SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วย
เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
นายสมศักดิ์ เตชะโกสิต
อาจารย์ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (S-DICT)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Learning Model of Scientific Imagineering by Augmented Reality to Enhance STEM Literacy
คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
รศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณรศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ศ.เกียรติคุณ ดร.นิพนธ์ ศุขปรีดี
รศ.ดร.เสกสรร แย้มพินิจ
ที่มาและความสาคัญ
กุญแจสาคัญในการพัฒนาทักษะดังกล่าวนี้คือการส่งเสริมความสามารถ
และทักษะที่เชี่ยวชาญใน สะเต็ม (STEM)
(National Governors Association, 2007 ; Washington STEM Study Group, 2011)
รากฐานสาคัญในการขับเคลื่อนสมรรถนะด้านนวัตกรรมของประเทศใน
ศตวรรษที่ 21 คือแรงงานที่มีความรู้ในเชิงลึก และทักษะในการแข่งขัน
แก้ปัญหา ประดิษฐ์นวัตกรรม และคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาความท้าทายและซับซ้อน
ที่มาและความสาคัญ
ที่มาและความสาคัญ
ที่มาและความสาคัญ
สะเต็มศึกษา (STEM Education) คือปัจจัยนาเข้า (input) ซึ่งเป็น
สิ่งที่จัดให้กับนักเรียน ในขณะที่ การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) คือ
ผลลัพธ์ (outcome) ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับการพัฒนาภายในนักเรียนทั้ง
ความรู้ ทักษะ และเจตคติ (attitudes)
(Hans Meeder, 2014)
ที่มาและความสาคัญ
การรู้สะเต็มประกอบด้วย ความเข้าใจในมโนมิติของ และทักษะกระบวนการ
และความสามารถสาหรับแต่ละบุคคลในการจัดการกับปัญหาส่วนบุคคล
สังคม และโลกที่เกี่ยวข้องกับสะเต็ม
(Byhee, 2010)
ในศตวรรษที่ 21 ไม่เพียงแต่ความท้าทายของการขจัดการไม่รู้หนังสือเท่านั้น
แต่ยังต้องมุ่งเน้น การรู้สะเต็ม (STEM Literacy)
(Wladawsky-Berger, 2016)
ที่มาและความสาคัญ
การรู้วิทยาศาสตร์
Scientific Literacy
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ
(PISA: Programme for International Student Assessment)
การรู้คณิตศาสตร์
Mathematic Literacy
การรู้การอ่าน
Reading Literacy
ที่มาและความสาคัญ
อันดับที่ 55
จาก 72 ประเทศ
ที่มาและความสาคัญ
“การปลดปล่อยจินตนาการให้พุ่งทะยานแล้ว
วิศวกรรมจะรังสรรค์ให้เกิดสิ่งนั้นบนโลก”
(Alcoa, 1942)
จินตวิศวกรรม (Imagineering)
ที่มาและความสาคัญ
เป็นกระบวนการของนักวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
(Harwood, 2004)
วิธีการวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
ที่มาและความสาคัญ
การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงแสดงให้เห็นว่าเป็นวิธีการที่
ส่งผลต่อการคิดขั้นสูง ความคิดสร้างสรรค์ และการคิดวิเคราะห์
(Bower, Howe, McCredie, Robinson and Grover, 2013)
ที่มาและความสาคัญ
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
Learning Model of Scientific Imagineering by Augmented Reality to Enhance
STEM Literacy
SIGAR
วัตถุประสงค์
1
• เพื่อศึกษาและสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการ
รู้สะเต็ม
2 • เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
3
• เพื่อศึกษาการรู้สะเต็มจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อ
พัฒนาการรู้สะเต็ม
4
• เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
5
• เพื่อเปรียบเทียบการรู้สะเต็มจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
6
• เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
7
• เพื่อศึกษาคุณภาพชิ้นงานของนักเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
8 • เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
สมมติฐานของการวิจัย
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมินความสามารถการรู้สะ
เต็มสูงกว่าก่อนเรียน
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมินคุณลักษณะการ
รู้สะเต็ม สูงกว่าก่อนเรียน
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงกว่าก่อนเรียน
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGARรูปแบบSIGและการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมิน
ความสามารถการรู้สะเต็มแตกต่างกัน
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGARรูปแบบSIGและการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แตกต่างกัน
นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR สามารถสร้างชิ้นงานอยู่ในระดับดี
รูปแบบSIGARเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็มที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
กรอบแนวคิดการวิจัย
ขั้นที่ 1 การจินตนาการ (Imagine)
ขั้นที่ 2 การออกแบบ (Design)
ขั้นที่ 3 การพัฒนา (Develop)
ขั้นที่ 4 การนาเสนอ (Present)
ขั้นที่ 5 การปรับปรุง (Improvement)
ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluate)
