SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Sound waves
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• การเกิดและการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง
   – คลื่นเกิดจากการสั่นสะเทือนแหล่งกาเนิดเสียง
   – ถ่ายทอดพลังงานของการสั่นให้แก่อนุภาคของตัวกลาง
   – อนุภาคของตัวกลางสั่นแบบซิมเปิลฮาร์โมนิกในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่
     ของเสียงจึงเป็น คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• แหล่งกาเนิดคลื่นเสียงแบ่งตามลักษณะของวัตถุต้นกาเนิดได้ 3
  ประเภท คือ
   – เกิดจากการสั่นของสายหรือแท่ง ได้แก่ เครื่องสายต่าง ๆ เช่น ไวโอลิน กีตาร์
     ซอ จะเข้ ขิม ส้อมเสียง
   – เกิดจากการสั่นของผิว เช่น ระฆัง ฉาบ ฉิ่ง กลอง
   – เกิดจากการสั่นของลาอากาศ ได้แก่ เครื่องเป่าชนิดต่าง ๆ เช่น นกหวีด
     ขลุ่ย ปี่ แคน แซกโซโฟน
คลื่นเสียง (Sound Waves)
พิจารณาท่อทรงกระบอกที่บรรจุก๊าซ
   – คลื่นตามยาวถูกแผ่ไปตามท่อทรงกระบอกที่
     บรรจุก๊าซ
   – แหล่งกาเนิดของคลื่นคือการสั่นของลูกสูบ
   – ระยะทางระหว่างส่วนอัดกับส่วนอัดหรือ
     ส่วนขยายกับส่วนขยายคือ ความยาวคลื่น
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• บริเวณที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านภายในท่อ อนุภาคของ
  ตัวกลางจะสั่นแบบ ซิมเปิลฮาร์โมนิกในทิศเดียวกับทิศ
  การเคลื่อนที่ของคลื่น
• ฟังก์ชันของตาแหน่ง (การกระจัด)ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่
  แบบ ซิมเปิลฮาร์โมนิก คือ

               s (x, t) = smax cos (kx – wt)

   – smax คือ ตาแหน่งสูงสุดจากตาแหน่งสมดุล(การกระจัดสูงสุด)
   – smax เรียกว่า แอมพลิจูด (amplitude) ของคลื่น
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• การเปลี่ยนแปลงความดัน (pressure, DP )ของก๊าซเป็นแบบมี
  คาบ (periodic)
        DP = DPmax sin (kx – wt)
            – DPmax คือแอมพลิจูดของความดัน
   – โดยที่ DPmax = rvwsmax (มาจากการพิสูจน์:serwayหน้า 516 )
   – k คือ เลขคลื่น (wave number)
   – w คือ ความถี่เชิงมุม (angular frequency)
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• คลื่นเสียงอาจพิจารณาได้
  จากทั้ง การกระจัด และความ
  ดัน
• ความดันของคลื่นจะมีเฟส
  ต่างกับการกระจัดอยู่ 90o
   – ความดันมีค่ามากที่สุดเมื่อ
     การกระจัดมีค่าเป็นศูนย์
คลื่นเสียง (Sound Waves)
• ลักษณะของคลื่นเสียง
   – คลื่นเสียงประกอบด้วยส่วนอัดและส่วนขยายของอนุภาคของตัวกลาง
   – ส่วนอัด (Compression) คือ ส่วนที่อนุภาคเคลื่อนที่ไปที่ตาแหน่งเดียวกันและมีความ
     ดันมากกว่าปกติ
   – ส่วนขยาย (Rarefaction) คือ ส่วนที่อนุภาคเคลื่อนที่ตรงกันข้ามกับคลื่นและมีความ
     ดันน้อยกว่าปกติ
อัตราเร็วของคลื่นเสียง
              (Speed of Sound Waves)
• อัตราเร็วของคลื่นเสียง คือ ระยะทางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ได้ในหนึงหน่วย
                                                                      ่
  เวลา
• อัตราเร็วของคลื่นเสียง ขึ้นอยู่ กับสภาพของตัวกลางที่เสียงผ่าน เช่น ความ
  หนาแน่นของตัวกลาง อุณหภูมิ และความยืดหยุ่นของตัวกลาง
• ถ้าความหนาแน่นและอุณหภูมิของตัวกลาง มาก อัตราเร็วของเสียงจะมีค่ามาก
  เนื่องจากอาศัยตัวกลางถ่ายทอดพลังงานจลน์ได้ดี
• หรือถ้าตัวกลางมี ความยืดหยุ่นมาก อัตราเร็วของเสียงจะมีค่ามาก
• ในตัวกลางเดียวกันอัตราเร็วของเสียง ไม่ขึ้นอยู่กับความถี่และความยาวคลื่น
• เมื่ออุณหภูมิเท่ากันเสียงจะเดินทางได้ เร็วในตัวกลางที่เป็น ของแข็ง ของเหลว
  และก๊าซ ตามลาดับ
อัตราเร็วของคลื่นเสียง
              (Speed of Sound Waves)

• พิจารณา แก๊ส ที่ถูกอัด ดังรูปด้านขวา
• ก่อนที่ลูกสูบจะเคลื่อนที่ แก๊ส จะมีความ
  ดันคงที่ (ความดันปกติ)
• เมื่อลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ไปทางด้านขวา
  ก๊าซที่อยู่ด้านหน้าจะถูกอัด
   – บริเวณที่มีสีเข้มของภาพ
อัตราเร็วของคลื่นเสียง
             (Speed of Sound Waves)
• เมื่อลูกสูบหยุดการเคลื่อนที่ บริเวณของ
  แก๊ส ที่ถูกอัดจะยังคงเคลื่อนที่ต่อไป
    – ซึ่งสอดคล้องกับพัลส์ของคลื่น
      ตามยาวที่เคลื่อนที่ไปในกระบอกสูบ
      ด้วยอัตราเร็ว v
    – อัตราเร็วของลูกสูบจะไม่เท่ากับ
      อัตราเร็วของคลื่น
อัตราเร็วของเสียงในของไหล
• อัตราเร็วของเสียงในของไหลขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นตัวของของไหล คือ ค่า Bulk
  Modulus และความหนาแน่นของของไหล

                           B
                  v
                           r
    – V = อัตราเร็วเสียง
    – B = ค่าสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุ่นของบัลค์
           = ΔP/(ΔV/V)
    – ρ = ความหนาแน่นของของไหล
อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง
• อัตราเร็วของเสียงในของแข็งขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นตัวของของแข็ง คือ Young
  ‘s Modulus และความหนาแน่นของของแข็ง

                    Y
          V
                    r
    – Y = ค่าสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุ่น (Young ‘ s Modulus)
        = อัตราส่วนของความเค้นต่อความเครียด
อัตราเร็วของเสียงในแก๊ส
• การอัดตัวและขยายตัวของก๊าซที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านเป็นไปตามกระบวนการ
  อะเดียบาติก คือ B  P
   – เมือ B = Bulk modulus
        ่
   – P = ความดันแก๊ส
            cP
   –  
            cV
    ดังนั้น        P
                V
                    r
อัตราเร็วของเสียงในอากาศ
• อัตราเร็วของเสียงในอากาศ จากการทดลองพบว่า อัตราเร็วของเสียง
  ในอากาศเป็นสัดส่วนโดยตรงกับรากที่สองของอุณหภูมิเคลวิน


• ดังนั้นได้ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วและอุณหภูมิคือ
                        TC
    v  (331 m/s) 1 
                      273 C
    – จากคณิตศาสตร์ เมื่อ x มีค่าน้อย :
       ได้    V = 331 + 0.6 Tc
       • ค่า 331 m/s คืออัตราเร็วที่ 0o C
       • TC คืออุณหภูมิของอากาศในสเกล Celsius
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ข้อพิเศษ
1. จงหาอัตราเร็วของส่วนอัด และอัตราเร็วของส่วนขยาย เมื่อคลื่นเสียง
มีความถี่ 1,000 Hz และมีความยาวคลื่น 0.6 m
2. จงหาความถี่ของเสียงกระดิ่งในอากาศที่อุณหภูมิ 25 0C เมื่อเสียงมี
ความยาวคลื่น 2 m
การบ้าน อัตราเร็วของคลื่นเสียง
ให้นักเรียนหาที่มาของสมการต่อไปนี้
              p
1.    v 
              q

