเฉพาะ ซึ่งมี ขั้นตอนของการทางานดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง Layout > Sort Pages… ขั้นตอนที่ 2 คลิก ค้างตรงหน้าที่ต้องการย้ายลาดับ รูปที่ 8.7 แสดงหน้า Sort Pages… (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 6. ขั้นตอนที่ 3 คลิกเมาส์ลากตรงหน้าที่ต้องการย้ายลาดับ รูปที่ 8.8 แสดงการคลิกเมาส์ลากเพื่อสลับหน้า (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 5 เกิดการสลับลาดับหน้า (เลขหน้าเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ) รูปที่ 8.9 แสดงเมื่อปล่อยเมาส์ลาดับหน้าก็จะเปลี่ยนไป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 1.4 การปรับเปลี่ยนการทางานของวินโดวส์ Sort Pages นอกเหนือจากการสลับลาดับหน้าที่จัดแล้ว ในวินโดวส์ Sort Pages ยังมีคาสั่งสาหรับ ปรับเปลี่ยนการทางานของตัวเองอีกด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 7. รูปที่ 8.10 แสดงตัวเลือกเพิ่มในอะล็อกบ็อก Options (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) Double-sided เลือกเพื่อกาหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่ม แบบพิมพ์หน้าเดียว Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าจอทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดที ละหน้า (ตัวเลือกทั้งสองนี้ ให้ผลเช่นเดียวกับตัวเลือกที่มีชื่อเหมือนกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup) Show detailed thumbnails เลือกเพื่อดูรายละเอียดในหน้าที่จัด ถ้าไม่เลือกเราจะเห็น ทุก ๆ หน้าเป็นสีทึบหมด ซึ่งทาให้ หน้าในวินโดวส์ Sort Pages ปรากฏรวดเร็วยิ่งขึ้น Do not move elements เลือกแล้วออบเจ็กต์ต่าง ๆ ในหน้าจะอยู่คงที่แม้มีการ เปลี่ยนรูปเล่มจากการ คลิก ตัวเลือก Double-sided แต่ถ้าไม่เลือกออบเจ็กต์ต่าง ๆ จะปรับเปลี่ยน ตาแหน่งไปตามลักษณะรูปเล่มที่เปลี่ยนไป (จากพิมพ์สองหน้าเป็นพิมพ์หน้าเดียวหรือกลับกัน ) เมื่อ เลือกตัวเลือกในไดอะล็อกบ็อกซ์แล้วให้ คลิกปุ่ม OK 2. การสร้างสารบัญ ถ้าต้องการให้ PageMaker สร้างหน้าสารบัญให้โดยอัตโนมัติ เราควรมีการวางแผนการใช้ สไตล์ของย่อหน้าตั้งแต่ก่อนที่จะเริ่มลงมือจัดหน้าหนังสือเลย เพราะสไตล์ของย่อหน้าจะช่วยในการ กาหนดลักษณะของสารบัญที่ PageMaker สร้างออกมาได้มากทีเดียว ในตอนนี้จะกล่าวถึงการสร้างสารบัญสาหรับหนังสือที่มีทุก ๆ หน้ารวมอยู่ในไฟล์เดียวกัน เท่านั้น ส่วนการจัดการกับหนังสือมีหลาย ๆ บทกระจายอยู่ในตอน “การรวมบท” ที่จะอธิบายต่อไป การสร้างสารบัญประกอบด้วย 2 วิธีด้วยกัน ได้แก่ วิธีที่ 1 คือการกาหนดบรรทัดที่เป็นหัวเรื่องทั้งหลายให้ไปปรากฏอยู่ในสารบัญ ซึ่งเราอาจใช้ วิธีกาหนดไปทีละบรรทัดก็ได้ ดังนี้
  • 8. ขั้นตอนที่ 1 ใช้ Text Tool คลิกตรงบรรทัดที่เป็นหัวเรื่อง รูปที่ 8.11 แสดงการคลิกที่บรรทัดหัวเรื่อง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 เลือกคาสั่ง Type > Paragraph รูปที่ 8.12 แสดงParagraph Specifications (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 3 คลิกตัวเลือกสาหรับการสร้าง ให้เราเลือกตรง Include in table of contents ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK
  • 9. หมายเหตุ ในการกาหนดหัวเรื่องสาหรับสารบัญ มีข้อควรระวังคือจะต้องไม่ใช้แท็บ (Tab) ในบรรทัดที่ เป็นหัวเรื่อง เพราะแท็บจะมีผลต่อคาสั่งสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติในขั้นตอนต่อไป ซึ่งจะทาให้สารบัญ ที่ได้ผิดเพี้ยนไปหากต้องการให้หัวเรื่องเว้นย่อหน้าก็ให้ใช้การกาหนด First-line indent แทน วิธีที่ 2 ของการสร้างสารบัญ คือการใช้คาสั่งของ PageMaker เพื่อนาเอาบรรทัดต่าง ๆ ใน หน้าหนังสือมาสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติ ขั้นตอนของการใช้คาสั่งมีดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกคาสั่ง Utilities > Create TOC… ขั้นตอนที่ 2 ระบุลักษณะสารบัญ รูปที่ 8.13 แสดงขั้นตอนที่ 1, 2 และ 3 (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) Replace existing table of contents เลือกเพื่อให้สารบัญที่กาลังจะสร้างใหม่ทับ สารบัญที่มีอยู่เดิม Include paragraphs on hidden layers เลือกเพื่อให้หัวเรื่องในเลเยอร์อื่น ๆ ที่ไม่ใช้ เลเยอร์ปัจจุบันปรากฏในสารบัญด้วย
  • 10. Format: No page number เลือกไม่ให้มีเลขหน้าในสารบัญ Page number before entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หน้าหัวเรื่อง Page number after entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หลังหัวเรื่อง Between entry and page number: ระบุให้ตัวอักษรพิเศษที่จะอยู่ระหว่างหัวเรื่อง กับเลขหน้า โดยที่ ^t หมายถึงจุดไข่ปลา ซึ่งถ้าไม่ต้องการก็ลบออกไปได้ ขั้นตอนที่ 3 คลิก OK ขั้นตอนที่ 4 PageMaker ใช้เวลาสร้างสารบัญสักครู่ จากนั้น ถ้าในขั้ นตอนที่ 2 เราเลือก Replacing existing table of contents จะเกิดสารบัญใหม่ทับสารบัญเดิมทันที คลิก ตรงตาแหน่ง ที่เป็นหน้าสารบัญ รูปที่ 8.14 แสดงการสร้างหน้าสารบัญ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) หมายเหตุ หากต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหัวเรื่องในสารบัญที่ถูกสร้างออกมาเรียบร้อยแล้ว เราควร กลับไปแก้ในหัวเรื่องในหน้าหนังสือ แล้วใช้คาสั่งสร้างสารบัญใหม่อีกครั้งแทนที่จะมาแก้ไขใน สารบัญโดยตรง วิธีนี้จะ ทาให้การแก้ไขของเราคงอยู่ตลอดไปไม่ต้องมานั่งแก้ที่จุดเดิมทุก ๆ ครั้งที่มี การสร้างสารบัญใหม่ขึ้นมา 2.1 การแก้ไขลักษณะตัวอักษรของสารบัญ สารบัญที่ PageMaker สร้างขึ้นโดยอัตโนมัตินั้นก็คือออบเจ็กต์ของข้อความธรรมดานี่เอง ดังนั้นเราจึงสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษรและข้อความที่ปรากฏในสารบัญได้ทันที
  • 11. แต่ก็ไม่ควรใช้วิธีนี้ เพราะหากมีการสร้างสารบัญครั้งใหม่ครั้งใด เราก็ต้องลาบากมาปรับเปลี่ยน ลักษณะข้อความทุก ๆ ครั้ง ทางที่ถูกคือเราควรไปแก้ในสไตล์ของหัวเรื่องในสารบัญจะดีกว่า ซึ่งสไตล์ที่ว่านี้จะเกิดขึ้นเอง พร้อมกับสารบัญที่โปรแกรมสร้างขึ้น โดยมีชื่อสไตล์ขึ้นต้นด้วยคาว่า TOC แล้วต่อท้ายด้วยชื่อสไตล์ที่ หัวเรื่องนั้นใช้อยู่ เช่น จากหัวเรื่องที่ใช้สไตล์ชื่อ Title จะเกิดสไตล์สาหรับสารบัญชื่อ TOC Title เป็นต้น รูปที่ 8.15 แสดงวิธีการแก้ไขชื่อหัวเรื่องในสไตล์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 3. การพิมพ์เครื่องหมายและเลขลาดับ การพิมพ์เครื่องหมายหน้าหัวข้อ ในกรณีที่พิมพ์ข้อความไว้แล้ว ถ้าต้องการกาหนด เครื่องหมายต่าง ๆ วางหน้าข้อความเพื่อให้เอกสารมีความสวยงามสามารถทาได้ดังนี้ รูปที่ 8.16 แสดงข้อความที่ต้องการใส่เครื่องหมาย (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box ลากคลุมข้อความ ทุกบรรทัดที่ต้องการ แล้วทาตามขั้นตอน ดังนี้
