SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น
1. คลื่นกล
การกระเพื่อมขึ้นลงของน้าในสระ เสียงของเครื่องดนตรี การกระตุกเชือกขึ้นลงเมื่อเชือกขึงตึง
ในแนวราบ เหล่านี้เป็นตัวอย่างของปรากฏการณ์คลื่น เช่น รูปที่ 4.1
รูปที่ 4.1 คลื่นน้า
แสดงให้เห็นถึงคลื่นน้าที่เกิดจากการทิ้งวัตถุให้ตกกระแทกผิวน้า เราจะเห็นการกระเพื่อมขึ้น
ลงของผิวน้าแผ่กระจายออกไป
คลื่นสามารถแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
ก. คลื่นกล เป็นคลื่นที่เกิดในตัวกลางยืดหยุ่น (ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ) โดยเกิด
จากการใช้แรงกระตุ้น สามารถถ่ายโอนพลังงานกลได้ เช่น คลื่นน้า คลื่นเชือก คลื่นเสียง เป็นต้น เรา
สามารถพิจารณาคลื่นกลโดยดูการเคลื่อนที่ของตัวกลางซึ่งจะทาให้แบ่งคลื่นกลเป็น 2 ชนิด ดังนี้
- คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตั้งฉากกับการสั่นของตัวกลาง ได้แก่
คลื่นเชือก คลื่นน้า เป็นต้น ดังรูปที่ 2 ถ้าเราดึงเชือกแล้วกระตุกเชือกขึ้นลงในแนวดิ่ง (แกน Y) จะเกิด
คลื่นเชือกเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว v จะเห็นว่ามวลของเชือกเล็ก ๆ เช่น ตรงจุด A สั่นขึ้นลงในแกน
Y ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
รูปที่ 4.2 ลักษณะสาคัญของคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว
- คลื่นตามยาว เป็นคลื่นที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของ
ตัวกลาง ได้แก่ คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น ดังรูปที่ 2 ถ้าเราอัดและยืดสปริงในแนวแกน X จะเกิด
คลื่นในสปริง ลักษณะเป็นช่วงอัดและขยายเคลื่อนที่ออกไปในสปริงด้วยความเร็ว v จุดหนึ่งบนสปริง เช่น
ที่จุด B จะสั่นกลับไปกลับมาในแนวเดียวกันกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
ข. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เป็นคลื่นที่เกิดจากการเหนี่ยนาของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กสลับ
ต่อเนื่องกันไปและเคลื่อนที่ไปโดยไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลาง ด้วยอัตราเร็วสูงมากประมาณ 3108
เมตร
ต่อวินาที ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศน์ รังสีอินฟาเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสี
เอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจัดเป็นคลื่นตามขวางเพราะมันสามารถเกิดปรากฏการณ์ที่
เรียกว่า โพลาไรเซชัน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้เฉพาะกับคลื่นตามขวางเท่านั้น คลื่นตามยาวไม่
สามารถเกิดโพลาไรเซชัน
2. คลื่นผิวน้า
ก. กล่องคลื่น เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการศึกษาสมบัติต่าง ๆ ของคลื่นผิวน้า มีโครงสร้างและ
ส่วนประกอบสาคัญดังรูปที่ 3 มอเตอร์จะทาหน้าที่กระตุ้นผิวน้าให้กระเพื่อมเกิดคลื่นผิวน้าอย่างต่อเนื่อง
เคลื่อนที่ออกไป ถาดคลื่นทาด้วยแผ่นโปร่งใสเมื่อฉายแสงผ่านคลื่นผิวน้า แสงจะเดินทางหักเหผ่านน้าไป
ปรากฏบนฉากรับแสง ด้านล่างเห็นเป็นแถบมืดและแถบสว่างเคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกับคลื่น
รูปที่ 3 กล่องคลื่น
ข. นิยามเกี่ยวกับคลื่น
รูปที่ 4.4 คลื่นน้า
การกระจัด : ระยะจากระดับน้าปกติถึงตาแหน่งบนคลื่น เช่น จุด E มีการกระจัดเท่ากับ +x
(+แปลว่าจุด E แปลว่าจุด E อยู่เหนือระดับน้าปกติ) จุด F มีการกระจัดเท่ากับ -y (- แปลว่าจุด F อยู่ต่า
กว่าระดับน้าปกติ)
สันคลื่น : ตาแหน่งสูงสุดของคลื่น เช่น จุด A, B เป็นต้น
ห้องคลื่น : ตาแหน่งต่าสุดของคลื่น เช่น จุด C, D เป็นต้น
แอมพลิจูด : ความสูงของสันคลื่นหรือท้องคลื่นวัดจากระดับน้าปกติ
ความยาวคลื่น () ระยะระหว่างสันคลื่นถัดกัน เช่น AB หรือระยะระหว่างท้องคลื่นถัดกัน
เช่น CD แทนด้วย 
ความถี่ (f) : จานวนรอบของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาหรือจานวนคลื่น ( = 1 ลูก
คลื่น) ที่เคลื่อนที่ผ่านตาแหน่งหนึ่งไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz)
คาบ (T) : เวลาที่ใช้ในการคลื่นที่ครบ 1 รอบ หรือ 1 ความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น วินาที
…….(1-1)
อัตราเร็วคลื่น(v)ระยะทางที่สันคลื่นเคลื่อนที่ไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที
…….(1-2)
เฟส : คาที่ใช้กาหนดตาแหน่งของการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะเป็นรอบบอกเป็นมุม เช่น ดังรูปที่
5 จุด a, b, c, d, e บนคลื่นมีเฟส 0, 90, 180, 270, และ 360 เป็นต้น
รูปที่ 4.5
เฟส 0 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 0 จะอยู่บนระดับปกติ และจะเคลื่อนที่ขึ้นเมื่อเวลาผ่าน
ไป เช่น จุด a ในรูปที่ 5
เฟส 90 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 90 จะอยู่บนสันคลื่น และจะเคลื่อนที่ลงเมื่อเวลาผ่านไป
เช่น จุด b ในรูปที่ 5
เฟส 180 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 180 จะอยู่บนระดับปกติ และจะเคลื่อนที่ลงเมื่อเวลา
ผ่านไป เช่น จุด c ในรูปที่ 5
T = 
f
v = f
เฟส 270 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 270 จะอยู่ที่ท้องคลื่น และจะเคลื่อนที่ขึ้นเมื่อเวลาผ่าน
ไป เช่น จุด d ในรูปที่ 5
เฟส 360 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 360 จะเหมือน เฟส 0 เช่น จุด e ในรูปที่ 4.5
เฟสตรงกัน : จุดบนคลื่นคู่ใดที่มีเฟสตรงกัน จะต้อง
- การกระจัดของจุดคู่นั้นเท่ากัน
- เคลื่อนที่ทางเดียวกัน
- อยู่ห่างกันเป็นระยะ n;n = 1, 2, 3,…
เฟสตรงข้ามกัน : จุดบนคลื่นคู่ใหม่ที่มีเฟสตรงข้ามกัน จะต้อง
- การกระจัดเท่ากันแต่เครื่องหมายตรงข้าม
- เคลื่อนที่ตรงข้ามกัน
- อยู่ห่างกันเป็นระยะ n 