2.   v  331 0.6t
              B
3.   v 
              r
          Y
4.   v
          r
สมบัติของคลื่นเสียง
• การสะท้อนของเสียง
   – กฎของการสะท้อน
      • ทิศทางคลื่นตกกระทบ เส้นแนวฉาก
        และทิศทางคลื่นสะท้อนต้องอยู่ใน
        ระนาบเดียวกัน
      • มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
ข้อพิเศษ
ในอุณหภูมิ 300 C เราต้องยืนห่างจากกาแพงใหญ่อย่างน้อยเท่าไร จึงจะ
ได้ยินเสียงสะท้อนกลับ
สมบัติของคลื่นเสียง                      4,1,5,3

• การหักเหของเสียง




   – เมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน จะทาให้อัตราเร็วเสียง
     เปลี่ยนแปลง และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปก็ทาให้อัตราเร็วของเสียงเปลี่ยนแปลง
     ไปด้วย
   – เป็นไปตามสมการ sin   V                       T
                               1
                                       1
                                                1
                                                         1

                         sin  2       2       V2       T2
ข้อพิเศษ (2
1. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศที่อุณหภูมิ 20 C0 ไปสู่อากาศที่อุณหภูมิ 50
C0 ด้วยมุมตกกระทบ 30 0 จงหามุมหักเห
 2. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศด้วยความเร็ว 753 m/s ไปสู่น้า ถ้าเสียง
เคลื่อนที่ในน้าได้เร็ว 1,506 m/s จงหามุมวิกฤติ
สมบัติของคลื่นเสียง
• การแทรกสอดของคลื่นเสียง
   – ถ้าคลื่นรวมกันระหว่างสันคลื่น(ส่วนอัด)
     ด้วยกัน หรือคลื่นรวมระหว่างท้องคลื่น
     (ส่วนขยาย) ด้วยกัน ณ ตาแหน่งนั้นเป็น
     ตาแหน่งที่เสียงดังกว่าเดิม
   – ถ้า ณ ตาแหน่งใดคลื่นรวมระหว่างสัน
     คลื่นกับท้องคลื่น ตาแหน่งนั้นจะเป็น
                                              ภาพ การ Set ระบบเพื่อ
     ตาแหน่งเสียงค่อย                         อธิบายการแทรกสอดของ
                                              คลื่นเสียง
สมบัติของคลื่นเสียง                6,

• พิจารณาลาโพง 2 ตัวที่เหมือนกันตัวปล่อยคลื่นเสียงไปที่จุด P
   – จุด P เป็นจุดที่มีการแทรกสอดแบบเสริม
สรุปสูตรการแทรกสอดของคลื่นเสียง

• เมื่อเฟสตรงกัน
  – เสริมกัน(ปฎิบัพ : ดัง)




  – หักล้างกัน(บัพ : ค่อย)
สรุปสูตรการแทรกสอดของคลื่นเสียง

• เมื่อเฟสตรงกันข้าม
  – เสริมกัน(ปฎิบัพ : ดัง    )




  – หักล้างกัน(บัพ : ค่อย)
การเลี้ยวเบนของเสียง

• การคานวณเรื่องการการเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง เหมือนกับการแทรก
  สอดของคลื่นน้าทุกประการ
   – เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง(บัพ)
     Path diff = n‫ג‬
                                     ; n= 1,2,3,…
     dsin Ө = n‫ג‬
   – เกิดการแทรกสอดแบบเสริม(ปฏิบัพ)

      Path diff = [n+(1/2)]
                                          ; n= 1,2,3,…
      dsin Ө = [n+(1/2)]‫ג‬
ปรากฏการการแทรกสอดในชีวิตประจาวัน(2,3,1,5,6)
• การเกิดบีตส์ (Beat)
   – เป็นปรากฎการณ์จากการแทรกสอดของคลื่นเสียง 2 ขบวนทีมีความถี่ต่างกัน
                                                                ่
     เล็กน้อยและเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดียวกันเกิดการรวมคลื่นเป็นคลื่นเดียวกัน ทา
     ให้แอมพลิจูดเปลี่ยนไป เป็นผลทาให้เกิดเสียงดังค่อยสลับกันไปด้วยความถี่ค่า
     หนึ่ง
   – ความถี่ของบีตส์ หมายถึงเสียงดังเสียงค่อยที่เกิดขึ้นสลับกันในหนึ่งหน่วยเวลา
     เช่น ความถี่ของบีตส์เท่ากับ 10 รอบต่อวินาที หมายความว่าใน 1 วินาทีเสียงดัง
     10 ครั้งและเสียงค่อย 10 ครั้ง
ปรากฏการการแทรกสอดในชีวิตประจาวัน
• การเกิดบีตส์ (Beat)




• ที่
ปรากฏการณ์การแทรกสอดในชีวิตประจาวัน
• การเกิดบีตส์
   – ได้คลื่นลัพธ์

   – จากวิชาคณิตศาสตร์
   – ดังนั้นคลื่นลัพธ์เป็น
ปรากฏการการแทรกสอดในชีวิตประจาวัน(1
• การเกิดบีตส์
   – จากสมการของคลื่นลัพธ์



   – ความถี่เสียงที่ผู้ฟังได้ยินคือความถี่เฉลี่ย
   – แอมพลิจูดของคลื่นลัพธ์คือ
   – แอมพลิจูดมากที่สุดเมื่อ
   – ดังนั้นได้ความถี่บีตส์
ข้อพิเศษ
1. เสียงความถี่ 1,000 Hz และ 1,004 Hz เข้ามารวมกัน ถามว่าเราจะได้
    ยินเสียงที่มีความถี่เท่าไร และได้ยินเสียงดัง- ค่อย สลับกันกี่ครั้งใน
    เวลา 1 วินาที(1,002
2. ส้อมเสียงเปล่งเสียงมาตรฐาน 440 Hz ส้อมเสียงอีกอันหนึ่งเกิดบีสต์กับ
ซ้อมเสียงมาตรฐาน 3 Hz จะมีความถี่เท่าใด
การสั่นพ้อง
• การสั่นพ้อง (resonance) หรือการกาทอน คือ การที่ระบบสั่น
  อย่างรุนแรงเมื่อมีความถีภายนอกที่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบ
                          ่
  มาใส่ให้ระบบนั้น เช่น
• การสั่นของมวลที่ผูกติดกับปลายสปริง
• การแกว่างของลูกตุ้มนาฬิกา
คานิยาม ในกรณีที่มีความถี่ธรรมชาติหลายค่า
• 1. ความถี่มูลฐาน (fundamental) คือ ความถี่ของเสียงต่าสุดของ
  ความถี่ธรรมชาติ
• 2. ฮาร์โมนิก (harmonics) คือ การสั่นที่มีความถี่เป็นจานวนเต็ม
  เท่าของความถี่มูลฐาน เช่น ถ้าให้ความถี่มูลฐานเป็น 50 รอบ/วินาที
  ฮาร์โมนิกที่ 2 หมายความว่า มีความถี่เป็นสองเท่าของความถี่มลฐาน
                                                              ู
  คือ 100 รอบ/วินาที
• 3. โอเวอร์โทน (overtone) คือ การสั่นที่มีความถี่สูงขึ้นจากความถี่
  มูลฐาน โดยเป็นจานวนเต็มเท่าความถี่มูลฐาน
harmonics




