SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
บทที่ 3
การบารุงรักษาและดูแล
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
- เครื่องจ่ายไฟสารอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณ
เพียงพอควรติดตั้งร่วมกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
ด้วยเพราะUPS จะช่วยป้ องกันและแก้ปัญหาทาง
ไฟฟ้ าไม่ว่าจะเป็นไฟตกไฟเกินหรือไฟกระชาก
- ควรเลือกห้องที่ปลอดฝุ่นมากที่สุดและการ
ติดตั้งตัวเครื่อง ควรจากผนังพอสมควรเพื่อการ
ระบายความร้อนที่ดี
- การต่อสาย Cable ระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่างๆเช่น Printer
Modem Fax หรือส่วนอื่นจะต้องกระทาเมื่อ
power off เท่านั้น
- อย่าปิด - เปิดเครื่องบ่อยๆ เกินความ
จาเป็น เพราะจะทาให้เกิดความเสียหายแก่
โปรแกรมที่กาลังทางานอยู่
- ไม่เคลื่อนย้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่
เครื่องทางานอยู่ เพราะจะทาให้อุปกรณ์บางตัว
เกิดความเสียหายได้
- อย่าเปิดฝาเครื่องขณะใช้งานอยู่ ถ้าต้องการ
เปิดต้อง power off และถอดปลั๊กไฟก่อน
- ควรศึกษาจากคู่มือก่อนหรือการอบรมการ
ใช้งาน Software ก่อนการใช้งาน
- การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ควรติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์โดยให้
ด้านหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 3 นิ้ว เพื่อ
การระบายความร้อน
- ควรเลือกใช้โต๊ะทางานที่แข็งแรงป้ องกันการโยกไปมาเพราะทาให้
หัวอ่านของฮาร์ดดิสก์ถูกกระทบกระเทือนได้
- ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Hard Disk ด้วยโปรแกรม
Utility ต่างๆว่ายังสามารถใช้งานได้ครบ 100 % หรือมีส่วนใดของ Hard
Disk ที่ใช้งานไม่ได้
- เลือกใช้แผ่นดิสก์ที่สะอาดคือไม่มี
คราบฝุ่น ไขมัน หรือรอยขูดขีดใดๆ
- ใช้น้ายาล้างหัวอ่านดิสก์ทุกๆเดือน
- หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นดิสก์เก่าที่เก็บไว้
นานๆเพราะจะทาให้หัวอ่าน Disk
Drive สกปรกได้ง่าย
- อย่าให้วัตถุหรือน้าไปกระทบหน้าจอคอมพิวเตอร์
- ควรเปิดไฟที่จอก่อนที่สวิซต์ไฟที่ CPU เพื่อ boot เครื่อง
- ไม่ควรปิดๆ เปิดๆ เครื่องติดๆกัน เมื่อปิดเครื่องแล้วทิ้งระยะไว้เล็กน้อย
- ควรปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพของห้องทางาน
- อย่าเปิดฝาหลัง Monitor ซ่อม
- เมื่อมีการเปิดจอภาพทิ้งไว้นานๆควรจะมีการเรียกโปรแกรมถนอมจอภาพ
(Screen Sever) ขึ้นมาทางานเพื่อยืดอายุการใช้งานของจอภาพ
- ไม่ควรสูบบุหรี่หรือกินขนมหวาน ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์
- เครื่องดื่มทุกชนิดควรให้อยู่ห่างจากตัวเครื่องให้มากที่สุด
- อย่าพยายามกดแป้ นพิมพ์เล่นเมื่อไม่ได้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
- อย่ากดกระแทกแป้ นพิมพ์แรง ๆ เช่น การเล่นเกมส์ต่าง ๆ
- การทาความสะอาดแป้ นพิมพ์ควรใช้ผ้าชุบน้าหมาด ๆ หรือน้ายาทาความสะอาด
เครื่องฯ เช็ดไปทีละคีย์ ๆ และจะต้องระมัดระวังไม่ให้น้าซึมลงไปตามช่อง หรืออาจ
ใช้สเปรย์ลม หรือเครื่องดูดฝุ่นขนาดเล็ก ๆ
ใช้สาลีชุบแอลกอฮอล์มาเช็ดทา
ความสะอาด แต่ในกรณีที่วัสดุของเมาส์
ที่เป็นหนัง ก็ใช้ผ้าซุบหมาดๆเช็ดก็
พอ และบริเวณตรงบริเวณที่ส่องแสง
เพื่อใช้จับตาแหน่งเมาส์นั้นให้ใช้สาลีก้าน
แห้งๆ ไม่ควรที่จะซุบน้า แอลกอฮอล์
หรือสารเคมีใดๆ ทั้งสิ้น ค่อยเช็ดอย่าง
ระมัดระวัง แล้วควรที่จะล้างมือให้
สะอาดก่อนที่จะไปจับมัน
- รักษาความสะอาด โดยดูดฝุ่น เศษ
กระดาษที่ติดอยู่ในเครื่องพิมพ์ทุกเดือนหรือ
ใช้แปรงขนนุ่มปัดฝุ่นเศษกระดาษออกจาก
เครื่องพิมพ์
- ถ้าตัวเครื่องพิมพ์มีความสกปรกอาจ ใช้