 

1
2
;n = 1, 2, 3,…
หน้าคลื่น : แนวของสันคลื่นหรือห้องคลื่นซึ่งมีเฟสตรงกัน แนวหน้าคลื่นต้องตั้งฉากกับทิศ
ฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเสมอ
ค. การหาเฟสของจุดบนคลื่น พิจารณารูปที่ 6 เป็นคลื่นน้าจุด x มีเฟส 0
รูปที่ 4. 6
เราต้องการหาว่าจุด Y ซึ่งอยู่บนคลื่นห่างจากจุด X ออกไปเป็นระยะ x จะมีเฟสกี่องศา เรา
สามารถคานวณได้จากสมการ (1-3)
……...(1-3)
เมื่อ  เป็นเฟสของจุดบนคลื่นที่จุด Y มีหน่วยเป็น เรเดียน
 เป็นความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น เมตร
x เป็นระยะของจุดบนคลื่นจากจุดที่มีเฟสเป็น 0 มีหน่วยเป็น เมตร
 = n 






2
2
p
l
ตัวอย่างที่ 1 คลื่นน้าที่กาหนดให้ดังรูป ถ้า A มีเฟสเท่ากับ 0 องศา แล้วจุด B จะมีเฟสเท่าไร และคลื่น
เคลื่อนที่ไปทางไหน
วิธีทา ตอนแรก จากรูปจะได้ว่า  = 4m
จาก  = 2 