http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u1
harmonics




http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u1
harmonics




http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u1
http://www.glenbrook.k12.il.us/gbssci/phys/Class/sound/u1
คลื่นนิ่งในท่อ(Resonance tube) 5
• คลื่นนิ่งเกิดจากการซ้อนทับกันของคลื่นเสียงซึ่งเป็นคลื่นตามยาวที่วิ่ง
  สวนทางกันภายในท่อ
• เฟสของคลื่นสะท้อนจะเปลี่ยนไป180 องศาถ้าเป็นท่อปลายปิด
• เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนถ้าท่อเป็นท่อปลายเปิด
คลื่นนิ่งในท่อปลายเปิด
• ที่ปลายทั้งสองจะเป็นจุด ปฏิบัพ (antinodes)
• มีความถี่มูลฐานเป็น v/2L
• ฮาร์มอนิกที่ n มีความถี่เป็น ƒn = nƒ1 = n (v/2L)
 เมื่อ n = 1, 2, 3, …
คลื่นนิ่งในท่อปลายปิด
•   ที่ปลายปิดจะเป็นตาแหน่งบัพ (node)
•   ที่ปลายเปิดจะเป็นตาแหน่งปฏิบัพ(antinode)
•   มีความถี่มูลฐานเป็น ¼
•   ฮาร์มอนิกที่ n มีความถี่เป็น ƒn = nƒ = n (v/4L) เมือ
                                                       ่
     n = 1, 3, 5, …
ข้อพิเศษ( 5
จงหาความถี่ของส้อมเสียงที่จอปากหลอดกาทอน ที่มีความยาว
                           ่
0.5 mแล้วเกิดกาทอนโอเวอร์โทนที่ 3 ถ้าขณะนั้นเสียงมี
อัตราเร็ว 340 m/s
The Doppler Effect(ห้อง1,5
• บางครั้งเราได้ยินเสียงแตรของรถยนต์เปลี่ยนไปเมื่อรถยนต์
  เคลื่อนที่ผ่านเราไป
• เมื่อรถยนต์เคลื่อนที่เข้าหาเราความถี่ของเสียงทีเ่ ราได้ยินจะ
  มากกว่าความถี่ในกรณีที่รถยนต์เคลื่อนที่ออกจากเรา
• เหตุการณ์นี้เป็นตัวอย่างของ ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์
The Doppler Effect
• Doppler Effect เกิดขึ้นเมื่อ ความถี่หรือความยาวคลื่น
  มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่หรือ
  ผู้สังเกตเคลื่อนที่
• พิจารณา ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่บนเรือที่ลอยอยู่ในทะเล
  ที่คลื่นสงบ(คลื่นผิวน้ามีอัตราเร็วคงที่)เคลื่อนที่ไป
  ทางด้านซ้ายดังภาพ
• ในภาพ a ผู้สังเกตเริ่มจับเวลาเมื่อสันคลื่นมากระทบ
  เรือ เมื่อสันคลื่นลูกถัดมากระทบเรือจับเวลาได้ 3
  วินาที แสดงว่าคลื่นมีความถี่ 0.33 Hz
• ในภาพ b และ c ความถี่ที่วัดได้จะเป็นอย่างไรเมื่อ
  เทียบกับภาพ a
The Doppler Effect
• นั่นคือ Doppler Effect เกิดขึ้นจากอัตราเร็วสัมพัทธ์ระหว่าง
  (ผู้สังเกต)กับคลื่น
   – เมื่อเรือเคลื่อนที่ไปทางขวา อัตราเร็วสัมพัทธ์ของคลื่นเทียบกับเรือจะ
     มากกว่าอัตราเร็วของคลื่น ทาให้คนที่อยู่บนเรือ(ผู้สังเกต)เห็นความถี่
     ของคลื่นมากขึ้น
   – เมื่อกลับหัวเรือให้เรือเคลื่อนที่ไปทางซ้าย อัตราเร็วสัมพัทธ์ของคลื่น
     เทียบกับเรือจะน้อยกว่าอัตราเร็วของคลื่น ทาให้ผู้สังเกตเห็นความถี่
     ของคลื่นน้อยลง
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (1)
• พิจารณาคลื่นเสียงกับเทียบกับคลื่นน้าที่มากระทบเรือ
   – พิจารณาคลื่นเสียงแทนคลื่นน้า
   – ตัวกลางเป็นอากาศแทนที่จะเป็นน้า
   – ผู้สังเกตคือผู้ฟังแทนที่จะเป็นคนที่อยู่บนเรือ
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (2)
• พิจารณา ผู้สังเกต(ผู้ฟัง)เคลื่อนที่แหล่งกาเนิดเสียงหยุดนิ่งอยู่กับที่
    – ผู้สังเกตเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว Vo
    – สมมติว่าแหล่งกาเนิดเสียงอยู่นิ่งเทียบกับตัวกลางที่อยู่นิ่ง(อากาศ) : Vs=0
    – สมมติว่าคลื่นเสียงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ดังนั้น นั่นคือคลื่นเสียงจะแผ่จาก
      แหล่งกาเนิดไปในทุกทิศทุกทางด้วยอัตราเร็วที่เท่ากัน
        • ดังพื้นผิวที่มีเฟสตรงกัน เรียกว่า หน้าคลื่น wave front
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (3)
• ระยะระหว่างหน้าคลื่นที่อยู่ติดกันเท่ากับความยาวคลื่น ( )
• อัตราเร็วของคลื่นเสียงเป็น v ความถี่เป็น ƒ และความยาวคลื่นเป็น
• ดังนั้นถ้าผู้สังเกต(ผู้ฟัง)ที่อยู่นิ่งจะได้ยินเสียงด้วยความถี่ƒ
    – (V0=0 ,Vf=0)
• เมื่อผู้สังเกตเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกาเนิด อัตราเร็วสัมพัทธ์(อัตราเร็วของคลื่นเทียบกับ
  ผู้สังเกต)คือ
                   v ’ = v + vo
    – โดยที่ความยาวคลื่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (4)

• จาก V = f เมื่อความยาวคลื่นไม่มีการ
  เปลี่ยนแปลง
• ผู้ฟังจะได้ยินเสียงมีความถี่เป็น ƒ ’

                                        และ
                                        จาก
• นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (5)

• ถ้าผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิดที่อยูนิ่ง
                                            ่
• อัตราเร็วสัมพัทธ์คือ
        v ’ = v - vo
• นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่น้อยลง เป็น
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (6)
• พิจารณา แหล่งกาเนิดคลื่น
  เสียงเคลื่อนที่ ในขณะที่ ผู้ฟัง
  อยู่นิ่ง
• เมื่อแหล่งกาเนิดคลื่นเสียง
  เคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟังความยาว
  คลื่นที่ได้รับจะสั้นลง
• เมื่อแหล่งกาเนิดคลื่นเสียง
                                    ในช่วงเวลา T แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่
  เคลื่อนที่ออกจากผู้ฟังความยาว
                                    ได้ระยะทาง VsT
  คลื่นที่ได้รับจะมากขึ้น
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (7)
• เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟัง
    – ในช่วงเวลาTแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ได้ระยะทางเป็น VsT=Vs/f
• ดังนั้นผู้ฟังจะได้รับความยาวคลื่น เป็น
                                                เนื่องจา
• ดังนั้น                                       ก


• นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินด้วยความถี่ที่มากขึ้น
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (8)
• เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟัง
    – นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินด้วยความถี่ที่น้อยลง



• จะได้ความสัมพันธ์ของความถี่ที่ผู้ฟังได้รับ(จากการรวมสมการ)เมื่อ
  แหล่งกาเนิดและผู้ฟังต่างก็เคลื่อนที่เข้าหากัน
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (9)
• สูตรรวมสาหรับการเคลื่อนที่ของแหล่งกาเนิดและผู้
  สังเกต(ผู้ฟัง)แบบต่าง ๆ

                 v  vo 
             f
                vv    f
                      s 
Doppler Effect ของคลื่นผิวน้า

• แหล่งกาเนิดคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา
• หน้าคลื่นทางด้านขวามือใกล้กันมาก
  ขึ้น
• หน้าคลื่นทางด้านซ้ายมือไกลกันมาก
  ขึ้น
ข้อพิเศษ( 1 คะแนน)
จากรูป คลื่นเสียงความถี่ 1 ,200 เฮิรตซ์ เคลื่อนที่ไปทางผู้สังเกต A
ด้วยความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที ถ้าผู้สังเกต A และ B อยู่นิ่งจะได้ยิน
เสียงความถี่เท่าใด ถ้าเสียงมีความเร็วในอากาศขณะนั้น 350 เมตรต่อ
วินาที
คลื่นกระแทก(Shock Wave)(2

 • อัตราเร็วของแหล่งกาเนิดมากกว่า
   อัตราเร็วของคลื่น
 • จาก กรวยของหน้าคลื่น ที่เกิดขึ้น
   จะเห็นว่า
     sin   v/vS
     – มุมนี้เรียกว่า มุมมัค (Mach
        angle)




