SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ท่านที่เคยอ่านพงศาวดารจีนเรื่องสามก๊กมาแล้ว "ตั้งฮั่น" คือพงศาวดารก่อน
หน้าสามก๊กโดยเนื้อหาต่อเนื่องกันตามลำาดับราชวงศ์ จบเรื่องสามก๊กก็จะ
ต่อด้วย "ไซจิ้น" ซึ่งบ้านจอมยุทธจะนำาเสนอต่อจาก"ตั้งฮั่น" ในวาระถัดไป
เพื่อการศึกษาเทียบเคียง ต่อยอดความรู้เดิมจากสามก๊กให้กว้างยิ่งขึ้น โดย
จะนำาเสนอเป็นตอนๆ ไปจนจบทั้ง 2 เรื่อง
สำาหรับพงศาวดารจีนเรื่องตั้งฮั่น และไซจิน ที่นำาเสนอที่บ้านจอมยุทธ เป็น
                                          ้
ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2507 โดยองค์การค้าของคุรุสภา ศึกษาภัณฑ์พา
นิช จัดพิมพ์จำาหน่าย รายละเอียดอื่นๆ ท่านสามารถอ่านได้จากคำานำาในการ
จัดพิมพ์ขององค์การค้าของคุรุสภา ข้างล่างนี้.....
                                  คำำนำำ
 ในการประชุมคณะกรรมการดำาเนินงานการจัดพิมพ์หนังสือชุดภาษาไทย
เพื่อทบทวนงานที่ได้ดำาเนินการมาแล้วในปีแรก คณะกรรมการดำาเนินงานได้
มีมติให้เพิ่มการจัดพิมพ์หนังสือชุดภาษาไทยขึ้นอีก 3 ชุด คือ ชุดประชุม
พงศาวดาร ชุดรามเกียรติ์ และชุดพงศาวดารจีน
     ชุดพงศาวดารขีน ซึ่งจัดพิมพ์เป็นชุดที่ 20 นี้ คณะกรรมการได้มีมติให้จัด
พิมพ์เฉพาะเรื่องที่นับเนื่องเป็น "พงศาวดารจีน" จริงๆเสียก่อน ส่วนเรื่องจีน
เรื่องอื่นๆ ที่จัดว่าเป็น "เกร็ด" พงศาวดารบ้าง หรือที่แต่งเป็นแบบนิยายบ้าง
ให้จัดพิมพ์ภายหลัง
     ความจริงหนังสือพงศาวดารจีนไม่ว่าประเภทใด มีผู้นิยมอ่านกันมาก ใน
สมัยก่อนชาวบ้านร้านตลาดทั่วไปติดพงศาวดารจีนเหมือนกับการรับ
ประทานอาหาร ฉะนัน จึงปรากฎว่าบรรดาหนังสือพิมพ์ต่างๆ ในรัชสมัย
                         ้
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จะต้องลงเรื่องจีนอย่างน้อยหนึ่งเรื่องเป็น
ประจำา นักอ่านจะซื้อหนังสือพิพม์รายวันเพื่อนอ่านเรื่องจีนวันต่อวัน เรื่องที่
ลงพิมพ์บางเรื่องก็เป็นเรื่องที่เคยพิมพ์เป็นเล่มมาแล้ว แต่หาอ่านไม่ได้
เพราะต้นฉบับเดิมหายาก และไม่ได้มีการพิมพ์ขึ้นมาใหม่ บางเรื่องก็เป็น
เรื่องที่แปลขึ้นมาใหม่จากนวนิยายจีน ซึ่งแต่งอิงพงศาวดาร บางเรื่องก็เป็น
เรื่องที่นักประพันธ์ไทยแต่งขึ้นเอง ทำานองแต่งนิยายอาศัยพงศาวดารจีน
เรื่องอิงพงศาวดารจีนที่น่าอ่าน เพราะเป็นเรื่องมีคติแก่ชีวิตและครอบครัวก็มี