x
B = เฟสของจุด B; B = 2
4
2 8

  
 B = 360
4
2 8

   = 252
นั่นคือ เฟสของจุด B มีค่า 252 องศา
ตอนหลัง เนื่องจาก A = เฟสของจุด A = 0 คลื่นจริงเคลื่อนที่จากขวาไปซ้ายดังนี้
เพราะ A มี A = 0 แสดงว่าในเวลาต่อมา A จะต้องเคลื่อนที่ขึ้น การที่ A จะต้องเคลื่อนที่
ขึ้นทาให้คลื่นตั้งต้นต้องขยับจากขวาไปซ้าย เพื่อให้ A เคลื่อนมาที่ A
นั่นคือ คลื่นเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย
ตัวอย่างที่ 2 ถ้าคลื่นเชือกมีความยาวคลื่น 10 เซนติเมตร มีความถี่ 50 รอบต่อวินาที คลื่นจะมีความเร็ว
เท่าไร
วิธีทา จาก v = f
v = (10  10-2
)(50) = 5 m/s
นั่นคือ ความเร็วคลื่นเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที
ตัวอย่างที่ 3 จากรูป คลื่นน้าจุดใดบ้างที่เฟสตรงกับจุด AและB
วิธีทา จุด A
จุดที่มีเฟสตรงกับจุด A คือ E, I และ H เพราะห่างจากจุด A เท่ากับ , 2 และ 3
ตามลาดับ และมีการกระจัดจากระดับสมดุลเท่ากันหมด
จุด B
จุดที่มีเฟสตรงกับ B คือ F, J, N เพราะเหตุผลเดียวกับจุด A
นั่นคือ จุดที่มีเฟสตรงกับจุด A คือ E, I และ H
จุดที่มีเฟสตรงกับจุด B คือ F, J และ N
ตัวอย่างที่ 4 เชือกยาวมากเส้นหนึ่งกาลังสั่นเมื่อมองเพียงส่วนหนึ่งซึ่งยาว 3.0 เมตร เห็นคลื่นในเส้น
เชือกดังรูป ถ้าคลื่นรูปบนและรูปล่างเวลาต่างกัน 2 วินาที จงหาว่าความเร็วของคลื่นมีค่าน้อยที่สุดเท่าไร
วิธีทา จากรูป ความเร็วของคลื่นที่มีค่าน้อยที่สุดจะเป็นความเร็วคลื่นหรือสันคลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 m
ในเวลา 2 s (ให้สังเกตสันคลื่นซ้ายมือสุดของคลื่นรูปบนกับสันคลื่นของคลื่นรูปล่าง จะมีระยะ
ต่างกัน 1 m)
ดังนั้น ถ้า v เป็นความเร็วของคลื่นน้อยที่สุดจะได้
v = 1
2
= 0.5 m/s
นั่นคือ ความเร็วของคลื่นมีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 0.5 เมตรต่อวินาที
ตัวอย่างที่ 5 จากรูปเป็นคลื่นน้าซึ่งกาลังเคลื่อนที่ไปบนผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 0.5 เมตรต่อวินาที จงคานวณ
ความถี่ของคลื่นน้า
วิธีทา หา  เมื่อ  เป็นความยาวคลื่นของคลื่นน้า จากรูปที่โจทย์กาหนดให้จะเห็นว่า
3 + 
2
= 70
7
2

= 70
  = 20 cm
หา f เมื่อ f เป็นความถี่ของคลื่นน้า
จาก v = f
f = v

= 0 5
20 10 2

  = 2.5 Hz
นั่นคือ ความถี่ของคลื่นน้ามีค่า 2.5 เฮิรตซ์
ตัวอย่างที่ 6 คลื่นน้ากาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือด้วยความเร็ว 0.5 เมตรต่อวินาที ดังรูป ถ้าขณะนั้นจุด P
มีเฟส 45 องศา ถามว่าอย่างเร็วที่สุดกี่วินาที P จึงจะถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่น
วิธีทา จากรูป จุด P จะต้องถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่นซึ่งมี เฟส 90
ดังนั้น จุดที่ P จะถูกแกว่งขึ้นไปมีเฟสต่างจากจุด P เท่ากับ 90 - 45 = 45
หา f เมื่อ f เป็นความถี่ของคลื่นน้า
จาก v = f
 f = v
l
= 0 5
4

= 0.125 Hz
หา T เมื่อ T เป็นคาบของคลื่นน้า
จาก T = 1
f
 T = 1
0125
= 8 s
หา t เมื่อ t เป็นเวลาที่น้อยที่สุดที่จุด P จะถูกแกว่งขึ้นไปที่สันคลื่น
จุด P แกว่ง 360 จะกินเวลาเท่ากับ 8 s
จุด P แกว่ง 45 จะกินเวลาเท่ากับ 8 45
360
 