การทดลองเสมือนจริง
เลขมัค(Mach Number)
• อัตราส่วน vs / v คือเลขมัค
• ความสัมพันธ์ระหว่าง เลขมัค กับ มุมมัค คือ

                     vt    v
             sin       
                     vs t vs
คลื่นกระแทก(Shock Wave)
• กรวยของหน้าคลื่นจะถูกผลิตขึ้นเมื่อ vs >
  v ซึ่งก็คือ shock wave
     – คลื่นแบบนี้เรียกว่า supersonic
• คลื่นกระแทก จะนาพลังงานไปด้วยซึ่ง
  พลังงานจะอยู่บนพื้นผิวของโคน
• เช่นเมื่อเครื่องบินที่มี่ความเร็วเหนือเสียง
  บินผ่านตึกสามารถทาให้ตึกเสียหายได้
  จากคลื่นกระแทก ที่เรียกว่า
  supersonic นั่นเอง
คลื่นกระแทก(Shock Wave)
• การเคลื่อนที่ของเรือเปรียบเทียบกับคลื่นกระแทก
ข้อพิเศษ
เครื่องบินมีอัตราเร็ว 5/4 มัค จะมีอัตราเร็วเท่าใด และมุมที่ผิวสัมผัสหน้าคลื่นทา
มุมกับทิศการเคลื่อนที่ของเครื่องบินเท่ากับกี่องศา ถ้าอัตราเร็วของเสียงในอากาศ
ที่อุณหภูมินั้น ๆ เท่ากับ 350 เมตรต่อวินาที
ความดังของเสียง

• ความดังของเสียงสัมพันธ์กับแอมพลิจูดของคลื่นเสียงมีหน่วย
  เป็น(N/m2)เนื่องจากคลื่นเสียงเป็นคลื่นของความดันของ
  อากาศซึ่งเป็นตัวกลาง
• ในการพิจารณาเรื่องความดัง จะพิจารณาถึงแหล่งกาเนิดเสียงซึ่ง
  ตัวเลขที่บอกถึงความดังคือ กาลังของแหล่งกาเนิด ซึ่งหมายถึง
  พลังงานเสียงที่แหล่งกาเนิดปล่อยออกมาใน 1s
• แต่จะได้ยินเสียงดังมากหรือน้อยก็ขึ้นอยูกับระยะระหว่างเรากับ
                                         ่
  แหล่งกาเนิดด้วย จึงพิจารณาถึง ความเข้มเสียง(Sound
  Intensity,I)
ความเข้มเสียง
               (SOUND INTENSITY,I)
• ความเข้ม (Intensity) คือพลังงานเสียงที่ตกบน 1 ตารางพื้นที่
  (ซึ่งตั้งฉากกับคลื่นเสียง) ในเวลา 1 วินาที
                สมมติ พื้นที่ A ตารางเมตร, มีกาลังของเสียง P วัตต์
   เพราะฉะนั้น A ตารางเมตร , มีกาลังของเสียง P/A วัตต์
   เพราะฉะนั้น
ความเข้มเสียง
               (SOUND INTENSITY,I)
• แต่คลื่นเสียงกระจายออกมาเป็นรูปทรงกลม รอบแหล่งกาเนิดเสียงพื้นที่
  ผิวทรงกลม(        )




   – I = ความเข้มเสียง ณ จุดใด ๆ (วัตต์/ตารางเมตร)
   – P = กาลังของเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง(วัตต์)
   – r = ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียง(เมตร)
ความเข้มเสียง
                 (SOUND INTENSITY,I)
• ขีดความสามารถในการได้ยิน
   – ความเข้มของเสียงน้อยที่สุดที่ทาให้หูคนเริ่มได้ยิน(นามาใช้อ้างอิง)

   – ความเข้มสูงสุดที่ทาให้คนฟังได้ยินแล้วเริ่มปวดแก้วหู


• ความเข้มสัมพัทธ์(Relative Intensity)
   – ความเข้มใดๆเมื่อเทียบกับความเข้มต่าสุดที่คนเริ่มได้ยิน
                 I
            Ir 
                 I0
ความเข้มเสียง
               (SOUND INTENSITY,I)
• ระดับความเข้มเสียง ใช้สัญลักษณ์ คือสเกลที่นักวิทยาศาสตร์สร้าง
  ขึ้นเพื่อบอกความดังของเสียงให้ใกล้เคียงกับความรู้สึกของคนมากขึ้น
• เนื่องจากความเข้มเสียงที่มนุษย์ได้ยินอยู่ในช่วงกว้างมากตั้งแต่
   10-12 -1 วัตต์/ตารางเมตร เพื่อความสะดวกจึงกาหนดความเข้มเสียงขึ้นใหม่
     เป็น ระดับความเข้มเสียง
   – ระดับความเข้มเสียง เป็นการเปรียบเทียบความเข้มเสียง กับความเข้ม
   10-12 วัตต์/ตารางเมตร และพิจารณาเป็น log ฐานสิบ
ความเข้มเสียง
              (SOUND INTENSITY,I)
                                                      I
• สูตรระดับความเข้มเสียง                        log
                                                      I0
   – ระดับความเข้ม หน่วยเป็น เบล(Bel)                      I
                                                  10 log
   – ระดับความเข้ม หน่วยเป็น เดซิเบล(dB)                   I0
   – คนธรรมดารับฟังเสียงได้อย่างน้อยต้องมีความเข้ม 10-12 วัตต์/
     ตารางเมตร , มากที่สุดมีความเข้มไม่เกิน 1 วัตต์/ตารางเมตร
   – เทียบเป็นระดับความเข้ม, เมื่อเสียงค่อยที่สุด ได้ 0 เดซิเบล
   – เทียบเป็นระดับความเข้ม, เมื่อเสียงดังที่สุด ได้ 120 เดซิเบล
   – ดังนั้น คนธรรมดาฟังเสียงได้ในช่วงระดับเสียงจาก 0 – 120 เดซิเบล
ข้อพิเศษ
1. จงหาความเข้มของเสียง เมื่อเสียงมีระดับความเข้มเสียง 50 เดซิเบล
2. ที่จุดซึ่งมีความเข้มเสียง 1.75 x 1010 จะมีระดับความเข้มเสียง
   เท่าใด
3. ตั้งเครื่องวัดระดับความเข้มเสียงห่างจากรถยนต์ 10 เมตร เมื่อเร่ง
   เครื่องเต็มที่วัดระดับความเข้มเสียงได้ 100 เดซิเบล กาลังเสียงของ
   จักรยานยนต์นี้เป็นเท่าใด( 1 คะแนน)
การบ้าน
1. การที่จะได้ยินเสียงแต่ละครั้งต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง
2. ถ้าเกิดว่ามีองค์ประกอบครบตามข้อที่ 1. จะได้ยินเสียงหรือไม่
3. เสียงดัง – ค่อย และเสียงทุ้ม – แหลม ขึ้นอยู่กับค่าใดของคลื่นเสียง
4. หูแบ่งเป็นกี่ส่วน แต่ละส่วนมีองค์ประกอบอะไรบ้าง และหูทางาน
   อย่างไร
5. เปียโน และ ไวโอลิน เล่นโน้ต Do พร้อมกัน (256 Hz) ผู้ฟังจะบอกได้ว่า
   เป็นเสียงดนตรีชนิดใด เพราะเหตุใด
หูและการได้ยินของมนุษย์
• หูทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน และ การทรง
  ตัว แบ่งออกเป็น
   – หูส่วนนอก
       (1) ใบหู (2) ช่องรูหู
   – หูส่วนกลาง
       3)เยื่อแก้วหู (4) กระดูกค้อน (5) กระดูกทั่ง
       (6)กระดูกโกลน (7) ท่อยูเทเชียน
   – หูส่วนใน
       (8) กระดูกครึ่งวงกลม 3 ชิ้น (9) ประสาทเกี่ยวกับ
       การทรงตัว (10)ประสาทเกี่ยวกับการได้ยิน
       (11)กระดูกรูปหอย (12)ส่วนคอ
คุณภาพของเสียง
• เปียนโน และ ไวโอลิน เล่นโน้ต Do พร้อมกัน (256 Hz) ผู้ฟังจะบอกได้
  ว่า เป็นเสียงดนตรีชนิดใด เพราะ คุณภาพเสียงต่างกัน
   – ถามว่าต่างกันอย่างไร
   – (แนวคิด) คุณภาพเสียงต่างกัน
       • เพราะเสียงที่มีความถี่มูลฐานเท่ากัน แต่ จานวน Higher harmonic (ฮาโมนิกอื่น ๆ ที่มี
         ความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐาน) แตกต่างกัน
       • และ relative amplitude (แอมพลิจูดเปรียบเทียบ) ระหว่างเสียงความถี่มูลฐาน กับ
         Higher harmonic ในแต่ละกรณีแตกต่างกัน
คุณภาพของเสียง
• ตัวอย่าง
   – เสียง Do จากเปียโน กับ ไวโอลิน มีความถี่เท่ากัน คือ 256 Hz ทาไมเรา
     จึงฟังเสียงไม่เหมือนกัน
   – ตอบ
       • เพราะว่า เสียง Do จะมี ฮาร์มอนิกอื่น ๆ ปนออกมาด้วย แอมพลิจูดที่ไม่เท่ากัน

