SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 2222 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี
4444ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง –––– เขียนโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของ
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น
1111....ส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรม ((((HeadHeadHeadHead))))
ส่วนหัวของโปรแกรม เรียกว่า
ก่อนการแปลผลโปรแกรมในที่นี้คําสั่ง #include <stdio.h>
stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกําหนด
เครื่องหมาย # เสมอ
คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้
1111.... #include <#include <#include <#include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์
สําหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ #include ชื่อไฟล์
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง #include<stdio.h>
2222.... #include “#include “#include “#include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์
กันกับไฟล์ source code นั้น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 2222....1111
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีได้
โครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมภาษาซีภาษาซีภาษาซีภาษาซี
ส่วนหัวโปรแกรม (Head)
ส่วนของฟังก์ชันหลัก (Main Function
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 2222 ส่วนส่วนส่วนส่วน
ส่วนหัวของโปรแกรม เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทําการใดๆ
#include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นําเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ
เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกําหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย
คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้
ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์>>>> คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้
ชื่อไฟล์
#include<stdio.h> หมายความว่า อ่านไฟล์ stdio.h เข้ามาด้วย
ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์”””” คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่จะระบุจากไดเรกทอรีเดี่ยว
นั้น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
(Head)
Main Function)
ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทําการใดๆ
ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นําเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ
นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย
คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้
คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่จะระบุจากไดเรกทอรีเดี่ยว
โดยเฉพาะ
2222.... ส่วนของฟังส่วนของฟังส่วนของฟังส่วนของฟังก์ก์ก์ก์ชันชันชันชันหลักหลักหลักหลัก ((((Main FunctionMain FunctionMain FunctionMain Function))))
ฟังก์ชนหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชันนี้อยู่ใน
โปรแกรมเสมอ จากชื่อฟังก์ชัน main แปลว่า หลัก ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษาซีจึงขาดฟังก์ชันนี้ไปไม่ได้
จากขอบเขตของฟังก์ชันจะถูกกําหนดด้วยเครื่อง { และ } กล่าวคือ การทํางานของฟังกชันจะเริ่มต้นที่
เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย }
ฟังก์ชัน main() จะต้องเขียนในรูปของ int main() ซึ่งเป็นรูปแบบตามมาตรฐานของ Ansi standard C
ซึ่งหมายความว่าฟังก์ชัน main() จะไม่มีการรับค่าใดๆ เข้ามาประมวลผล แต่จะส่งค่า int กลับไป (int หมายถึง
integer ซึ่งเป็นจํานวนเต็มที่ไม่มีทศนิยม) ดังนั้นจะเห็นว่า บรรทัดรองสุดท้ายก่อนจบ จะเขียนว่า return 0;
การส่งค่ากลับให้ฟังก์ชัน main() ถ้า return 0; หมายความว่า โปรแกรมทํางานเสร็จสิ้นสมบูรณ์ ไม่มี
ข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น แต่ถ้า return 1; หรือ return <ค่าอื่นๆ ที่ไม่ใช่ 0 >; หมายความว่าโปรแกรมจบไม่
สมบูรณ์ มีการข้ามการทํางานบางขั้นตอนเพื่อให้โปรแกรมสิ้นสุดลง
คําคําคําคําสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิบายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์ ในภาษาซี คือ ส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียน
โปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกํากับลงใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามการแปลผลในนี้ที่เป็นคอมเมนท์ ใน
ภาษาซีมี 2 รูปแบบ คือ
1. คอมเมนท์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //
2. คอมเมนท์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */
ตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซี
// comment onl one line
#include<stdio.h>
#inlude<conio.h>
Main()
{
/* comment
Many
Line */
}
คอมเมนท์แบบบรรทัดเดียว ไม่แปล
ผลในส่วนนี
คอมเมนท์แบบหลายบรรทัด
ไม่แปลผลในส่วนนี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

More Related Content

What's hot

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นApinyaphorn
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 

What's hot (17)

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 
C lu
C luC lu
C lu
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 

Similar to โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1Thamon Monwan
 
งานJava
งานJavaงานJava
งานJavaBoOm mm
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4Chaiyaporn Puttachot
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to javaUsableLabs
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnative
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีnsumato
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBaramee Chomphoo
 

Similar to โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (20)

ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 4 พัฒนาโปรแกรมภาษาซี
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
 
Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
งานJava
งานJavaงานJava
งานJava
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to java
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 

More from dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 

More from dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

  • 1. รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 2222 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี 4444ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง –––– เขียนโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี โครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของ โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 1111....ส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรมส่วนหัวของโปรแกรม ((((HeadHeadHeadHead)))) ส่วนหัวของโปรแกรม เรียกว่า ก่อนการแปลผลโปรแกรมในที่นี้คําสั่ง #include <stdio.h> stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกําหนด เครื่องหมาย # เสมอ คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 1111.... #include <#include <#include <#include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ สําหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ รูปแบบรูปแบบรูปแบบรูปแบบ #include ชื่อไฟล์ ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง #include<stdio.h> 2222.... #include “#include “#include “#include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ กันกับไฟล์ source code นั้น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์ ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 2222....1111 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซีองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีได้ โครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโครงสร้างของโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมภาษาซีภาษาซีภาษาซีภาษาซี ส่วนหัวโปรแกรม (Head) ส่วนของฟังก์ชันหลัก (Main Function โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 2222 ส่วนส่วนส่วนส่วน ส่วนหัวของโปรแกรม เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทําการใดๆ #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นําเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกําหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์>>>> คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้ ชื่อไฟล์ #include<stdio.h> หมายความว่า อ่านไฟล์ stdio.h เข้ามาด้วย ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์”””” คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่จะระบุจากไดเรกทอรีเดี่ยว นั้น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี (Head) Main Function) ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทําการใดๆ ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นําเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย คําสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นําเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้ คอมไพเลอร์จะทําการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่จะระบุจากไดเรกทอรีเดี่ยว โดยเฉพาะ
  • 2. 2222.... ส่วนของฟังส่วนของฟังส่วนของฟังส่วนของฟังก์ก์ก์ก์ชันชันชันชันหลักหลักหลักหลัก ((((Main FunctionMain FunctionMain FunctionMain Function)))) ฟังก์ชนหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชันนี้อยู่ใน โปรแกรมเสมอ จากชื่อฟังก์ชัน main แปลว่า หลัก ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษาซีจึงขาดฟังก์ชันนี้ไปไม่ได้ จากขอบเขตของฟังก์ชันจะถูกกําหนดด้วยเครื่อง { และ } กล่าวคือ การทํางานของฟังกชันจะเริ่มต้นที่ เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชัน main() จะต้องเขียนในรูปของ int main() ซึ่งเป็นรูปแบบตามมาตรฐานของ Ansi standard C ซึ่งหมายความว่าฟังก์ชัน main() จะไม่มีการรับค่าใดๆ เข้ามาประมวลผล แต่จะส่งค่า int กลับไป (int หมายถึง integer ซึ่งเป็นจํานวนเต็มที่ไม่มีทศนิยม) ดังนั้นจะเห็นว่า บรรทัดรองสุดท้ายก่อนจบ จะเขียนว่า return 0; การส่งค่ากลับให้ฟังก์ชัน main() ถ้า return 0; หมายความว่า โปรแกรมทํางานเสร็จสิ้นสมบูรณ์ ไม่มี ข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น แต่ถ้า return 1; หรือ return <ค่าอื่นๆ ที่ไม่ใช่ 0 >; หมายความว่าโปรแกรมจบไม่ สมบูรณ์ มีการข้ามการทํางานบางขั้นตอนเพื่อให้โปรแกรมสิ้นสุดลง คําคําคําคําสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิสั่งสําหรับอธิบายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์บายหรือคอมเมนท์ ในภาษาซี คือ ส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียน โปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกํากับลงใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามการแปลผลในนี้ที่เป็นคอมเมนท์ ใน ภาษาซีมี 2 รูปแบบ คือ 1. คอมเมนท์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // 2. คอมเมนท์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */ ตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซีตัวอย่าง การคอมเมนท์ในภาษาซี // comment onl one line #include<stdio.h> #inlude<conio.h> Main() { /* comment Many Line */ } คอมเมนท์แบบบรรทัดเดียว ไม่แปล ผลในส่วนนี คอมเมนท์แบบหลายบรรทัด ไม่แปลผลในส่วนนี