 = 1s
นั่นคือ P จะถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่นใช้เวลาน้อยที่สุด 1 วินาที
ง. ชนิดของคลื่นแบ่งตามลักษณะเฉพาะตัว
คลื่นดลรูปวงกลม
(circular pulse)
คลื่นแบบนี้จะมีแนวหน้าคลื่นเพียงแนวเดียวเป็นรูปวงกลมแผ่กระจายออกไป
คลื่นดลเส้นตรง
(straight pulse)
คลื่นแบบนี้จะมีแนวหน้าคลื่นเพียงแนวเดียวเป็นเส้นตรงแผ่กระจายออกไป
คลื่นต่อเนื่อง
(continuous wave)
คลื่นแบบนี้จะถูกส่งออกมาจากแหล่งกาเนิดอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
อาจมีลักษณะเป็นวงกลมหรือเส้นตรงได้
3. การซ้อนทับของคลื่น
ถ้ามีคลื่นสองขบวนวิ่งสวนกันในตัวกลางเดียวกัน เช่น คลื่นดลที่มีแอมพลิจูด A 1 และ A 2
ชี้ขึ้นทางเดียวกัน ดังรูปที่ 4.7 (ก) เมื่อคลื่นทั้งสองเดินทางมาพบกันจะเกิดการรวมคลื่น คลื่นรวมที่จุดรวม
คลื่นจะมีแอมพลิจูด A 1 + A 2 ดังรูปที่ 4.7 (ข) เมื่อเวลาผ่านไปคลื่นทั้งสองยังคงมีรูปร่างดังเดิมและวิ่ง
ในทิศทางเดิม แต่คราวนี้จะวิ่งจากกันไป ดังรูปที่ 4.7 (ค)
ถ้าคลื่นสองขบวนมีแอมพลิจูดชี้ตรงข้ามกัน เช่น -A 1 กับ A 2 ดังรูป 4.8 (ก) การรวมกันที่
จะดรวมคลื่นแอมพลิจูดจะหักล้างกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะลดลง หลังจากนั้นคลื่นแต่ละขบวนจะวิ่ง
ไปในทิศทางเดิมแต่แยกจากัน ดูรูปที่ 4.8
รูปที่ 4. 7 รูปที่ 4.8
ตัวอย่างที่ 7 คลื่นดลสี่เหลี่ยม P และ Q กาลังเคลื่อนที่เข้าหากันดังรูป โดยที่ 2b และb เป็นแอมพลิจูด
ของคลื่น P และ Q ตามลาดับ จงเขียนภาพของคลื่นรวมเมื่อจุด P และ Q ทับกัน
วิธีทา
นั่นคือ ภาพของคลื่นรวม คือ คลื่นรูปล่าง แอมพลิจูดของคลื่นรวมสูงสุด 3b
ตัวอย่างที่ 8 คลื่นดลสองถูกเคลื่อนที่เข้าหากันในเส้นเชือก ลักษณะของเชือกที่เวลาหนึ่งเป็นไปดังรูป (ก)
แต่เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที ลักษณะของเชือกเป็นดังรูป (ข) จงคานวณความเร็วของ
คลื่นดลทั้งสอง
วิธีทา การที่เรามองไม่เห็นคลื่นดลในรูป (ข) แสดงว่าคลื่นดลสองลูกนี้กาลังอยู่ในลักษระที่แอมพลิจูด
หักล้างกันพอดีมันจะเกิดอย่างนี้ได้แสดงว่าคลื่นดลจะต้องเดินทางเป็นระยะ 2.5 m ทั้งคู่ ขอให้ดู
รูปประกอบ
ดังนั้น ถ้า v เป็นความเร็วของคลื่นดลทั้งสอง จะได้
v = 2 5
05


= 5 m/s
นั่นคือ ความเร็วคลื่นเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที
********************************************************************************

More Related Content

What's hot

สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 

What's hot (18)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
P11
P11P11
P11
 

Similar to E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0b8b4e0b882e0b8ade0b887e0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899

งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Watcharinz
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 

Similar to E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0b8b4e0b882e0b8ade0b887e0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 (20)

งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
20012554 1005492525
20012554 100549252520012554 1005492525
20012554 1005492525
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 3 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
 

More from มะดาโอะ มะเซ็ง

57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-457840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4มะดาโอะ มะเซ็ง
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 

More from มะดาโอะ มะเซ็ง (20)

Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
Ast.c2560.5tp
Ast.c2560.5tpAst.c2560.5tp
Ast.c2560.5tp
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-457840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
57840536 แนวข-อสอบครูผู-ช-วย-ความรอบรู-ชุดที-1-4
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 4 e0b980e0b8aae0b8b5e0b8a2e0b887e0b981e0b8a5e0...
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 2 e0b8aae0b8a1e0b89ae0b8b1e0b895e0b8b4e0b882e0...
 