             แอมพลิจูด                           แอมพลิจูด
                  เสียงโด                              เสียงโด

                            เปียโน                               ไวโอลิน

                                             ความถี่                                 ความถี่
                 C C ’ C’’ C’’’’                       C C ’ C’’ C’’’ C’’’’
แบบฝึกหัด
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทในหนังสือเรียน
- คาถามข้อ 7, 8 และ 11
- ปัญหาข้อที่ 7, 9, 11, 13 และ 15

More Related Content

What's hot

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
Wichai Likitponrak
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
Maikeed Tawun
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 

What's hot (20)

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 

Viewers also liked (7)

เสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยินเสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยิน
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
อัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียงอัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วของเสียง
 
บีตส์
บีตส์บีตส์
บีตส์
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 

Similar to งานนำเสนอเสียง

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
Som Kechacupt
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
Apinya Phuadsing
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
มะดาโอะ มะเซ็ง
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
Kruanek007
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
Kruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
thanakit553
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
kruannchem
 

Similar to งานนำเสนอเสียง (20)

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899e0b881e0b8a5 1
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
Sound
SoundSound
Sound
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

งานนำเสนอเสียง

  • 2. คลื่นเสียง (Sound Waves) • การเกิดและการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง – คลื่นเกิดจากการสั่นสะเทือนแหล่งกาเนิดเสียง – ถ่ายทอดพลังงานของการสั่นให้แก่อนุภาคของตัวกลาง – อนุภาคของตัวกลางสั่นแบบซิมเปิลฮาร์โมนิกในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ ของเสียงจึงเป็น คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)
  • 3. คลื่นเสียง (Sound Waves) • แหล่งกาเนิดคลื่นเสียงแบ่งตามลักษณะของวัตถุต้นกาเนิดได้ 3 ประเภท คือ – เกิดจากการสั่นของสายหรือแท่ง ได้แก่ เครื่องสายต่าง ๆ เช่น ไวโอลิน กีตาร์ ซอ จะเข้ ขิม ส้อมเสียง – เกิดจากการสั่นของผิว เช่น ระฆัง ฉาบ ฉิ่ง กลอง – เกิดจากการสั่นของลาอากาศ ได้แก่ เครื่องเป่าชนิดต่าง ๆ เช่น นกหวีด ขลุ่ย ปี่ แคน แซกโซโฟน
  • 4. คลื่นเสียง (Sound Waves) พิจารณาท่อทรงกระบอกที่บรรจุก๊าซ – คลื่นตามยาวถูกแผ่ไปตามท่อทรงกระบอกที่ บรรจุก๊าซ – แหล่งกาเนิดของคลื่นคือการสั่นของลูกสูบ – ระยะทางระหว่างส่วนอัดกับส่วนอัดหรือ ส่วนขยายกับส่วนขยายคือ ความยาวคลื่น
  • 5. คลื่นเสียง (Sound Waves) • บริเวณที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านภายในท่อ อนุภาคของ ตัวกลางจะสั่นแบบ ซิมเปิลฮาร์โมนิกในทิศเดียวกับทิศ การเคลื่อนที่ของคลื่น • ฟังก์ชันของตาแหน่ง (การกระจัด)ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ แบบ ซิมเปิลฮาร์โมนิก คือ s (x, t) = smax cos (kx – wt) – smax คือ ตาแหน่งสูงสุดจากตาแหน่งสมดุล(การกระจัดสูงสุด) – smax เรียกว่า แอมพลิจูด (amplitude) ของคลื่น
  • 6. คลื่นเสียง (Sound Waves) • การเปลี่ยนแปลงความดัน (pressure, DP )ของก๊าซเป็นแบบมี คาบ (periodic) DP = DPmax sin (kx – wt) – DPmax คือแอมพลิจูดของความดัน – โดยที่ DPmax = rvwsmax (มาจากการพิสูจน์:serwayหน้า 516 ) – k คือ เลขคลื่น (wave number) – w คือ ความถี่เชิงมุม (angular frequency)
  • 7. คลื่นเสียง (Sound Waves) • คลื่นเสียงอาจพิจารณาได้ จากทั้ง การกระจัด และความ ดัน • ความดันของคลื่นจะมีเฟส ต่างกับการกระจัดอยู่ 90o – ความดันมีค่ามากที่สุดเมื่อ การกระจัดมีค่าเป็นศูนย์
  • 8. คลื่นเสียง (Sound Waves) • ลักษณะของคลื่นเสียง – คลื่นเสียงประกอบด้วยส่วนอัดและส่วนขยายของอนุภาคของตัวกลาง – ส่วนอัด (Compression) คือ ส่วนที่อนุภาคเคลื่อนที่ไปที่ตาแหน่งเดียวกันและมีความ ดันมากกว่าปกติ – ส่วนขยาย (Rarefaction) คือ ส่วนที่อนุภาคเคลื่อนที่ตรงกันข้ามกับคลื่นและมีความ ดันน้อยกว่าปกติ
  • 9. อัตราเร็วของคลื่นเสียง (Speed of Sound Waves) • อัตราเร็วของคลื่นเสียง คือ ระยะทางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ได้ในหนึงหน่วย ่ เวลา • อัตราเร็วของคลื่นเสียง ขึ้นอยู่ กับสภาพของตัวกลางที่เสียงผ่าน เช่น ความ หนาแน่นของตัวกลาง อุณหภูมิ และความยืดหยุ่นของตัวกลาง • ถ้าความหนาแน่นและอุณหภูมิของตัวกลาง มาก อัตราเร็วของเสียงจะมีค่ามาก เนื่องจากอาศัยตัวกลางถ่ายทอดพลังงานจลน์ได้ดี • หรือถ้าตัวกลางมี ความยืดหยุ่นมาก อัตราเร็วของเสียงจะมีค่ามาก • ในตัวกลางเดียวกันอัตราเร็วของเสียง ไม่ขึ้นอยู่กับความถี่และความยาวคลื่น • เมื่ออุณหภูมิเท่ากันเสียงจะเดินทางได้ เร็วในตัวกลางที่เป็น ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ตามลาดับ
  • 10. อัตราเร็วของคลื่นเสียง (Speed of Sound Waves) • พิจารณา แก๊ส ที่ถูกอัด ดังรูปด้านขวา • ก่อนที่ลูกสูบจะเคลื่อนที่ แก๊ส จะมีความ ดันคงที่ (ความดันปกติ) • เมื่อลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ไปทางด้านขวา ก๊าซที่อยู่ด้านหน้าจะถูกอัด – บริเวณที่มีสีเข้มของภาพ