จินตวิศวกรรม (Imagineering)
Nilsook and Wnnapiroon (2013); Langford (2010);
Qiyue (2013); Guzdial and Tew (2006); Prosperi (2014);
Kuiper and Smit (2014)
ขั้นที่ 1 ถามคาถาม (Ask questions)
ขั้นที่ 2 ดาเนินการศึกษา (Carry out the study)
ขั้นที่ 3 การทดลอง (Experiment)
ขั้นที่ 4 สรุป (conclusions)
ขั้นที่ 5 ถ่ายทอดการค้นพบ (Communicating
discoveries)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
Harwood (2004); Main (2015): McLellaand (2003)
Gerde, Schachter and Wasik (2013)
1. มีความยืดหยุ่น
2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้
3. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
4. สะดวกใช้ในการเรียนรู้
5. สร้างแรงจูงใจในการเรียน
6. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง
(Augmented Reality Learning Environment)
Techakosit and Nilsook (2015); Billinghurst (2002);
Yuen, Yaoyuneyong and Johnson (2011)
คุณลักษณะการรู้สะเต็ม
OECD (2003) ITEA (2007) OECD (2006)
ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักใน
วิชา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรม และ คณิตศาสตร์
ความสามารถการรู้สะเต็ม
Washington STEM Study Group (2011); Bybee (2010);
NGA (2007); Purzer, Strobel and Cardella (2014)
1. ความสามารถในการระบุประเด็นทางสะเต็ม
2. ความสามารถสืบเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่
3. ความสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดสะเต็ม
4. ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยสะเต็ม
5. ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลสะเต็ม
6. ความสามารถในการตัดสินใจด้วยสะเต็ม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ (2551)
ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.3/3 คานวณพลังงาน
ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชิ้นงานของนักเรียน
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม (SIGAR Model)
การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) (Bybee (2010)
ขอบเขตการวิจัย
ประชากร
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม จานวน 114 คน
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 จานวน 259 คน 7 ห้องเรียน
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
ประขากรและกลุ่มตัวอย่าง
ตัวแปรอิสระ
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วย
เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
ตัวแปรตาม การรู้สะเต็ม – ความสามารถการรู้สะเต็ม
- คุณลักษณะการรู้สะเต็ม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชิ้นงาน
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
เนื้อหารายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร์ 6 เรื่องพลังงานไฟฟ้า
ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559
เนื้อหาและระยะเวลา
ที่ใช้ในการวิจัย
ระยะที่ 1
วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
ศึกษาและสังเคราะห์รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
ขั้นที่ 1 สังเคราะห์เอกสารและงานวิจัย
ขั้นที่ 2 ศึกษาสภาพการดาเนินงาน ปัญหา และความต้องการ
ขั้นที่ 3 พัฒนาและประเมินความเหมาะสมของต้นแบบรูปแบบ
ระยะที่ 2
วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนารูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
ขั้นที่ 4 สอบถามผู้เชี่ยวชาญเพื่อพัฒนารูปแบบ SIGAR
โดยใช้ เทคนิคเดลฟาย
ระยะที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาผลการใช้รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
ขั้นที่ 5 พัฒนาเครื่องมือสาหรับรูปแบบ SIGAR
ขั้นที่ 6 ประเมินความสามารถการรู้สะเต็ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คุณลักษณะการรู้สะเต็ม ชิ้นงานของนักเรียน
ขั้นที่ 7 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถการรู้สะเต็ม
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และ คุณลักษณะการรู้สะเต็ม
ระยะที่ 4
วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
การประเมินเพื่อรับรองรูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
ขั้นที่ 8 การประเมินเพื่อรับรองรูปแบบ SIGAR
1 52 3 4ระยะที่ 1
ผลการวิจัย
รูปแบบ SIG ที่ใช้การวิจัย
แนวคิด
กระบวนการจินตวิศวกรรม วิธีการทางวิทยาศาสตร์
Langford(2010)
GuzdialandTew(2006)
Qiyue(2013)
NilsookandWannapiroon(2013)
Prosperi(2014)
Stubbs(2002)
KuiperandSmit(2014)
Nilsook,Utakrit,andClayden(2014)
D’Uva(2014)
Harwood(2004)
Main(2015)
Gerde,SchachterandWasik(2013)
McLelland(2003)
ขั้นจินตนาการ            
ขั้นศึกษาและวิจัย          
ขั้นออกแบบ          
ขั้นพัฒนา       
ขั้นนาเสนอ         
ขั้นประเมินผล       
1 52 3 4ระยะที่ 1
ผลการวิจัย
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์
ระดับความคิดเห็น ระดับความ
เหมาะสม