____ o-net _____ _.6 ___ 1
  ____ o-net _____ _.6 ___ 1  ____ o-net _____ _.6 ___ 1
____ o-net _____ _.6 ___ 1
 
__ 05 ___________ onet _6 __________2558
  __ 05 ___________ onet _6  __________2558  __ 05 ___________ onet _6  __________2558
__ 05 ___________ onet _6 __________2558
 
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
 
Physics test 1
Physics test 1Physics test 1
Physics test 1
 
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีpptUnit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
 
Unit1 1.1โครงสร้างppt1
Unit1 1.1โครงสร้างppt1Unit1 1.1โครงสร้างppt1
Unit1 1.1โครงสร้างppt1
 
Unit1 1.2สินามิppt1
Unit1 1.2สินามิppt1Unit1 1.2สินามิppt1
Unit1 1.2สินามิppt1
 
7 q productivity
7 q productivity7 q productivity
7 q productivity
 
3
33
3
 

E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0b8b4e0b882e0b8ade0b887e0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น 1. คลื่นกล การกระเพื่อมขึ้นลงของน้าในสระ เสียงของเครื่องดนตรี การกระตุกเชือกขึ้นลงเมื่อเชือกขึงตึง ในแนวราบ เหล่านี้เป็นตัวอย่างของปรากฏการณ์คลื่น เช่น รูปที่ 4.1 รูปที่ 4.1 คลื่นน้า แสดงให้เห็นถึงคลื่นน้าที่เกิดจากการทิ้งวัตถุให้ตกกระแทกผิวน้า เราจะเห็นการกระเพื่อมขึ้น ลงของผิวน้าแผ่กระจายออกไป คลื่นสามารถแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ ก. คลื่นกล เป็นคลื่นที่เกิดในตัวกลางยืดหยุ่น (ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ) โดยเกิด จากการใช้แรงกระตุ้น สามารถถ่ายโอนพลังงานกลได้ เช่น คลื่นน้า คลื่นเชือก คลื่นเสียง เป็นต้น เรา สามารถพิจารณาคลื่นกลโดยดูการเคลื่อนที่ของตัวกลางซึ่งจะทาให้แบ่งคลื่นกลเป็น 2 ชนิด ดังนี้ - คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นตั้งฉากกับการสั่นของตัวกลาง ได้แก่ คลื่นเชือก คลื่นน้า เป็นต้น ดังรูปที่ 2 ถ้าเราดึงเชือกแล้วกระตุกเชือกขึ้นลงในแนวดิ่ง (แกน Y) จะเกิด คลื่นเชือกเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว v จะเห็นว่ามวลของเชือกเล็ก ๆ เช่น ตรงจุด A สั่นขึ้นลงในแกน Y ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
  • 2. รูปที่ 4.2 ลักษณะสาคัญของคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว - คลื่นตามยาว เป็นคลื่นที่ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของ ตัวกลาง ได้แก่ คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น ดังรูปที่ 2 ถ้าเราอัดและยืดสปริงในแนวแกน X จะเกิด คลื่นในสปริง ลักษณะเป็นช่วงอัดและขยายเคลื่อนที่ออกไปในสปริงด้วยความเร็ว v จุดหนึ่งบนสปริง เช่น ที่จุด B จะสั่นกลับไปกลับมาในแนวเดียวกันกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ข. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เป็นคลื่นที่เกิดจากการเหนี่ยนาของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กสลับ ต่อเนื่องกันไปและเคลื่อนที่ไปโดยไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลาง ด้วยอัตราเร็วสูงมากประมาณ 3108 เมตร ต่อวินาที ได้แก่ คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศน์ รังสีอินฟาเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต รังสี เอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจัดเป็นคลื่นตามขวางเพราะมันสามารถเกิดปรากฏการณ์ที่ เรียกว่า โพลาไรเซชัน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้เฉพาะกับคลื่นตามขวางเท่านั้น คลื่นตามยาวไม่ สามารถเกิดโพลาไรเซชัน 2. คลื่นผิวน้า ก. กล่องคลื่น เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการศึกษาสมบัติต่าง ๆ ของคลื่นผิวน้า มีโครงสร้างและ ส่วนประกอบสาคัญดังรูปที่ 3 มอเตอร์จะทาหน้าที่กระตุ้นผิวน้าให้กระเพื่อมเกิดคลื่นผิวน้าอย่างต่อเนื่อง เคลื่อนที่ออกไป ถาดคลื่นทาด้วยแผ่นโปร่งใสเมื่อฉายแสงผ่านคลื่นผิวน้า แสงจะเดินทางหักเหผ่านน้าไป ปรากฏบนฉากรับแสง ด้านล่างเห็นเป็นแถบมืดและแถบสว่างเคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกับคลื่น
  • 3. รูปที่ 3 กล่องคลื่น ข. นิยามเกี่ยวกับคลื่น รูปที่ 4.4 คลื่นน้า การกระจัด : ระยะจากระดับน้าปกติถึงตาแหน่งบนคลื่น เช่น จุด E มีการกระจัดเท่ากับ +x (+แปลว่าจุด E แปลว่าจุด E อยู่เหนือระดับน้าปกติ) จุด F มีการกระจัดเท่ากับ -y (- แปลว่าจุด F อยู่ต่า กว่าระดับน้าปกติ) สันคลื่น : ตาแหน่งสูงสุดของคลื่น เช่น จุด A, B เป็นต้น ห้องคลื่น : ตาแหน่งต่าสุดของคลื่น เช่น จุด C, D เป็นต้น แอมพลิจูด : ความสูงของสันคลื่นหรือท้องคลื่นวัดจากระดับน้าปกติ
  • 4. ความยาวคลื่น () ระยะระหว่างสันคลื่นถัดกัน เช่น AB หรือระยะระหว่างท้องคลื่นถัดกัน เช่น CD แทนด้วย  ความถี่ (f) : จานวนรอบของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาหรือจานวนคลื่น ( = 1 ลูก คลื่น) ที่เคลื่อนที่ผ่านตาแหน่งหนึ่งไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz) คาบ (T) : เวลาที่ใช้ในการคลื่นที่ครบ 1 รอบ หรือ 1 ความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น วินาที …….(1-1) อัตราเร็วคลื่น(v)ระยะทางที่สันคลื่นเคลื่อนที่ไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที …….(1-2) เฟส : คาที่ใช้กาหนดตาแหน่งของการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะเป็นรอบบอกเป็นมุม เช่น ดังรูปที่ 5 จุด a, b, c, d, e บนคลื่นมีเฟส 0, 90, 180, 270, และ 360 เป็นต้น รูปที่ 4.5 เฟส 0 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 0 จะอยู่บนระดับปกติ และจะเคลื่อนที่ขึ้นเมื่อเวลาผ่าน ไป เช่น จุด a ในรูปที่ 5 เฟส 90 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 90 จะอยู่บนสันคลื่น และจะเคลื่อนที่ลงเมื่อเวลาผ่านไป เช่น จุด b ในรูปที่ 5 เฟส 180 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 180 จะอยู่บนระดับปกติ และจะเคลื่อนที่ลงเมื่อเวลา ผ่านไป เช่น จุด c ในรูปที่ 5 T =  f v = f