  • 11. อัตราเร็วของคลื่นเสียง (Speed of Sound Waves) • เมื่อลูกสูบหยุดการเคลื่อนที่ บริเวณของ แก๊ส ที่ถูกอัดจะยังคงเคลื่อนที่ต่อไป – ซึ่งสอดคล้องกับพัลส์ของคลื่น ตามยาวที่เคลื่อนที่ไปในกระบอกสูบ ด้วยอัตราเร็ว v – อัตราเร็วของลูกสูบจะไม่เท่ากับ อัตราเร็วของคลื่น
  • 12. อัตราเร็วของเสียงในของไหล • อัตราเร็วของเสียงในของไหลขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นตัวของของไหล คือ ค่า Bulk Modulus และความหนาแน่นของของไหล B v r – V = อัตราเร็วเสียง – B = ค่าสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุ่นของบัลค์ = ΔP/(ΔV/V) – ρ = ความหนาแน่นของของไหล
  • 13. อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง • อัตราเร็วของเสียงในของแข็งขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นตัวของของแข็ง คือ Young ‘s Modulus และความหนาแน่นของของแข็ง Y V r – Y = ค่าสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุ่น (Young ‘ s Modulus) = อัตราส่วนของความเค้นต่อความเครียด
  • 15. อัตราเร็วของเสียงในอากาศ • อัตราเร็วของเสียงในอากาศ จากการทดลองพบว่า อัตราเร็วของเสียง ในอากาศเป็นสัดส่วนโดยตรงกับรากที่สองของอุณหภูมิเคลวิน • ดังนั้นได้ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วและอุณหภูมิคือ TC v  (331 m/s) 1  273 C – จากคณิตศาสตร์ เมื่อ x มีค่าน้อย : ได้ V = 331 + 0.6 Tc • ค่า 331 m/s คืออัตราเร็วที่ 0o C • TC คืออุณหภูมิของอากาศในสเกล Celsius
  • 18. ข้อพิเศษ 1. จงหาอัตราเร็วของส่วนอัด และอัตราเร็วของส่วนขยาย เมื่อคลื่นเสียง มีความถี่ 1,000 Hz และมีความยาวคลื่น 0.6 m 2. จงหาความถี่ของเสียงกระดิ่งในอากาศที่อุณหภูมิ 25 0C เมื่อเสียงมี ความยาวคลื่น 2 m
  • 20. สมบัติของคลื่นเสียง • การสะท้อนของเสียง – กฎของการสะท้อน • ทิศทางคลื่นตกกระทบ เส้นแนวฉาก และทิศทางคลื่นสะท้อนต้องอยู่ใน ระนาบเดียวกัน • มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
  • 21. ข้อพิเศษ ในอุณหภูมิ 300 C เราต้องยืนห่างจากกาแพงใหญ่อย่างน้อยเท่าไร จึงจะ ได้ยินเสียงสะท้อนกลับ
  • 22. สมบัติของคลื่นเสียง 4,1,5,3 • การหักเหของเสียง – เมื่อเสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน จะทาให้อัตราเร็วเสียง เปลี่ยนแปลง และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปก็ทาให้อัตราเร็วของเสียงเปลี่ยนแปลง ไปด้วย – เป็นไปตามสมการ sin   V T 1  1  1  1 sin  2 2 V2 T2
  • 23. ข้อพิเศษ (2 1. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศที่อุณหภูมิ 20 C0 ไปสู่อากาศที่อุณหภูมิ 50 C0 ด้วยมุมตกกระทบ 30 0 จงหามุมหักเห 2. เสียงเคลื่อนที่จากอากาศด้วยความเร็ว 753 m/s ไปสู่น้า ถ้าเสียง เคลื่อนที่ในน้าได้เร็ว 1,506 m/s จงหามุมวิกฤติ
  • 24. สมบัติของคลื่นเสียง • การแทรกสอดของคลื่นเสียง – ถ้าคลื่นรวมกันระหว่างสันคลื่น(ส่วนอัด) ด้วยกัน หรือคลื่นรวมระหว่างท้องคลื่น (ส่วนขยาย) ด้วยกัน ณ ตาแหน่งนั้นเป็น ตาแหน่งที่เสียงดังกว่าเดิม – ถ้า ณ ตาแหน่งใดคลื่นรวมระหว่างสัน คลื่นกับท้องคลื่น ตาแหน่งนั้นจะเป็น ภาพ การ Set ระบบเพื่อ ตาแหน่งเสียงค่อย อธิบายการแทรกสอดของ คลื่นเสียง
  • 25. สมบัติของคลื่นเสียง 6, • พิจารณาลาโพง 2 ตัวที่เหมือนกันตัวปล่อยคลื่นเสียงไปที่จุด P – จุด P เป็นจุดที่มีการแทรกสอดแบบเสริม
  • 26. สรุปสูตรการแทรกสอดของคลื่นเสียง • เมื่อเฟสตรงกัน – เสริมกัน(ปฎิบัพ : ดัง) – หักล้างกัน(บัพ : ค่อย)
  • 27. สรุปสูตรการแทรกสอดของคลื่นเสียง • เมื่อเฟสตรงกันข้าม – เสริมกัน(ปฎิบัพ : ดัง ) – หักล้างกัน(บัพ : ค่อย)
  • 28. การเลี้ยวเบนของเสียง • การคานวณเรื่องการการเลี้ยวเบนของคลื่นเสียง เหมือนกับการแทรก สอดของคลื่นน้าทุกประการ – เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง(บัพ) Path diff = n‫ג‬ ; n= 1,2,3,… dsin Ө = n‫ג‬ – เกิดการแทรกสอดแบบเสริม(ปฏิบัพ) Path diff = [n+(1/2)] ; n= 1,2,3,… dsin Ө = [n+(1/2)]‫ג‬
  • 29. ปรากฏการการแทรกสอดในชีวิตประจาวัน(2,3,1,5,6) • การเกิดบีตส์ (Beat) – เป็นปรากฎการณ์จากการแทรกสอดของคลื่นเสียง 2 ขบวนทีมีความถี่ต่างกัน ่ เล็กน้อยและเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดียวกันเกิดการรวมคลื่นเป็นคลื่นเดียวกัน ทา ให้แอมพลิจูดเปลี่ยนไป เป็นผลทาให้เกิดเสียงดังค่อยสลับกันไปด้วยความถี่ค่า หนึ่ง – ความถี่ของบีตส์ หมายถึงเสียงดังเสียงค่อยที่เกิดขึ้นสลับกันในหนึ่งหน่วยเวลา เช่น ความถี่ของบีตส์เท่ากับ 10 รอบต่อวินาที หมายความว่าใน 1 วินาทีเสียงดัง 10 ครั้งและเสียงค่อย 10 ครั้ง
  • 31. ปรากฏการณ์การแทรกสอดในชีวิตประจาวัน • การเกิดบีตส์ – ได้คลื่นลัพธ์ – จากวิชาคณิตศาสตร์ – ดังนั้นคลื่นลัพธ์เป็น
  • 32. ปรากฏการการแทรกสอดในชีวิตประจาวัน(1 • การเกิดบีตส์ – จากสมการของคลื่นลัพธ์ – ความถี่เสียงที่ผู้ฟังได้ยินคือความถี่เฉลี่ย – แอมพลิจูดของคลื่นลัพธ์คือ – แอมพลิจูดมากที่สุดเมื่อ – ดังนั้นได้ความถี่บีตส์
  • 33. ข้อพิเศษ 1. เสียงความถี่ 1,000 Hz และ 1,004 Hz เข้ามารวมกัน ถามว่าเราจะได้ ยินเสียงที่มีความถี่เท่าไร และได้ยินเสียงดัง- ค่อย สลับกันกี่ครั้งใน เวลา 1 วินาที(1,002 2. ส้อมเสียงเปล่งเสียงมาตรฐาน 440 Hz ส้อมเสียงอีกอันหนึ่งเกิดบีสต์กับ ซ้อมเสียงมาตรฐาน 3 Hz จะมีความถี่เท่าใด
  • 34. การสั่นพ้อง • การสั่นพ้อง (resonance) หรือการกาทอน คือ การที่ระบบสั่น อย่างรุนแรงเมื่อมีความถีภายนอกที่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบ ่ มาใส่ให้ระบบนั้น เช่น • การสั่นของมวลที่ผูกติดกับปลายสปริง • การแกว่างของลูกตุ้มนาฬิกา
  • 35. คานิยาม ในกรณีที่มีความถี่ธรรมชาติหลายค่า • 1. ความถี่มูลฐาน (fundamental) คือ ความถี่ของเสียงต่าสุดของ ความถี่ธรรมชาติ • 2. ฮาร์โมนิก (harmonics) คือ การสั่นที่มีความถี่เป็นจานวนเต็ม เท่าของความถี่มูลฐาน เช่น ถ้าให้ความถี่มูลฐานเป็น 50 รอบ/วินาที ฮาร์โมนิกที่ 2 หมายความว่า มีความถี่เป็นสองเท่าของความถี่มลฐาน ู คือ 100 รอบ/วินาที • 3. โอเวอร์โทน (overtone) คือ การสั่นที่มีความถี่สูงขึ้นจากความถี่ มูลฐาน โดยเป็นจานวนเต็มเท่าความถี่มูลฐาน