𝑥 S.D.
ขั้นจินตนาการ 4.80 0.42 มากที่สุด
ขั้นศึกษาและวิจัย 4.70 0.48 มากที่สุด
ขั้นออกแบบ 4.60 0.52 มากที่สุด
ขั้นพัฒนา 4.50 0.53 มากที่สุด
ขั้นนาเสนอ 4.70 0.48 มากที่สุด
ขั้นประเมิน 4.50 0.53 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยรวม 4.63 0.49 มากที่สุด
1 52 3 4ระยะที่ 2
ผลการวิจัย
1 52 3 4ระยะที่ 2
ผลการวิจัย
1 52 3 4ระยะที่ 2
ผลการวิจัย
1 52 3 4ระยะที่ 3
ผลการวิจัย
กระบวนการเรียนการสอน ขั้นจินตนาการ
* นาเข้าสู่บทเรียน กระตุ้นแรงจูงใจนักเรียนโดยเล่าเรื่อง
เพื่อนาเข้าสู่ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่จะให้นักเรียน
สังเกต
* แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตามความสมัครใจ
* สังเกตปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์จากสื่อที่ครูกาหนดให้
* ให้นักเรียนแต่ละคนตั้งคาถามที่เกี่ยวข้องกับ
ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่นักเรียนสังเกต
* แต่ละคนตั้งคาถามจากปรากฏการณ์และเหตุการณ์ที่
สังเกต
* นาเสนอคาถามของแต่ละคนให้สมาชิกในกลุ่ม
* รวบรวมคาถามทั้งหมดของกลุ่ม
* ให้นักเรียนเลือกคาถามของนักเรียนในกลุ่มที่สามารถ
นาไปสู่การหาคาตอบได้โดยผ่านกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์
* ระดมสมองเพื่อเลือกประเด็นคาถามของสมาชิกในกลุ่ม
สามารถนาไปสู่การหาคาตอบได้โดยผ่านกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์
* นาเสนอคาถามของกลุ่มที่สามารถนาไปสู่การตอบคาถาม
ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหาทางสะเต็ม
1 52 3 4ระยะที่ 3
ผลการวิจัย
1 52 3 4ระยะที่ 3
ผลการวิจัย
1 52 3 4ระยะที่ 3
ผลการวิจัย
1. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน
แบบปกติมีผลการประเมินความสามารถการรู้สะเต็มหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน
แบบปกติ มีผลการประเมินคุณลักษณะการรู้สะเต็มหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน
แบบปกติมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีผลการประเมินชิ้นงานในระดับดี
5. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีความสามารถการรู้สะเต็มสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG
และนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีความสามารถการรู้สะเต็มสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอนปกติ
6. กลุ่มนักเรียนทั้งสามกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
1 52 3 4ระยะที่ 4
ผลการวิจัย
ผลการรับรองรูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
รูปแบบการเรียนรู้ SIGAR ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมต่อการพัฒนาการรู้สะเต็มอยู่ในระดับมากที่สุด
รูปแบบการเรียนรู้ SIGAR ที่พัฒนาขึ้นมีความเป็นไปได้ในการนาไปใช้ได้จริง อยู่ในระดับมากที่สุด
1 52 3 4ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
การอภิปรายผล
ผลการสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
Li, et al. (2015) ซึ่งศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนสองกลุ่ม ซึ่งกลุ่มที่แรก
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบการออกแบบวิศวกรรม กับการเรียนการสอนแบบปกติ พบว่า
นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
Quigley (2010) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนสภาพแวดล้อม
การเรียนรู้โครงงานเป็นฐานกับการนักเรียนที่เรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างกลยุทธการทางาน
ร่วมกันกับการสืบเสาะ พบว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มี
นัยสาคัญทางสถิติ
1 52 3 4ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
ผลการใช้รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนา STEM Literacy
ผลการสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
Yen, Tsai and Wu (2013) ศึกษาสัมฤทธิ์ทางการเรียนดาราศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้เทคโนโลยี
เสมือนจริงเปรียบเทียบกับนักเรียนที่เรียนด้วยภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ และนักเรียนที่เรียนด้วย
ภาพเคลื่อนไหวแบบสองมิติ พบว่านักเรียนทั้งสามกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น แต่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ถึงแม้ว่ามีผลการศึกษา
พบว่านักเรียนที่เรียนด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ไม่ใช้
เทคโนโลยีเสมือนจริงเนื่องจากเทคโนโลยีเสมือนจริงจะมีศักยภาพในการดึงดูดความสนใจของ
นักเรียนและสร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (Yilmaz, Yilmaz and SaHin,
2015)
ข้อเสนอแนะ
1. ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านองค์ประกอบหลักของรูปแบบฯ
2. มีการประชุม อาจารย์ นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงให้บุคคลที่เกี่ยวข้องให้เห็นความสาคัญ
ของการรู้สะเต็ม
3. เลือกเนื้อหาสาระที่เหมาะสม
กราบขอบพระคุณมากครับ