  • 5. เฟส 270 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 270 จะอยู่ที่ท้องคลื่น และจะเคลื่อนที่ขึ้นเมื่อเวลาผ่าน ไป เช่น จุด d ในรูปที่ 5 เฟส 360 : จุดบนคลื่นที่มีเฟสเป็น 360 จะเหมือน เฟส 0 เช่น จุด e ในรูปที่ 4.5 เฟสตรงกัน : จุดบนคลื่นคู่ใดที่มีเฟสตรงกัน จะต้อง - การกระจัดของจุดคู่นั้นเท่ากัน - เคลื่อนที่ทางเดียวกัน - อยู่ห่างกันเป็นระยะ n;n = 1, 2, 3,… เฟสตรงข้ามกัน : จุดบนคลื่นคู่ใหม่ที่มีเฟสตรงข้ามกัน จะต้อง - การกระจัดเท่ากันแต่เครื่องหมายตรงข้าม - เคลื่อนที่ตรงข้ามกัน - อยู่ห่างกันเป็นระยะ n      1 2 ;n = 1, 2, 3,… หน้าคลื่น : แนวของสันคลื่นหรือห้องคลื่นซึ่งมีเฟสตรงกัน แนวหน้าคลื่นต้องตั้งฉากกับทิศ ฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเสมอ ค. การหาเฟสของจุดบนคลื่น พิจารณารูปที่ 6 เป็นคลื่นน้าจุด x มีเฟส 0 รูปที่ 4. 6 เราต้องการหาว่าจุด Y ซึ่งอยู่บนคลื่นห่างจากจุด X ออกไปเป็นระยะ x จะมีเฟสกี่องศา เรา สามารถคานวณได้จากสมการ (1-3) ……...(1-3) เมื่อ  เป็นเฟสของจุดบนคลื่นที่จุด Y มีหน่วยเป็น เรเดียน  เป็นความยาวคลื่น มีหน่วยเป็น เมตร x เป็นระยะของจุดบนคลื่นจากจุดที่มีเฟสเป็น 0 มีหน่วยเป็น เมตร  = n        2 2 p l
  • 6. ตัวอย่างที่ 1 คลื่นน้าที่กาหนดให้ดังรูป ถ้า A มีเฟสเท่ากับ 0 องศา แล้วจุด B จะมีเฟสเท่าไร และคลื่น เคลื่อนที่ไปทางไหน วิธีทา ตอนแรก จากรูปจะได้ว่า  = 4m จาก  = 2   x B = เฟสของจุด B; B = 2 4 2 8      B = 360 4 2 8     = 252 นั่นคือ เฟสของจุด B มีค่า 252 องศา ตอนหลัง เนื่องจาก A = เฟสของจุด A = 0 คลื่นจริงเคลื่อนที่จากขวาไปซ้ายดังนี้ เพราะ A มี A = 0 แสดงว่าในเวลาต่อมา A จะต้องเคลื่อนที่ขึ้น การที่ A จะต้องเคลื่อนที่ ขึ้นทาให้คลื่นตั้งต้นต้องขยับจากขวาไปซ้าย เพื่อให้ A เคลื่อนมาที่ A นั่นคือ คลื่นเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย ตัวอย่างที่ 2 ถ้าคลื่นเชือกมีความยาวคลื่น 10 เซนติเมตร มีความถี่ 50 รอบต่อวินาที คลื่นจะมีความเร็ว เท่าไร วิธีทา จาก v = f v = (10  10-2 )(50) = 5 m/s นั่นคือ ความเร็วคลื่นเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที
  • 7. ตัวอย่างที่ 3 จากรูป คลื่นน้าจุดใดบ้างที่เฟสตรงกับจุด AและB วิธีทา จุด A จุดที่มีเฟสตรงกับจุด A คือ E, I และ H เพราะห่างจากจุด A เท่ากับ , 2 และ 3 ตามลาดับ และมีการกระจัดจากระดับสมดุลเท่ากันหมด จุด B จุดที่มีเฟสตรงกับ B คือ F, J, N เพราะเหตุผลเดียวกับจุด A นั่นคือ จุดที่มีเฟสตรงกับจุด A คือ E, I และ H จุดที่มีเฟสตรงกับจุด B คือ F, J และ N ตัวอย่างที่ 4 เชือกยาวมากเส้นหนึ่งกาลังสั่นเมื่อมองเพียงส่วนหนึ่งซึ่งยาว 3.0 เมตร เห็นคลื่นในเส้น เชือกดังรูป ถ้าคลื่นรูปบนและรูปล่างเวลาต่างกัน 2 วินาที จงหาว่าความเร็วของคลื่นมีค่าน้อยที่สุดเท่าไร
  • 8. วิธีทา จากรูป ความเร็วของคลื่นที่มีค่าน้อยที่สุดจะเป็นความเร็วคลื่นหรือสันคลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 m ในเวลา 2 s (ให้สังเกตสันคลื่นซ้ายมือสุดของคลื่นรูปบนกับสันคลื่นของคลื่นรูปล่าง จะมีระยะ ต่างกัน 1 m) ดังนั้น ถ้า v เป็นความเร็วของคลื่นน้อยที่สุดจะได้ v = 1 2 = 0.5 m/s นั่นคือ ความเร็วของคลื่นมีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 0.5 เมตรต่อวินาที ตัวอย่างที่ 5 จากรูปเป็นคลื่นน้าซึ่งกาลังเคลื่อนที่ไปบนผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 0.5 เมตรต่อวินาที จงคานวณ ความถี่ของคลื่นน้า วิธีทา หา  เมื่อ  เป็นความยาวคลื่นของคลื่นน้า จากรูปที่โจทย์กาหนดให้จะเห็นว่า 3 +  2 = 70 7 2  = 70   = 20 cm หา f เมื่อ f เป็นความถี่ของคลื่นน้า จาก v = f f = v  = 0 5 20 10 2    = 2.5 Hz นั่นคือ ความถี่ของคลื่นน้ามีค่า 2.5 เฮิรตซ์ ตัวอย่างที่ 6 คลื่นน้ากาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือด้วยความเร็ว 0.5 เมตรต่อวินาที ดังรูป ถ้าขณะนั้นจุด P มีเฟส 45 องศา ถามว่าอย่างเร็วที่สุดกี่วินาที P จึงจะถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่น