  • 12. ขั้นตอนที่ 1 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 2 เลือก Bullets and Numbering รูปที่ 8.17 แสดงขั้นตอนการใส่เครื่องหมายหน้าข้อความ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) จะปรากฏรายละเอียดดังรูปที่ 8.18 รูปที่ 8.18 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) กาหนดรายละเอียดของการวางเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Range For Next: paragraphs กาหนดให้กับข้อความกี่ย่อหน้า All those with style: กาหนดให้ข้อความที่ถูกจัดโดย Style ที่กาหนด Every paragraph in story กาหนดให้ทุกย่อหน้า Only selected paragraphs กาหนดให้เฉพาะย่อหน้าที่เลือกเท่านั้น
  • 13. ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม Edit เพื่อเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ รูปที่ 8.19 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 4 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font ขั้นตอนที่ 5 เลือกเครื่องหมายและกาหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 7 จะได้เครื่องหมายที่ต้องการดังนี้ รูปที่ 8.20 แสดงเครื่องหมายที่ต้องการปรากฏอยู่หน้าข้อความที่เลือก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 3.1 การลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ เมื่อกาหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อให้กับข้อความเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการจะเปลี่ยน เครื่องหมายหน้าหัวข้อเป็นแบบอื่นสามารถทาได้ แต่ก่อนที่จะเปลี่ยนเครื่องหมายเป็นแบบอื่นจะต้อง ทาการลบเครื่องหมายเดิมที่กาหนดไว้แล้วออกไปก่อน แล้วจึงกาหนดใหม่ สาหรับขั้นตอนในการลบ เครื่องหมายออกทาได้ดังนี้
  • 14. ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการลบเครื่องหมายออก อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียวก็ได้ ขั้นตอนที่ 2 ลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Remove จะปรากฏ Dialog Box ถามความแน่ใจ ขั้นตอนที่ 5 ตอบ OK รูปที่ 8.21 แสดงการลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 3.2 การเปลี่ยนเครื่องหมายหน้าหัวข้อ หลังจากที่กาหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่องหมายหน้า หัวข้อ สามารถเข้าไปเปลี่ยนได้โดยทาตามขั้นตอนเช่นเดียวกับการเข้าไปกาหนดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบเครื่องหมาย อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียว ก็ได้ ขั้นตอนที่ 2 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Edit เพื่อเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font ขั้นตอนที่ 6 เลือกเครื่องหมายและกาหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size ขั้นตอนที่ 7 คลิกปุ่ม OK 2 ครั้ง
  • 15. รูปที่ 8.22 แสดงเครื่องหมายหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 3.3 การกาหนดเลขลาดับ เลขลาดับคือ เลขที่พิมพ์ต่อเนื่องกันไป และมีระยะห่างที่เท่ากัน ซึ่งสามารถกาหนดได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 พิมพ์ข้อความที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 2 เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box ขั้นตอนที่ 3 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 4 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่ม Numbers ขั้นตอนที่ 6 เลือกรูปแบบตัวเลขที่ต้องการในช่อง Numbering Style