More Related Content

What's hot

การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1Prachyanun Nilsook
 
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2Prachyanun Nilsook
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองPrachyanun Nilsook
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2Prachyanun Nilsook
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400 Noo Bam
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนAtigarn Tingchart
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัยwichien wongwan
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตPrachyanun Nilsook
 
โครงการวิจัยTablet pc
โครงการวิจัยTablet pcโครงการวิจัยTablet pc
โครงการวิจัยTablet pcPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

สมาการ
สมาการสมาการ
สมาการ
 
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
 
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 2
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทองการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.ชนินทร์ ตั้งพานทอง
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400  การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์  ในระดับมัธยมศึกษา237400
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ในระดับมัธยมศึกษา237400
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัย
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
E learning2561-1
E learning2561-1E learning2561-1
E learning2561-1
 
E learning2561-2
E learning2561-2E learning2561-2
E learning2561-2
 
WorkComputer
WorkComputerWorkComputer
WorkComputer
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
โครงการวิจัยTablet pc
โครงการวิจัยTablet pcโครงการวิจัยTablet pc
โครงการวิจัยTablet pc
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 

Similar to รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1Prachyanun Nilsook
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอนการนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...Kobwit Piriyawat
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 

Similar to รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอนการนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน
การนำไอทีมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...
รายชื่อนักเรียน ม.6 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนนนทรีวิทยา ที่สอบ Admission ได้มห...
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
การเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality : AR)
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Paper
PaperPaper
Paper
 