  • 9. วิธีทา จากรูป จุด P จะต้องถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่นซึ่งมี เฟส 90 ดังนั้น จุดที่ P จะถูกแกว่งขึ้นไปมีเฟสต่างจากจุด P เท่ากับ 90 - 45 = 45 หา f เมื่อ f เป็นความถี่ของคลื่นน้า จาก v = f  f = v l = 0 5 4  = 0.125 Hz หา T เมื่อ T เป็นคาบของคลื่นน้า จาก T = 1 f  T = 1 0125 = 8 s หา t เมื่อ t เป็นเวลาที่น้อยที่สุดที่จุด P จะถูกแกว่งขึ้นไปที่สันคลื่น จุด P แกว่ง 360 จะกินเวลาเท่ากับ 8 s จุด P แกว่ง 45 จะกินเวลาเท่ากับ 8 45 360    = 1s นั่นคือ P จะถูกแกว่งขึ้นไปอยู่ที่สันคลื่นใช้เวลาน้อยที่สุด 1 วินาที ง. ชนิดของคลื่นแบ่งตามลักษณะเฉพาะตัว คลื่นดลรูปวงกลม (circular pulse) คลื่นแบบนี้จะมีแนวหน้าคลื่นเพียงแนวเดียวเป็นรูปวงกลมแผ่กระจายออกไป คลื่นดลเส้นตรง (straight pulse) คลื่นแบบนี้จะมีแนวหน้าคลื่นเพียงแนวเดียวเป็นเส้นตรงแผ่กระจายออกไป คลื่นต่อเนื่อง (continuous wave) คลื่นแบบนี้จะถูกส่งออกมาจากแหล่งกาเนิดอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา อาจมีลักษณะเป็นวงกลมหรือเส้นตรงได้ 3. การซ้อนทับของคลื่น ถ้ามีคลื่นสองขบวนวิ่งสวนกันในตัวกลางเดียวกัน เช่น คลื่นดลที่มีแอมพลิจูด A 1 และ A 2 ชี้ขึ้นทางเดียวกัน ดังรูปที่ 4.7 (ก) เมื่อคลื่นทั้งสองเดินทางมาพบกันจะเกิดการรวมคลื่น คลื่นรวมที่จุดรวม คลื่นจะมีแอมพลิจูด A 1 + A 2 ดังรูปที่ 4.7 (ข) เมื่อเวลาผ่านไปคลื่นทั้งสองยังคงมีรูปร่างดังเดิมและวิ่ง ในทิศทางเดิม แต่คราวนี้จะวิ่งจากกันไป ดังรูปที่ 4.7 (ค) ถ้าคลื่นสองขบวนมีแอมพลิจูดชี้ตรงข้ามกัน เช่น -A 1 กับ A 2 ดังรูป 4.8 (ก) การรวมกันที่ จะดรวมคลื่นแอมพลิจูดจะหักล้างกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะลดลง หลังจากนั้นคลื่นแต่ละขบวนจะวิ่ง ไปในทิศทางเดิมแต่แยกจากัน ดูรูปที่ 4.8
  • 10. รูปที่ 4. 7 รูปที่ 4.8 ตัวอย่างที่ 7 คลื่นดลสี่เหลี่ยม P และ Q กาลังเคลื่อนที่เข้าหากันดังรูป โดยที่ 2b และb เป็นแอมพลิจูด ของคลื่น P และ Q ตามลาดับ จงเขียนภาพของคลื่นรวมเมื่อจุด P และ Q ทับกัน วิธีทา นั่นคือ ภาพของคลื่นรวม คือ คลื่นรูปล่าง แอมพลิจูดของคลื่นรวมสูงสุด 3b
  • 11. ตัวอย่างที่ 8 คลื่นดลสองถูกเคลื่อนที่เข้าหากันในเส้นเชือก ลักษณะของเชือกที่เวลาหนึ่งเป็นไปดังรูป (ก) แต่เมื่อเวลาผ่านไป 0.5 วินาที ลักษณะของเชือกเป็นดังรูป (ข) จงคานวณความเร็วของ คลื่นดลทั้งสอง วิธีทา การที่เรามองไม่เห็นคลื่นดลในรูป (ข) แสดงว่าคลื่นดลสองลูกนี้กาลังอยู่ในลักษระที่แอมพลิจูด หักล้างกันพอดีมันจะเกิดอย่างนี้ได้แสดงว่าคลื่นดลจะต้องเดินทางเป็นระยะ 2.5 m ทั้งคู่ ขอให้ดู รูปประกอบ ดังนั้น ถ้า v เป็นความเร็วของคลื่นดลทั้งสอง จะได้ v = 2 5 05   = 5 m/s นั่นคือ ความเร็วคลื่นเท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที ********************************************************************************