  • 16. ขั้นตอนที่ 7 เลือกตัวคั่นระหว่างตัวเลขกับข้อความที่ต้องการในช่อง Separator ขั้นตอนที่ 8 กาหนดเลขเริ่มต้นที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Start At ขั้นตอนที่ 9 กาหนดขอบเขตการแสดงตัวเลขที่ต้องการในช่อง Range ขั้นตอนที่ 10 คลิกปุ่ม OK ดังรูปที่ 8.22 รูปที่ 8.22 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 17. รูปที่ 8.23 แสดงตัวหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 10 ถ้าต้องการลบหรือเปลี่ยนรูปแบบเลขลาดับให้ทาเช่นเดียวกับเครื่องหมายหน้า หัวข้อ 4. การพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์ เมื่อสร้างงานเรียบร้อยแล้วถ้าต้องการสั่งพิมพ์งานออกทางกระดาษ สามารถทาได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือก Print จากเมนู File รูปที่ 8.24 แสดงการสั่ง Print ผลงาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 18. จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 8.25 รูปที่ 8.25 แสดงรายละเอียดไดอะล็อกบ็อกซ์ของคาสั่ง Print (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) กาหนดเครื่องพิมพ์ที่ต้องการในช่อง Printer กาหนดจานวนชุดที่ต้องการในช่อง Copies Collate กาหนดให้พิมพ์เป็นชุดต่อเนื่องกันไป Reverse กาหนดให้พิมพ์จากหน้าสุดท้ายขึ้นมาหน้าแรก Proof กาหนดให้พิมพ์แบบคร่าว ๆ กาหนดหน้าที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Pages All พิมพ์ทุกหน้า Ranges พิมพ์เฉพาะหน้าที่กาหนด ถ้าต้องการพิมพ์เฉพาะหน้าคี่ หน้าคู่ หรือทั้งสองหน้า ให้กาหนดในช่อง Print Both Pages พิมพ์ทั้งสองหน้า Odd Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคี่ Even Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคู่ กาหนดแนวการพิมพ์ในช่อง Orientation ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Print หลังจากกาหนดรายการต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว หน้าที่พิมพ์ จานวนที่พิมพ์ Collate เรียงหน้าเป็นชุด ๆ เมื่อพิมพ์หลายชุด Reverse พิมพ์จากหน้าสุดท้ายไปหน้าแรก Proof พิมพ์เพื่อตรวจพรู๊ฟ เลือกเครื่องพิมพ์ พิมพ์ทุกหน้าหรือเฉพาะหน้าคู่ หรือหน้าคี่ แนววางกระดาษ
  • 19. ใบงานที่ 8.1 กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที จุดประสงค์ของงาน นาเครื่องมือที่ได้เรียนมานามาประยุกต์ใช้ในการทาแผ่นพับ กิจกรรม คาสั่ง ให้นักศึกษาทาแผ่นพับ ดังนี้ 1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษเป็นแนวนอนตามตัวอย่าง 2. ให้กาหนดแบ่งคอลัมน์ 3 คอลัมน์ 3. ให้คลิกเมนู Layout>Column Guide สร้างคอลัมน์ กาหนด 3 คอลัมน์จะได้งาน คอลัมน์ 3 คอลัมน์ 4. ให้ไปกาหนดที่หน้า 2 ด้วย ให้กาหนดการพิมพ์งานแต่ละคอลัมน์ดังนี้
  • 20. งานหน้าที่ 1 เกณฑ์การพิจารณา 1. ตั้งคอลัมน์ได้ถูกต้อง 2. ใช้คาสั่งต่างๆ ได้ถูกต้อง 3. ตกแต่งแผ่นพับได้สวยงาม 4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด
  • 21. ใบงานที่ 8.2 กาหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที จุดประสงค์ของงาน นาเครื่องมือที่ได้เรียนมานามาประยุกต์ใช้ในการทาหน้าปก CD กิจกรรม คาสั่ง ให้นักศึกษาทาหน้าปก CD ดังนี้ 1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างจะได้ขนาดกระดาษ เหมือนหน้าปกของ CD 2. สร้างเส้น Guide แบ่งตาแหน่งของการใส่รูปภาพและข้อความ 3. ให้ใช้เครื่องมือรูปออบเจ็กต์ต่าง ๆ วาดรูปทรงตกแต่งหน้าปก ใส่ข้อความที่เป็นข้อมูลของ หน้าปก CD ใส่รูปภาพ ให้สวยงาม ตัวอย่าง เกณฑ์การพิจารณา 1. ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างได้ถูกต้อง 2. ใช้คาสั่งในการวาดภาพและคาสั่งอื่นๆ ได้ถูกต้อง 3. ตกแต่งหน้าปก CD ได้สวยงาม 4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กาหนด