หลายเรื่อง เช่น เรื่องจอยุ่ยเหม็ง เป็นต้น
     ส่วนเรื่องจีนที่จัดได้ว่าเป็นเรื่อง "พงศาวดาร" ปรากฎจากหนังสือตำานาน
สามก๊ก พระนิพนธ์สมเด็จพระยาดำารงราชานุภาพว่า พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระราชดำารัสสั่งให้แปลขึ้น 2 เรื่อง คือ เรื่องไซ
ฮั่นเรื่องหนึ่ง กับเรื่องสามก๊กเรื่องหนึ่ง โปรดให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอกรม
พระราชวังหลังทรงอำานวยการแปลเรื่องไซฮั่น และให้เจ้าพระยาพระ
คลัง(หน) อำานวยการแปลเรื่องสามก๊ก นับเป็นเริ่มแรกของการแปล
พงศาวดารจีนมาเป็นภาษาไทย ในรัชกาลที2 ได้มีการแปลบ้าง แต่ปรากฎว่า
                                             ่
ส่วนใหญ่ได้มีการแปลในรัชกาลที่ 4 และรัชกาลต่อๆมา
     แต่การแปลพงศาวดารจีนเป็นภาษาไทยในครั้งนัน หาได้แปลตามลำาดับ
                                                     ้
ราชวงศ์กษัตริย์จีนไม่ เข้าใจว่าอาจเพ่งเล็งไปในความสนุกของเรื่องหรือ
ตามแต่จะหาต้นฉบับได้มากกว่า ทั้งผู้อ่านไม่ปรารถนาจะหาความรู้ทาง
ประวัติศาสตร์ นอกจากความสนุกเป็นสำาคัญ แต่ในการจัดพิมพ์คราวนี้ คณะ
กรรมการมีความคิดเห็นว่า ควรจัดพิมพ์ใหม่ตามลำาดับราชวงศ์กษัตริย์จีน
ซึ่งบางทีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจประวัติศาสตร์บ้าง จึงได้เรียงลำาดับการ
พิมพ์ดังต่อไปนี้ คือ
 1 . ไคเภ็ก เริ่มแต่ประวัติศาสตร์ยังเจือปนด้วยนิยาย เช่น การสร้างดวง
อาทิตย์ สร้างโลก ฯลฯ จนถึงตอนใกล้ประวัติศาสตร์ กษัตริย์พระองค์แรกๆ
ของจีน ตั้งแต่สมัยที่กษัตริย์ได้ขึ้นเสวยราชย์ โดยราษฎร์เป็นผู้เลือก จนถึง
ปฐมกษัตริย์สืบราชวงศ์ คือ กษัตริย์ราชวงศ์แฮ่ กับกษัตริย์ราชวงศ์เชียว (
ก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ถึง ก่อนพุทธศักราช 1240 ปี)
2. ห้องสิน
3. เลียดก๊ก ราชวงศ์เซียว และราชวงศ์จิว (ก่อนพุทธศักราช 1240 ปี ถึง ก่อน
พุทธศักราช 297 ปี)
4. ไซ่ฮั่น
5. ไต้ฮั่น
6. ตั้งฮั่น     ราชวงศ์จิ๋น และราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ.298-337)
7. สามก๊ก ราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย ต่อราชวงศ์วุย และราชวงศ์จนตอนต้น
                                                            ิ้
(พ.ศ.337-807)
8. ไซจิน   ้
9. ตั้งจิน
         ้
10. นำ่าซ้องราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์ซอง ราชวงศ์ชี ราชวงศ์เหลียง และรา