  • 40. คลื่นนิ่งในท่อ(Resonance tube) 5 • คลื่นนิ่งเกิดจากการซ้อนทับกันของคลื่นเสียงซึ่งเป็นคลื่นตามยาวที่วิ่ง สวนทางกันภายในท่อ • เฟสของคลื่นสะท้อนจะเปลี่ยนไป180 องศาถ้าเป็นท่อปลายปิด • เฟสของคลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนถ้าท่อเป็นท่อปลายเปิด
  • 41. คลื่นนิ่งในท่อปลายเปิด • ที่ปลายทั้งสองจะเป็นจุด ปฏิบัพ (antinodes) • มีความถี่มูลฐานเป็น v/2L • ฮาร์มอนิกที่ n มีความถี่เป็น ƒn = nƒ1 = n (v/2L) เมื่อ n = 1, 2, 3, …
  • 42. คลื่นนิ่งในท่อปลายปิด • ที่ปลายปิดจะเป็นตาแหน่งบัพ (node) • ที่ปลายเปิดจะเป็นตาแหน่งปฏิบัพ(antinode) • มีความถี่มูลฐานเป็น ¼ • ฮาร์มอนิกที่ n มีความถี่เป็น ƒn = nƒ = n (v/4L) เมือ ่ n = 1, 3, 5, …
  • 43. ข้อพิเศษ( 5 จงหาความถี่ของส้อมเสียงที่จอปากหลอดกาทอน ที่มีความยาว ่ 0.5 mแล้วเกิดกาทอนโอเวอร์โทนที่ 3 ถ้าขณะนั้นเสียงมี อัตราเร็ว 340 m/s
  • 44. The Doppler Effect(ห้อง1,5 • บางครั้งเราได้ยินเสียงแตรของรถยนต์เปลี่ยนไปเมื่อรถยนต์ เคลื่อนที่ผ่านเราไป • เมื่อรถยนต์เคลื่อนที่เข้าหาเราความถี่ของเสียงทีเ่ ราได้ยินจะ มากกว่าความถี่ในกรณีที่รถยนต์เคลื่อนที่ออกจากเรา • เหตุการณ์นี้เป็นตัวอย่างของ ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์
  • 45. The Doppler Effect • Doppler Effect เกิดขึ้นเมื่อ ความถี่หรือความยาวคลื่น มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่หรือ ผู้สังเกตเคลื่อนที่ • พิจารณา ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่บนเรือที่ลอยอยู่ในทะเล ที่คลื่นสงบ(คลื่นผิวน้ามีอัตราเร็วคงที่)เคลื่อนที่ไป ทางด้านซ้ายดังภาพ • ในภาพ a ผู้สังเกตเริ่มจับเวลาเมื่อสันคลื่นมากระทบ เรือ เมื่อสันคลื่นลูกถัดมากระทบเรือจับเวลาได้ 3 วินาที แสดงว่าคลื่นมีความถี่ 0.33 Hz • ในภาพ b และ c ความถี่ที่วัดได้จะเป็นอย่างไรเมื่อ เทียบกับภาพ a
  • 46. The Doppler Effect • นั่นคือ Doppler Effect เกิดขึ้นจากอัตราเร็วสัมพัทธ์ระหว่าง (ผู้สังเกต)กับคลื่น – เมื่อเรือเคลื่อนที่ไปทางขวา อัตราเร็วสัมพัทธ์ของคลื่นเทียบกับเรือจะ มากกว่าอัตราเร็วของคลื่น ทาให้คนที่อยู่บนเรือ(ผู้สังเกต)เห็นความถี่ ของคลื่นมากขึ้น – เมื่อกลับหัวเรือให้เรือเคลื่อนที่ไปทางซ้าย อัตราเร็วสัมพัทธ์ของคลื่น เทียบกับเรือจะน้อยกว่าอัตราเร็วของคลื่น ทาให้ผู้สังเกตเห็นความถี่ ของคลื่นน้อยลง
  • 47. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (1) • พิจารณาคลื่นเสียงกับเทียบกับคลื่นน้าที่มากระทบเรือ – พิจารณาคลื่นเสียงแทนคลื่นน้า – ตัวกลางเป็นอากาศแทนที่จะเป็นน้า – ผู้สังเกตคือผู้ฟังแทนที่จะเป็นคนที่อยู่บนเรือ
  • 48. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (2) • พิจารณา ผู้สังเกต(ผู้ฟัง)เคลื่อนที่แหล่งกาเนิดเสียงหยุดนิ่งอยู่กับที่ – ผู้สังเกตเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว Vo – สมมติว่าแหล่งกาเนิดเสียงอยู่นิ่งเทียบกับตัวกลางที่อยู่นิ่ง(อากาศ) : Vs=0 – สมมติว่าคลื่นเสียงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ดังนั้น นั่นคือคลื่นเสียงจะแผ่จาก แหล่งกาเนิดไปในทุกทิศทุกทางด้วยอัตราเร็วที่เท่ากัน • ดังพื้นผิวที่มีเฟสตรงกัน เรียกว่า หน้าคลื่น wave front
  • 49. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (3) • ระยะระหว่างหน้าคลื่นที่อยู่ติดกันเท่ากับความยาวคลื่น ( ) • อัตราเร็วของคลื่นเสียงเป็น v ความถี่เป็น ƒ และความยาวคลื่นเป็น • ดังนั้นถ้าผู้สังเกต(ผู้ฟัง)ที่อยู่นิ่งจะได้ยินเสียงด้วยความถี่ƒ – (V0=0 ,Vf=0) • เมื่อผู้สังเกตเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกาเนิด อัตราเร็วสัมพัทธ์(อัตราเร็วของคลื่นเทียบกับ ผู้สังเกต)คือ v ’ = v + vo – โดยที่ความยาวคลื่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
  • 50. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (4) • จาก V = f เมื่อความยาวคลื่นไม่มีการ เปลี่ยนแปลง • ผู้ฟังจะได้ยินเสียงมีความถี่เป็น ƒ ’ และ จาก • นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่มากขึ้น
  • 51. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (5) • ถ้าผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิดที่อยูนิ่ง ่ • อัตราเร็วสัมพัทธ์คือ v ’ = v - vo • นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่น้อยลง เป็น
  • 52. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (6) • พิจารณา แหล่งกาเนิดคลื่น เสียงเคลื่อนที่ ในขณะที่ ผู้ฟัง อยู่นิ่ง • เมื่อแหล่งกาเนิดคลื่นเสียง เคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟังความยาว คลื่นที่ได้รับจะสั้นลง • เมื่อแหล่งกาเนิดคลื่นเสียง ในช่วงเวลา T แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ เคลื่อนที่ออกจากผู้ฟังความยาว ได้ระยะทาง VsT คลื่นที่ได้รับจะมากขึ้น
  • 53. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (7) • เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟัง – ในช่วงเวลาTแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ได้ระยะทางเป็น VsT=Vs/f • ดังนั้นผู้ฟังจะได้รับความยาวคลื่น เป็น เนื่องจา • ดังนั้น ก • นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินด้วยความถี่ที่มากขึ้น
  • 54. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (8) • เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟัง – นั่นคือผู้ฟังจะได้ยินด้วยความถี่ที่น้อยลง • จะได้ความสัมพันธ์ของความถี่ที่ผู้ฟังได้รับ(จากการรวมสมการ)เมื่อ แหล่งกาเนิดและผู้ฟังต่างก็เคลื่อนที่เข้าหากัน
  • 55. ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ ของเสียง (9) • สูตรรวมสาหรับการเคลื่อนที่ของแหล่งกาเนิดและผู้ สังเกต(ผู้ฟัง)แบบต่าง ๆ  v  vo  f vv  f  s 
  • 56. Doppler Effect ของคลื่นผิวน้า • แหล่งกาเนิดคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา • หน้าคลื่นทางด้านขวามือใกล้กันมาก ขึ้น • หน้าคลื่นทางด้านซ้ายมือไกลกันมาก ขึ้น