More from Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 

รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม

  • 1. รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วย เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม นายสมศักดิ์ เตชะโกสิต อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (S-DICT) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Learning Model of Scientific Imagineering by Augmented Reality to Enhance STEM Literacy
  • 2. คณะกรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณรศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ศ.เกียรติคุณ ดร.นิพนธ์ ศุขปรีดี รศ.ดร.เสกสรร แย้มพินิจ
  • 3. ที่มาและความสาคัญ กุญแจสาคัญในการพัฒนาทักษะดังกล่าวนี้คือการส่งเสริมความสามารถ และทักษะที่เชี่ยวชาญใน สะเต็ม (STEM) (National Governors Association, 2007 ; Washington STEM Study Group, 2011) รากฐานสาคัญในการขับเคลื่อนสมรรถนะด้านนวัตกรรมของประเทศใน ศตวรรษที่ 21 คือแรงงานที่มีความรู้ในเชิงลึก และทักษะในการแข่งขัน แก้ปัญหา ประดิษฐ์นวัตกรรม และคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อใช้ในการ แก้ปัญหาความท้าทายและซับซ้อน
  • 6. ที่มาและความสาคัญ สะเต็มศึกษา (STEM Education) คือปัจจัยนาเข้า (input) ซึ่งเป็น สิ่งที่จัดให้กับนักเรียน ในขณะที่ การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) คือ ผลลัพธ์ (outcome) ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับการพัฒนาภายในนักเรียนทั้ง ความรู้ ทักษะ และเจตคติ (attitudes) (Hans Meeder, 2014)
  • 7. ที่มาและความสาคัญ การรู้สะเต็มประกอบด้วย ความเข้าใจในมโนมิติของ และทักษะกระบวนการ และความสามารถสาหรับแต่ละบุคคลในการจัดการกับปัญหาส่วนบุคคล สังคม และโลกที่เกี่ยวข้องกับสะเต็ม (Byhee, 2010) ในศตวรรษที่ 21 ไม่เพียงแต่ความท้าทายของการขจัดการไม่รู้หนังสือเท่านั้น แต่ยังต้องมุ่งเน้น การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) (Wladawsky-Berger, 2016)
  • 8. ที่มาและความสาคัญ การรู้วิทยาศาสตร์ Scientific Literacy โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA: Programme for International Student Assessment) การรู้คณิตศาสตร์ Mathematic Literacy การรู้การอ่าน Reading Literacy
  • 14. วัตถุประสงค์ 1 • เพื่อศึกษาและสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการ รู้สะเต็ม 2 • เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม 3 • เพื่อศึกษาการรู้สะเต็มจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อ พัฒนาการรู้สะเต็ม 4 • เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม 5 • เพื่อเปรียบเทียบการรู้สะเต็มจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม 6 • เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม 7 • เพื่อศึกษาคุณภาพชิ้นงานของนักเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี เสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม 8 • เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม
  • 15. สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมินความสามารถการรู้สะ เต็มสูงกว่าก่อนเรียน นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมินคุณลักษณะการ รู้สะเต็ม สูงกว่าก่อนเรียน นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR รูปแบบ SIG และการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่าก่อนเรียน นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGARรูปแบบSIGและการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลการประเมิน ความสามารถการรู้สะเต็มแตกต่างกัน นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGARรูปแบบSIGและการเรียนการสอนแบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่างกัน นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบSIGAR สามารถสร้างชิ้นงานอยู่ในระดับดี รูปแบบSIGARเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็มที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