ชวงศ์ตั้น (พ.ศ. 808-1132)
11. ส้วยถัง
12. ซุยถัง ราชวงศ์ซุย และราชวงศ์ถังตอนต้น (พ.ศ.1132-1161)
13. เสาปัก
14. ซิยิ่นกุ้ย
15. ซิเตงซัน
16. ไซอิ๋ว
17. บูเช็กเทียน ราชวงศ์ถัง (พ.ศ.1161-1450)
18. หงอโต้ว ราชวงศ์เหลียง ราชวงศ์จัง ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิวย
(พ.ศ. 1450-1503)
19. นำ่าปักซ้อง
20. บ๊วยฮ่วยเหลา
21. โหงวโฮ็วเพงไซ
22. โหงวโฮ็วเพงหนำา
23. โหงวโฮ็วเพงหปัก
24. ซวยงัก
25. ซ้องกั๋ง
26. เปาเล่งถูกงอั้น
27. ง่วยเฉียว ราชวงศ์ซ้อง (พ.ศ.1503-1819)
                       รำชวงศ์หงวน (พ.ศ.1820-1911)
28. เม่งเฉียว
29. เองเลียดต้วน
30. ซองเต็กอิ้วกังหนำา
31. ไต้อั้งเผ่า
32. เซียวอั้งเผ่า
33. เนียหนำาอิดซือ ราชวงศ์เหม็ง (พ.ศ.1911-2186)
34. เม่งมวดเซงฌ้อ
35. เชงเฉียว ราชวงศ์เช็ง (พ.ศ.2187-)
 รวมทั้งสิ้นเป็นหนังสือ 35 เรื่อง ซึ่งถ้าแบ่งตามขนาดหนังสือชุดภาษาไทย ก็
อาจได้ไม่ตำ่ากว่า 50 เล่ม ต้นฉบับพิมพ์พงศาวดารจีนตามบัญชีดังกลว่านี้ ใน
ปัจจุบนหาอ่านได้ยาก เพราะส่วนใหญ่มิได้มีการพิมพ์ขึ้นใหม่ นอกจากเรื่อง
       ั
ที่นิยมกันว่าสนุกมากๆ เท่านั้น การพิมพ์ครั้งนี้ก็ต้องยืมต้นฉบับจากหลาย
เจ้าของด้วยกัน ซึ่งคุรุสภาต้องแสดงความขอบคุณท่านเจ้าของต้นฉบับทุก
ท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย เพราะความเอื้อเฟื้อของท่าน เท่ากับเป็นการช่วยรักษา
วรรณกรรมของชาติไห้คงไว้ส่วนหนึ่ง และการจัดพิมพ์นั้นได้แก้ไขเฉพาะ
อักขรวิธี ส่วนถ้อยคำาสำานวนต่างๆ ได้คงไว้ตามเดิม ซึ่งท่านจะได้ทราบ
ภาษาที่คนไทยเรานิยมใช้เมื่อร้อยปีเศษมาแล้วว่าเป็นอย่างไร.
             คัดลอกจากเว็บ บ้านจอมยุทธ http://www.baanjomyut.com/
                    ขอแสดงควำมขอบคุณอย่ำงสูง

ตอนที่ 1

1. เงียมจูเหลงดูลักษณะเล่ำสิ้วบุนซก
 กษัตริย์ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์พระเจ้าฮั่นโกโจ เสวยราชสมบัติในเมืองหำ้าเอี๋ยง
เป็นเมืองหลวง บำารุงราษฎรหัวเมืองทั้งปวงให้อยู่เย็นเป็นสุข ข้าศึกศัตรูโจร
ผู้ร้ายราบคาบมาได้สองร้อยสี่สิบปีเศษ ถึงแผ่นดินพระเจ้าเปงเต้ เป็นสิบ
สองชั่วกษัตริย์ ครั้นพระเจ้าเปงเต้ได้เสวยราชสมบัติในเมืองหำ้าเอี๋ยงแล้ว
เปลี่ยนนามเมืองชื่อว่าเมืองเตียงอั๋น บรรดาพระราชวงศานุวงศ์ซึ่งไปครอง