ผ้านุ่มหรือฟองน้าชุบน้ายาทาความสะอาด
แต่ต้องระมัดระวังอย่าใช้น้าเข้าตัวเครื่อง
พิมพ์ได้
- ก่อนพิมพ์ทุกครั้งควรปรับความแรง ของ
หัวเข็มให้พอเหมาะกับความหนาของ
กระดาษ
- อย่าถอดหรือเสียบสาย Cable ในขณะที่
เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์กาลัง
ทางานอยู่
- ไม่ควรพิมพ์กระดาษติดต่อกันนานเกินไป
เพราะอาจทาให้หัวอ่านร้อนมากทาให้เครื่อง
ชะงักหยุดพิมพ์กระดาษ
- เมื่อเลิกพิมพ์งานควรนากระดาษออกจาก
ถาดกระดาษ และช่องนากระดาษ
- ไม่ควรใช้กระดาษไข (Stencil Paper) แบบ
ธรรมดากับเครื่องพิมพ์ประเภทแบบกระแทก
(Dotmatrix Printer) เนื่องจากเศษของ
กระดาษไขอาจจะไปอุดตันเข็มพิมพ์
- การเลือกใช้กระดาษไม่ควรใช้กระดาษ ที่
หนาเกินไปจะทาให้กระดาษติดเครื่องพิมพ์ได้
- ควรกรีดกระดาษให้ดี อย่าให้กระดาษติดกัน
- การใช้พิมพ์ Laser Printer พิมพ์ลงใน
แผ่นใส ก็ต้องเลือกใช้แผ่นใสที่ใช้ถ่ายเอกสารได้
เท่านั้น หากใช่แผ่นใสแบบธรรมดาซึ่งไม่สามารถ
ทนความร้อนได้อาจจะหลอมละลายติด
เครื่องพิมพ์ทาให้เกิดความเสียหาย
ห้องทางานด้านคอมพิวเตอร์ควรเป็น
ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่นและ
ความชื้น ซอฟแวร์แผ่นดิสก์ที่เก็บ
ซอฟแวร์และไฟล์ข้อมูล หรือสารสนเทศ
นั้นอาจเสียหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสค์
ได้รับการขีดข่วนได้รับความร้อนสูงหรือ
ตกกระทบกระแทกแรงๆ สิ่งที่ทาลาย
ซอฟแวร์ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่น
ควัน และการฉีดสเปรย์พวกน้ายาหรือ
น้าหอม ต่าง ๆ เป็นต้น
1. ไม่ควรทาความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ ถ้า
คุณจะทาความ สะอาดเครื่อง ควรปิดเครื่องทิ้งไว้ 5 นาที ก่อนลงมือทาความ
สะอาด
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้า เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ายาทาความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าจาเป็นต้องทาความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทา
ความสะอาด ที่คู่มือแนะนาไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้าชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทางานด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์
1. ความร้อน
ความร้อนที่เป็นสาเหตุทาให้คอมพิวเตอร์มีปัญหาส่วนใหญ่เกิด
จากความร้อนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์เอง
วิธีแก้ปัญหาคือ จะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณ์ต่างๆ ออกไป
ให้เร็วที่สุด
2. ฝุ่นผง
เป็นที่ทราบกันดีว่าในอากาศมีฝุ่นผงกระจัดกระจายอยู่
ในทุกๆที่ฝุ่นผงที่เกาะติดอยู่บนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์
ทาหน้าที่เสมือนฉนวนป้ องกันความร้อน ทาให้ความร้อนที่
เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อม
ภายนอก
วิธีแก้ไข
• ควรทาความสะอาดภายในเครื่องทุก 6 เดือน
• ตัวถัง หรือ ชิ้นส่วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทาความ
สะอาด
• วงจรภายในให้ใช้ลมเป่าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปัดฝุ่ น
ออก
• อย่าสูบบุหรี่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์
3. สนามแม่เหล็ก
แม่เหล็กสามารถทาให้ข้อมูลในแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ก็สูญหายได้
อย่างถาวรแหล่งที่ให้กาเนิดสนามแม่เหล็กในสานักงานมีอยู่มากมาหลาย
ประเภท เช่น แม่เหล็กติดกระดาษ, คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก , ไข
ควงหัวแม่เหล็ก, ลาโพง
วิธีแก้ไข
ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกาลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบ
คอมพิวเตอร์
4. สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า
4.1. แรงดันเกิน
ในกรณีที่เครื่องของท่านได้รับแรงดันไฟฟ้ าเกินจากปกติเป็น
เวลานานกว่าวินาที จะมีผลทาให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในเครื่อง
เกิดความเสียหายได้ แก้ไขได้โดยการใช้เครื่องควบคุมกระแสไฟฟ้ า
หรือ ที่เรียกว่า Stabilizer
4. สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า
4.2. แรงดันตก
ในกรณีที่มีการใช้ไฟฟ้ ากันมากเกินความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้ าจะมีผล
ทาให้เกิดเหตุการณ์ไฟตกได้ไฟตกอาจทาให้การทางานของเพาเวอร์ซัพพลายผิดพลาด
ได้เนื่องจากเพาเวอร์ซัพพลายพยายามจ่ายพลังงานให้กับวงจรอย่างสม่าเสมอโดยไป
เพิ่มกระแส แต่การเพิ่มกระแสทาให้ตัวนาเพาเวอร์ซัพพลายและอุปกรณ์ต่างๆร้อนขึ้น
ซึ่งมีผลทาให้อุปกรณ์ต่างๆ เกิดความเสียหายได้ แก้ไขได้โดยการใช้เครื่องควบคุม
กระแสไฟฟ้ า หรือ ที่เรียกว่า Stabilizer
4. สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า
4.3 ทรานเชียนต์
ทรานเชียนต์ หมายถึง การที่ไฟฟ้ ามี
แรงดันสูง (sags) หรือต่ากว่าปกติ
(surge)ในช่วงระยะเวลาสั้นๆทรานเชียนต์ที่
เกิดในบางครั้งจะมีความถี่สูงมากจนกระทั่ง
สามารถ เคลื่อนที่ผ่านตัวเก็บประจุไฟฟ้ าใน
เพาเวอร์ซัพพลายเข้าไปทาความเสียหาย
ให้แก่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ แก้ไขได้โดย
การใช้เครื่องควบคุม กระแสไฟฟ้ า หรือ ที่
เรียกว่า Stabilizer
4. สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า
4.4 ไฟกระเพื่อม
ทุกครั้งที่ท่านเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้ าจะทาให้กาลังไฟเกิดการกระเพื่อม
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ต้องการกระแสไฟฟ้ ามากๆก็จะทาให้ความแรงของการ
กระเพื่อมมีค่ามากตามไปด้วย จากการศึกษาพบว่าการเปิดใช้งาน
เครื่องใช้ไฟฟ้ าแต่ละครั้งจะทาให้เกิดการกระเพื่อมภายในเสี้ยววินาทีการ
กระเพื่อมจะมีผลต่อทุกๆส่วนภายในตัวเครื่อง รวมทั้งหัวอ่านข้อมูลของ
ฮาร์ดดิสค์ด้วย แก้ไขได้โดยการลดจานวนครั้งในการปิดเปิดเครื่อง
5. ไฟฟ้ าสถิตย์
ไฟฟ้ าสถิตย์สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาลแต่ในสภาวะที่อากาศแห้งจะส่งผล
ให้ความเป็นฉนวนไฟฟ้ าสูงประจุของไฟฟ้ าสถิตย์จะสะสมอยู่เป็นจานวนมาก
และหาทางวิ่งผ่านตัวนาไปยังบริเวณที่มีศักย์ไฟฟ้ าต่ากว่าดังนั้นเมื่อท่านไปจับ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประจุของไฟฟ้ าสถิตย์จากตัวท่านจะวิ่งไปยังอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นทาให้อุปกรณ์เกิดความเสียหายได้
วิธีแก้ไข
ควรทาการคายประจุไฟฟ้ าสถิตย์ ด้วยการจับต้องโลหะอื่นที่ไม่ใช้ตัวถังเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ก่อนจะสัมผัสอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์
6. น้าและสนิม
น้าและสนิมเป็นศัตรูตัวร้ายของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิดสนิมที่พบใน
เมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์มักจะเกิดจากการรั่วซึมของแบตเตอรี่บนเมนบอร์ด
ซึ่งถ้าเกิดปัญหานี้ขึ้น นั่นหมายความว่าท่านจะต้องควักกระเป๋ าซื้อเมนบอร์ดตัว
ใหม่มาทดแทนตัวเก่าที่ต้องทิ้งลงถังขยะสถานเดียว
วิธีแก้ไข
• หลีกเลี่ยงการนาของเหลวทุกชนิดมาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ของท่าน
• กรณีการรั่วซึมของแบตเตอรี่แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ เมื่อ
เครื่องของท่านมีอายุการใช้งานได้ประมาณ 1-2 ปี เป็นต้นไป