  • 16. กรอบแนวคิดการวิจัย ขั้นที่ 1 การจินตนาการ (Imagine) ขั้นที่ 2 การออกแบบ (Design) ขั้นที่ 3 การพัฒนา (Develop) ขั้นที่ 4 การนาเสนอ (Present) ขั้นที่ 5 การปรับปรุง (Improvement) ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluate) จินตวิศวกรรม (Imagineering) Nilsook and Wnnapiroon (2013); Langford (2010); Qiyue (2013); Guzdial and Tew (2006); Prosperi (2014); Kuiper and Smit (2014) ขั้นที่ 1 ถามคาถาม (Ask questions) ขั้นที่ 2 ดาเนินการศึกษา (Carry out the study) ขั้นที่ 3 การทดลอง (Experiment) ขั้นที่ 4 สรุป (conclusions) ขั้นที่ 5 ถ่ายทอดการค้นพบ (Communicating discoveries) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) Harwood (2004); Main (2015): McLellaand (2003) Gerde, Schachter and Wasik (2013) 1. มีความยืดหยุ่น 2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียน 4. สะดวกใช้ในการเรียนรู้ 5. สร้างแรงจูงใจในการเรียน 6. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality Learning Environment) Techakosit and Nilsook (2015); Billinghurst (2002); Yuen, Yaoyuneyong and Johnson (2011) คุณลักษณะการรู้สะเต็ม OECD (2003) ITEA (2007) OECD (2006) ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักใน วิชา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และ คณิตศาสตร์ ความสามารถการรู้สะเต็ม Washington STEM Study Group (2011); Bybee (2010); NGA (2007); Purzer, Strobel and Cardella (2014) 1. ความสามารถในการระบุประเด็นทางสะเต็ม 2. ความสามารถสืบเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ 3. ความสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดสะเต็ม 4. ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยสะเต็ม 5. ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลสะเต็ม 6. ความสามารถในการตัดสินใจด้วยสะเต็ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.3/3 คานวณพลังงาน ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชิ้นงานของนักเรียน รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม (SIGAR Model) การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) (Bybee (2010)
  • 17. ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 แบ่งเป็น 3 กลุ่ม จานวน 114 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 จานวน 259 คน 7 ห้องเรียน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ประขากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรอิสระ รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วย เทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม ตัวแปรตาม การรู้สะเต็ม – ความสามารถการรู้สะเต็ม - คุณลักษณะการรู้สะเต็ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชิ้นงาน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหารายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร์ 6 เรื่องพลังงานไฟฟ้า ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559 เนื้อหาและระยะเวลา ที่ใช้ในการวิจัย
  • 18. ระยะที่ 1 วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษาและสังเคราะห์รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม ขั้นที่ 1 สังเคราะห์เอกสารและงานวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาสภาพการดาเนินงาน ปัญหา และความต้องการ ขั้นที่ 3 พัฒนาและประเมินความเหมาะสมของต้นแบบรูปแบบ
  • 19. ระยะที่ 2 วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล การพัฒนารูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม ขั้นที่ 4 สอบถามผู้เชี่ยวชาญเพื่อพัฒนารูปแบบ SIGAR โดยใช้ เทคนิคเดลฟาย
  • 20. ระยะที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาผลการใช้รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม ขั้นที่ 5 พัฒนาเครื่องมือสาหรับรูปแบบ SIGAR ขั้นที่ 6 ประเมินความสามารถการรู้สะเต็ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะการรู้สะเต็ม ชิ้นงานของนักเรียน ขั้นที่ 7 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถการรู้สะเต็ม ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และ คุณลักษณะการรู้สะเต็ม
  • 21. ระยะที่ 4 วิธีการดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล การประเมินเพื่อรับรองรูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม ขั้นที่ 8 การประเมินเพื่อรับรองรูปแบบ SIGAR
  • 22. 1 52 3 4ระยะที่ 1 ผลการวิจัย รูปแบบ SIG ที่ใช้การวิจัย แนวคิด กระบวนการจินตวิศวกรรม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ Langford(2010) GuzdialandTew(2006) Qiyue(2013) NilsookandWannapiroon(2013) Prosperi(2014) Stubbs(2002) KuiperandSmit(2014) Nilsook,Utakrit,andClayden(2014) D’Uva(2014) Harwood(2004) Main(2015) Gerde,SchachterandWasik(2013) McLelland(2003) ขั้นจินตนาการ             ขั้นศึกษาและวิจัย           ขั้นออกแบบ           ขั้นพัฒนา        ขั้นนาเสนอ          ขั้นประเมินผล       
  • 23. 1 52 3 4ระยะที่ 1 ผลการวิจัย รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ ระดับความคิดเห็น ระดับความ เหมาะสม 𝑥 S.D. ขั้นจินตนาการ 4.80 0.42 มากที่สุด ขั้นศึกษาและวิจัย 4.70 0.48 มากที่สุด ขั้นออกแบบ 4.60 0.52 มากที่สุด ขั้นพัฒนา 4.50 0.53 มากที่สุด ขั้นนาเสนอ 4.70 0.48 มากที่สุด ขั้นประเมิน 4.50 0.53 มากที่สุด ค่าเฉลี่ยรวม 4.63 0.49 มากที่สุด