หัวเมือง และเป็นที่ขุนนางอยู่ในเมืองหลวงแต่ก่อนนั้น พระเจ้าเปงเต้มี
พระทัยโอบอ้อมอารีแผ่เผื่อเลื่อนที่ยศศักดิ์ พระราชทานที่ไร่นาส่วยอากร
ทำานุบำารุงตามสมควร
      ยังมีเชื้อพระวงศ์คนหนึ่งอยู่ในเมืองหลวง เป็นบุตรเล่าฮวดชื่อเล่าคิม
บิดาเป็นหลานพระเจ้าฮั่นโกโจ ต่อมาแปดชั่วคนทั้งตัวเล่าคิม เล่าคิมมีบุตร
หญิงคนหนึ่งชื่อเล่าหงวน มีบุตรชายสามคน คนใหญ่ชื่อเล่าอิ๋น ถัดลงมาชื่อ
เล่าต๋ง บุตรคนสุดท้องชื่อเล่าสิ้วบุนซก มีรูปโฉมงามยิ่งกว่าพี่ชายทั้งสอง
ครั้นอยู่มาเล่าคิมเห็นว่าเล่าอิ๋นกับเล่าต๋งมีชันษาจำาเริญวัยใหญ่กล้า สมควร
จะเรียนหนังสือฝึกสอนวิชาการทั้งปวง จึงให้เล่าเหลียงผู้เป็นน้องไปสืบหา
ซินแสผู้รู้หนังสือลึกซึ้ง เข้ามาเป็นครูฝึกสอนเล่าอิ๋นและเล่าต๋งผู้บุตร เล่าเห
ลียงจึงไปเชิญเตงอู เข้ามาเป็นอาจารย์สั่งสอนหนังสือ ก็ฝึกหัดเพลงอาวุธ
เล่าอิ๋นเล่าตงอยู่มิได้ขาด ฝ่ายเตงอูสั่งสอนหนังสือเล่าอิ๋น เล่าต๋งแล้ว จึงลา
เล่าคิมออกจากเมืองหลวงเที่ยวไป อยู่บ้านป่าแดนเมืองหำ้าเอี๋ยงเป็นผาสุก
สบาย
     ฝ่ายเล่าคิมครั้นเห็นนางเล่าหงวนผู้เป็นบุตรใหญ่ มีชันษาจำาเริญควรจะ
ปลูกฝังให้มีเรือน จึงยกนางเล่าหงวนให้เป็นภรรยาเตงสิน ซึ่งเป็นแซ่
เดียวกันกับเตงอู แล้วให้ยกออกไปทำาไร่ทนาอยู่ ณ บ้านป่าแดนเมืองหำ้าเอี๋
ยง นางเล่าหงวนกับเตงสินไปทำามาหากินอยู่บ้านได้สิ่งของกินเป็นของป่า
พากันมาเยี่ยมเยียนเล่าคิมผู้บิดา ณ เมืองหลวงเนืองๆ ต่อมาวันหนึ่งเล่าคิม
จึงปรึกษาเล่าเหลียงผู้เป็นน้องว่า บุตรชายเราสามคนนีนับวันจะจำาเริญ
                                                          ้
ชันษา ชะตาคนใดจะดีเป็นที่พึ่งแก่ญาติทั้งปวงข้างเรายังมิรู้ได้ ท่านจงไป
เลือกหาซินแสผู้รู้ดูลักษณะมาทายหลายชายท่านทั้งสามคนสักเวลาหนึ่ง
เล่าเหลียงตอบว่ายังมีซินแสคนหนึ่งชื่อจูเหลง เป็นผู้รู้ดูลักษณะประกอบ
วิชาการทุกสิ่ง ชาวเมืองทั้งปวงสรรเสริญออกชื่อนับถือเงียมจูเหลงยิ่งนัก
ข้าพเจ้าจะเชิญมา เล่าเหลียงก็คำานับลาไปบ้านเงียมจูเหลง
     ฝ่ายเงียมจูเหลงสอนหนังสือบังอี๋อองป้ากับศานุศิษย์ทั้งปวงอยู่บนตึก
แลไปเห็นเล่าเหลียง เชื้อพระวงศ์พระเจ้าเมืองหลวงมา จึงออกไปเชิญขึ้น
บนตึกนั่งที่สมควร แล้วถามเล่าเหลียงว่า ท่านมาหาข้าพเจ้ามีธุระกังวล
ประการใด เล่าเหลียงจึงบอกความตามเล่าคิมใช้มาให้เงียมจูเหลงฟัง เงียม
จูเหลงแจ้งว่าเล่าคิมเชื่อพระวงศ์ให้มาเชิญไปทำานายลักษณะบุตรสามคน