  • 57. ข้อพิเศษ( 1 คะแนน) จากรูป คลื่นเสียงความถี่ 1 ,200 เฮิรตซ์ เคลื่อนที่ไปทางผู้สังเกต A ด้วยความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที ถ้าผู้สังเกต A และ B อยู่นิ่งจะได้ยิน เสียงความถี่เท่าใด ถ้าเสียงมีความเร็วในอากาศขณะนั้น 350 เมตรต่อ วินาที
  • 58. คลื่นกระแทก(Shock Wave)(2 • อัตราเร็วของแหล่งกาเนิดมากกว่า อัตราเร็วของคลื่น • จาก กรวยของหน้าคลื่น ที่เกิดขึ้น จะเห็นว่า sin   v/vS – มุมนี้เรียกว่า มุมมัค (Mach angle) การทดลองเสมือนจริง
  • 59. เลขมัค(Mach Number) • อัตราส่วน vs / v คือเลขมัค • ความสัมพันธ์ระหว่าง เลขมัค กับ มุมมัค คือ vt v sin    vs t vs
  • 60. คลื่นกระแทก(Shock Wave) • กรวยของหน้าคลื่นจะถูกผลิตขึ้นเมื่อ vs > v ซึ่งก็คือ shock wave – คลื่นแบบนี้เรียกว่า supersonic • คลื่นกระแทก จะนาพลังงานไปด้วยซึ่ง พลังงานจะอยู่บนพื้นผิวของโคน • เช่นเมื่อเครื่องบินที่มี่ความเร็วเหนือเสียง บินผ่านตึกสามารถทาให้ตึกเสียหายได้ จากคลื่นกระแทก ที่เรียกว่า supersonic นั่นเอง
  • 62. ข้อพิเศษ เครื่องบินมีอัตราเร็ว 5/4 มัค จะมีอัตราเร็วเท่าใด และมุมที่ผิวสัมผัสหน้าคลื่นทา มุมกับทิศการเคลื่อนที่ของเครื่องบินเท่ากับกี่องศา ถ้าอัตราเร็วของเสียงในอากาศ ที่อุณหภูมินั้น ๆ เท่ากับ 350 เมตรต่อวินาที
  • 63. ความดังของเสียง • ความดังของเสียงสัมพันธ์กับแอมพลิจูดของคลื่นเสียงมีหน่วย เป็น(N/m2)เนื่องจากคลื่นเสียงเป็นคลื่นของความดันของ อากาศซึ่งเป็นตัวกลาง • ในการพิจารณาเรื่องความดัง จะพิจารณาถึงแหล่งกาเนิดเสียงซึ่ง ตัวเลขที่บอกถึงความดังคือ กาลังของแหล่งกาเนิด ซึ่งหมายถึง พลังงานเสียงที่แหล่งกาเนิดปล่อยออกมาใน 1s • แต่จะได้ยินเสียงดังมากหรือน้อยก็ขึ้นอยูกับระยะระหว่างเรากับ ่ แหล่งกาเนิดด้วย จึงพิจารณาถึง ความเข้มเสียง(Sound Intensity,I)
  • 64. ความเข้มเสียง (SOUND INTENSITY,I) • ความเข้ม (Intensity) คือพลังงานเสียงที่ตกบน 1 ตารางพื้นที่ (ซึ่งตั้งฉากกับคลื่นเสียง) ในเวลา 1 วินาที สมมติ พื้นที่ A ตารางเมตร, มีกาลังของเสียง P วัตต์ เพราะฉะนั้น A ตารางเมตร , มีกาลังของเสียง P/A วัตต์ เพราะฉะนั้น
  • 65. ความเข้มเสียง (SOUND INTENSITY,I) • แต่คลื่นเสียงกระจายออกมาเป็นรูปทรงกลม รอบแหล่งกาเนิดเสียงพื้นที่ ผิวทรงกลม( ) – I = ความเข้มเสียง ณ จุดใด ๆ (วัตต์/ตารางเมตร) – P = กาลังของเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง(วัตต์) – r = ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียง(เมตร)
  • 66. ความเข้มเสียง (SOUND INTENSITY,I) • ขีดความสามารถในการได้ยิน – ความเข้มของเสียงน้อยที่สุดที่ทาให้หูคนเริ่มได้ยิน(นามาใช้อ้างอิง) – ความเข้มสูงสุดที่ทาให้คนฟังได้ยินแล้วเริ่มปวดแก้วหู • ความเข้มสัมพัทธ์(Relative Intensity) – ความเข้มใดๆเมื่อเทียบกับความเข้มต่าสุดที่คนเริ่มได้ยิน I Ir  I0
  • 67. ความเข้มเสียง (SOUND INTENSITY,I) • ระดับความเข้มเสียง ใช้สัญลักษณ์ คือสเกลที่นักวิทยาศาสตร์สร้าง ขึ้นเพื่อบอกความดังของเสียงให้ใกล้เคียงกับความรู้สึกของคนมากขึ้น • เนื่องจากความเข้มเสียงที่มนุษย์ได้ยินอยู่ในช่วงกว้างมากตั้งแต่ 10-12 -1 วัตต์/ตารางเมตร เพื่อความสะดวกจึงกาหนดความเข้มเสียงขึ้นใหม่ เป็น ระดับความเข้มเสียง – ระดับความเข้มเสียง เป็นการเปรียบเทียบความเข้มเสียง กับความเข้ม 10-12 วัตต์/ตารางเมตร และพิจารณาเป็น log ฐานสิบ
  • 68. ความเข้มเสียง (SOUND INTENSITY,I) I • สูตรระดับความเข้มเสียง   log I0 – ระดับความเข้ม หน่วยเป็น เบล(Bel) I   10 log – ระดับความเข้ม หน่วยเป็น เดซิเบล(dB) I0 – คนธรรมดารับฟังเสียงได้อย่างน้อยต้องมีความเข้ม 10-12 วัตต์/ ตารางเมตร , มากที่สุดมีความเข้มไม่เกิน 1 วัตต์/ตารางเมตร – เทียบเป็นระดับความเข้ม, เมื่อเสียงค่อยที่สุด ได้ 0 เดซิเบล – เทียบเป็นระดับความเข้ม, เมื่อเสียงดังที่สุด ได้ 120 เดซิเบล – ดังนั้น คนธรรมดาฟังเสียงได้ในช่วงระดับเสียงจาก 0 – 120 เดซิเบล
  • 69. ข้อพิเศษ 1. จงหาความเข้มของเสียง เมื่อเสียงมีระดับความเข้มเสียง 50 เดซิเบล 2. ที่จุดซึ่งมีความเข้มเสียง 1.75 x 1010 จะมีระดับความเข้มเสียง เท่าใด 3. ตั้งเครื่องวัดระดับความเข้มเสียงห่างจากรถยนต์ 10 เมตร เมื่อเร่ง เครื่องเต็มที่วัดระดับความเข้มเสียงได้ 100 เดซิเบล กาลังเสียงของ จักรยานยนต์นี้เป็นเท่าใด( 1 คะแนน)
  • 70. การบ้าน 1. การที่จะได้ยินเสียงแต่ละครั้งต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง 2. ถ้าเกิดว่ามีองค์ประกอบครบตามข้อที่ 1. จะได้ยินเสียงหรือไม่ 3. เสียงดัง – ค่อย และเสียงทุ้ม – แหลม ขึ้นอยู่กับค่าใดของคลื่นเสียง 4. หูแบ่งเป็นกี่ส่วน แต่ละส่วนมีองค์ประกอบอะไรบ้าง และหูทางาน อย่างไร 5. เปียโน และ ไวโอลิน เล่นโน้ต Do พร้อมกัน (256 Hz) ผู้ฟังจะบอกได้ว่า เป็นเสียงดนตรีชนิดใด เพราะเหตุใด
  • 71. หูและการได้ยินของมนุษย์ • หูทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน และ การทรง ตัว แบ่งออกเป็น – หูส่วนนอก (1) ใบหู (2) ช่องรูหู – หูส่วนกลาง 3)เยื่อแก้วหู (4) กระดูกค้อน (5) กระดูกทั่ง (6)กระดูกโกลน (7) ท่อยูเทเชียน – หูส่วนใน (8) กระดูกครึ่งวงกลม 3 ชิ้น (9) ประสาทเกี่ยวกับ การทรงตัว (10)ประสาทเกี่ยวกับการได้ยิน (11)กระดูกรูปหอย (12)ส่วนคอ
  • 72. คุณภาพของเสียง • เปียนโน และ ไวโอลิน เล่นโน้ต Do พร้อมกัน (256 Hz) ผู้ฟังจะบอกได้ ว่า เป็นเสียงดนตรีชนิดใด เพราะ คุณภาพเสียงต่างกัน – ถามว่าต่างกันอย่างไร – (แนวคิด) คุณภาพเสียงต่างกัน • เพราะเสียงที่มีความถี่มูลฐานเท่ากัน แต่ จานวน Higher harmonic (ฮาโมนิกอื่น ๆ ที่มี ความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐาน) แตกต่างกัน • และ relative amplitude (แอมพลิจูดเปรียบเทียบ) ระหว่างเสียงความถี่มูลฐาน กับ Higher harmonic ในแต่ละกรณีแตกต่างกัน
  • 73. คุณภาพของเสียง • ตัวอย่าง – เสียง Do จากเปียโน กับ ไวโอลิน มีความถี่เท่ากัน คือ 256 Hz ทาไมเรา จึงฟังเสียงไม่เหมือนกัน – ตอบ • เพราะว่า เสียง Do จะมี ฮาร์มอนิกอื่น ๆ ปนออกมาด้วย แอมพลิจูดที่ไม่เท่ากัน แอมพลิจูด แอมพลิจูด เสียงโด เสียงโด เปียโน ไวโอลิน ความถี่ ความถี่ C C ’ C’’ C’’’’ C C ’ C’’ C’’’ C’’’’