  • 24. 1 52 3 4ระยะที่ 2 ผลการวิจัย
  • 25. 1 52 3 4ระยะที่ 2 ผลการวิจัย
  • 26. 1 52 3 4ระยะที่ 2 ผลการวิจัย
  • 27. 1 52 3 4ระยะที่ 3 ผลการวิจัย กระบวนการเรียนการสอน ขั้นจินตนาการ * นาเข้าสู่บทเรียน กระตุ้นแรงจูงใจนักเรียนโดยเล่าเรื่อง เพื่อนาเข้าสู่ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่จะให้นักเรียน สังเกต * แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตามความสมัครใจ * สังเกตปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์จากสื่อที่ครูกาหนดให้ * ให้นักเรียนแต่ละคนตั้งคาถามที่เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่นักเรียนสังเกต * แต่ละคนตั้งคาถามจากปรากฏการณ์และเหตุการณ์ที่ สังเกต * นาเสนอคาถามของแต่ละคนให้สมาชิกในกลุ่ม * รวบรวมคาถามทั้งหมดของกลุ่ม * ให้นักเรียนเลือกคาถามของนักเรียนในกลุ่มที่สามารถ นาไปสู่การหาคาตอบได้โดยผ่านกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ * ระดมสมองเพื่อเลือกประเด็นคาถามของสมาชิกในกลุ่ม สามารถนาไปสู่การหาคาตอบได้โดยผ่านกระบวนการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ * นาเสนอคาถามของกลุ่มที่สามารถนาไปสู่การตอบคาถาม ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหาทางสะเต็ม
  • 28. 1 52 3 4ระยะที่ 3 ผลการวิจัย
  • 29. 1 52 3 4ระยะที่ 3 ผลการวิจัย
  • 30. 1 52 3 4ระยะที่ 3 ผลการวิจัย 1. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน แบบปกติมีผลการประเมินความสามารถการรู้สะเต็มหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน แบบปกติ มีผลการประเมินคุณลักษณะการรู้สะเต็มหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอน แบบปกติมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. กลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีผลการประเมินชิ้นงานในระดับดี 5. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีความสามารถการรู้สะเต็มสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIG และนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ SIGAR มีความสามารถการรู้สะเต็มสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอนปกติ 6. กลุ่มนักเรียนทั้งสามกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
  • 31. 1 52 3 4ระยะที่ 4 ผลการวิจัย ผลการรับรองรูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรู้สะเต็ม รูปแบบการเรียนรู้ SIGAR ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมต่อการพัฒนาการรู้สะเต็มอยู่ในระดับมากที่สุด รูปแบบการเรียนรู้ SIGAR ที่พัฒนาขึ้นมีความเป็นไปได้ในการนาไปใช้ได้จริง อยู่ในระดับมากที่สุด
  • 32. 1 52 3 4ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน การอภิปรายผล ผลการสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ Li, et al. (2015) ซึ่งศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนสองกลุ่ม ซึ่งกลุ่มที่แรก ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบการออกแบบวิศวกรรม กับการเรียนการสอนแบบปกติ พบว่า นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ Quigley (2010) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนสภาพแวดล้อม การเรียนรู้โครงงานเป็นฐานกับการนักเรียนที่เรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างกลยุทธการทางาน ร่วมกันกับการสืบเสาะ พบว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มี นัยสาคัญทางสถิติ
  • 33. 1 52 3 4ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ผลการใช้รูปแบบ SIGAR เพื่อพัฒนา STEM Literacy ผลการสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ Yen, Tsai and Wu (2013) ศึกษาสัมฤทธิ์ทางการเรียนดาราศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้เทคโนโลยี เสมือนจริงเปรียบเทียบกับนักเรียนที่เรียนด้วยภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ และนักเรียนที่เรียนด้วย ภาพเคลื่อนไหวแบบสองมิติ พบว่านักเรียนทั้งสามกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น แต่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งสามกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ถึงแม้ว่ามีผลการศึกษา พบว่านักเรียนที่เรียนด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ไม่ใช้ เทคโนโลยีเสมือนจริงเนื่องจากเทคโนโลยีเสมือนจริงจะมีศักยภาพในการดึงดูดความสนใจของ นักเรียนและสร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (Yilmaz, Yilmaz and SaHin, 2015)
  • 34. ข้อเสนอแนะ 1. ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านองค์ประกอบหลักของรูปแบบฯ 2. มีการประชุม อาจารย์ นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงให้บุคคลที่เกี่ยวข้องให้เห็นความสาคัญ ของการรู้สะเต็ม 3. เลือกเนื้อหาสาระที่เหมาะสม