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
Kamonrut Deeporum
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
phatrinn555
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
Nicharee Piwjan
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
suparada
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
orawan chaiyakhan
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
 
การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สรุปลักษณะของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
dechathon
 
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
dechathon
 
รหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษรหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษ
dechathon
 
ตัวแปร
ตัวแปรตัวแปร
ตัวแปร
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
dechathon
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
dechathon
 
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
Yeah Pitloke
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
dechathon
 
แบบฝึกที่18 หน้า40 43
แบบฝึกที่18 หน้า40 43แบบฝึกที่18 หน้า40 43
แบบฝึกที่18 หน้า40 43
dechathon
 
Presentation8
Presentation8Presentation8
Presentation8
dechathon
 
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
Yeah Pitloke
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
dechathon
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
 
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
แบบฝึกปฏิบัติ การเชื่อมโยง Sketch เป็นการสร้าง workplane เพิ่มขึ้นหลาย ๆ work...
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
รหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษรหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษ
 
ตัวแปร
ตัวแปรตัวแปร
ตัวแปร
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
044
044044
044
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
03การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชาภาษีเงินได้บุคคลธ...
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
006
006006
006
 
แบบฝึกที่18 หน้า40 43
แบบฝึกที่18 หน้า40 43แบบฝึกที่18 หน้า40 43
แบบฝึกที่18 หน้า40 43
 
011
011011
011
 
Presentation8
Presentation8Presentation8
Presentation8
 
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
29การปรับพฤติกรรมนักศึกษาที่ไม่เข้าชั้นเรียนในการวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องาน...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
001
001001
001
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 

Similar to บทที่ 3

2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
fonnoii
 
1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka
guest53a11a
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 

Similar to บทที่ 3 (19)

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
Js unit 5
Js unit 5Js unit 5
Js unit 5
 
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
onet-Work4-49
onet-Work4-49onet-Work4-49
onet-Work4-49
 
1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
032
032032
032
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 
034
034034
034
 
038
038038
038
 
040
040040
040
 
039
039039
039
 

บทที่ 3