จึงนุ่งห่มแต่งตัวใส่หมวกลงจากตึกมากับเล่าเหลียงไปบ้านเล่าคิม เล่าคิมจึง
ออกไปรับซินแสเงียมจูเหลงขึ้นบนตึกนั่งที่สมควร จึงให้บุตรทั้งสามคำานับ
ซินแส แล้วว่าข้าพเจ้าให้เชิญท่านมา ให้ท่านช่วยทำานายลักษณะบุตร
ข้าพเจ้าทั้งสามนี้ จะใคร่รู้ว่าผู้ใดจะสืบเชื้อพระวงศ์ เป็นที่พึ่งแก่ญาติไปใน
ภายหน้า เงียมจูเหลงจึงพิจารณาดูลักษณะเล่าอิ๋นกับเล่าต๋ง พิเคราะห์ดู
ลักษณะเล่าสิ้วบุนซกแจ้งโดยตำาหรับที่ได้เล่าเรียนมา จึงถามชันษาปีเดือน
วันเวลากำาเนิด คำานวณโดยตำาราโหราศาสตร์ประกอบด้วยลักษณะแล้ว
ทำานายแก่เล่าคิมว่า เล่าอิ๋นกับเล่าต๋งนั้นชันษาชอบทำาไร่นา ภายหลังจะได้
เป็นขุนนาง แล้วจะตายด้วยเครื่องศาตราวุธ แต่เล่าสิ้วบุนซกบุตรสุดท้องนั้น
จะพลัดพรากจากบิดามารดาแต่เก้าขวบไป ถึงอายุสามสิบเศษชะตาขึ้นถึงที่
เป็นแม่ทัพใหญ่ปราบยุคเข็ญไปภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์ บำารุงแผ่นดินสืบ
เชื้อพระวงศ์เป็นที่พึ่งแก่อาณาประราชราษฎร์ เล่าคิมได้ฟังเงียมจูเหลง
ทำานายดังนั้นจึงว่า เล่าสิ้วบุนซกบุตรข้าพเจ้าชันษาได้เจ็ดขวบเศษควรจะ
เรียนหนังสือฝึกสอนวิชา ขอท่านได้กรุณาช่วยสั่งสอนหนังสือและวิชาการ
ไว้สำาหรับตัว เมื่อชันษาถึงที่พลัดพรากจากข้าพเจ้าไปได้ความทุกข์ยากลง
วิชาที่เรียนไว้จะได้เป็นที่พึ่งกว่าจะถึงที่เป็นใหญ่ จะได้คิดตั้งตัวตามสมควร
แก่สติปัญญา อยู่ประมาณปีเศษเงียมจูเหลงจึงลาเล่าคิมไปจากเมืองหลวง
เที่ยวตามป่าหาความสุขสบาย
       ฝ่ายเล่าคิมครั้นอยู่มาวันหนึ่ง จึงให้หาเล่าเหลียงผู้น้องมาปรึกษาว่า
ซินแสเงียมจูเหลงผู้รู้ดูลักษณะ ทำานายไว้แต่ก่อนว่าเล่าสิ้วบุนซกจะได้เป็น
ที่พึงแก่ญาติวงศ์ แต่ต้องตกยากเมื่ออายุน้อยนั้น เราคิดว่าจะให้ท่านพาเล่า
อิ๋นกับเล่าต๋ง ออกไปทไร่นาอยู่บ้านนำ้าขาว (คำาจีนเรียกว่าบ้านแปะจุ๋ยฉิง) ใน
แดนเมืองนำ้าเอี๋ยง ถ้าบุญญาธิการพระเจ้าเปงเต้ ยังทรงพระจำาเริญพระ
ชันษาอยู่ในราชสมบัติเราก็จะได้มีความสุข แม้เมืองหลวงเกิดวิบัติ ในภาย
หน้าหลานท่านพลัดพรากจากเราได้ความทุกข์ยากไร้ จะได้ไปอาศัยท่านจะ
เห็นประการใด เล่าเหลียงได้ฟังเห็นชอบด้วย จึงคำานับลาพาเล่าอิ๋นกับเล่า
ต๋งผู้หลาน ยกครอบครัวออกจากเมืองหลวง ไปทำาไร่นาอยู่ ณ บ้านแปะ
จุ๋ยฉิง

2. อองมังถวำยยำพิษพระเจ้ำเปงเต้
     ฝ่ายสางหงวนฮองไทเฮา ซึ่งเป็นพระราชมารดาพระเจ้าเปงเต้ ครั้นพระ
ราชบุตรได้เสวยราชสมบัติในเมืองหลวงแล้ว จึงขอจูเอ๋งชันษาสองขวบเศษ
เป็นบุตรเล่าหืนเชื้อพระวงศ์เข้าไปเลี้ยงในพระราชวัง
       ขณะนั้นมีขุนนางผู้หนึ่งชื่ออองมัง เป็นบุตรอองบวนขุนนางผู้ใหญ่ครั้ง
แผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้ ครั้นอองบวนถึงแก่กรรม พระเจ้าเปงเต้ได้ราช
สมบัติ จึงตั้งอองมังรับราชการแทนที่อองบวนผู้บิดา อองมังมีบุตรหญิงคน
หนึ่งรูปโฉมงามพึ่งรุ่นจำาเริญวัย จึงถวายเข้าเป็นพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้
ชอบพระอัชฌาสัย ให้บุตรอองมังนั้นเป็นใหญ่ ได้บังคับพระสนมกรมฝ่ายใน
ทั้งปวง พระเจ้าเปงเต้จึงตั้งให้อองมังเป็นที่ใจเสียงขุนนางผู้ใหญ่ฝ่าย
พลเรือน วางพระทัยให้จัดแจงว่ากล่าวขุนนางฝ่ายหน้าสิทธิขาด อองมังทูล์
ตั้งผู้หนึ่งชื่อปักโก๋ ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท ขึ้นเป็นโซเหี้ยนขุนนางผู้ใหญ่ได้ว่า
กล่าวทหารในตำาแหน่ง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาราชการเมืองหลวงสิทธิ์ขาดอยู่
ในอองมังกับโซเหี้ยน บรรดาขุนนางนอกกว่าเชื้อพระวงศ์พระเจ้าเปงเต้นั้น
ต่างคนยำาเกรงอองมังยิ่งนัก ฝ่ายอองมังเห็นขุนนางอยู่ในอำานาจสิ้นแล้ว คิด
กำาเริบใจจะใคร่ตั้งตัวเป็นใหญ่ในราชสมบัติ คบคิดกันกับโซเหี้ยน จะคอย
ทำาร้ายพระเจ้าเปงเต้อยู่มิได้ขาด
       ครั้น ณ ปีฉลูเดือนยี่ขึ้นเจ็ดคำ่า รุ่งขึ้นแปดคำ่าเป็นวันประสูติพระเจ้าเปงเต้
เป็นประเพณีของขุนนางคอยถวายปั้นสิ้วให้พระมหากษัตริย์ทรงพระจำาเริญ
ในราชสมบัติ อองมังจึงหาโซเหี้ยนไป ณ ตึก จึงกระซิบบอกว่า เวลาเช้า
พรุ่งนี้เราจะถวายยาพิษพระเจ้าเปงเต้ ถ้าได้สมความคิดแล้วท่านจงปราบ
ปรามเชื้อพระวงศ์และขุนนางทั้งปวงให้อยู่ในอำานาจ ราชสมบัติได้แก่เรา
แล้วจะตั้งให้ท่านเป็นใหญ่สำาเร็จราชการในเมืองหลวง โซเหี้ยนรับคำาว่าถ้า
ท่านถวายยาพิษพระเจ้าเปงเต้ได้สมคิดแล้ว บรรดาเชื้อพระวงศ์ขุนนางซึ่ง
มิได้ยอมสวามิภักดิ์ด้วยท่านนั้น ข้าพเจ้าจะปราบลงเสียให้ราบคาบอย่าวิตก
เลย โซเหี้ยนพูดกับอองมังแล้วคำานับลาไปบ้าน จัดทหารคนสนิทที่เป็น
พรรคพวกถือเครื่องศาตราวุธครบมือเตรียมไว้
     ฝ่ายอองมังครั้นเวลาเช้าจึงประกอบยาพิษลงในสุรา ใส่จอกแก้วแล้ว
พาอองสิม อองขิม อองอิบผู้น้อง กับขุนนางคนสนิทเข้าไปคอยเตรียมเฝ้า
พระเจ้าเปงเต้ พร้อมกับโซเหี้ยนและขุนนางทั้งปวง
     ฝ่ายพระเจ้าเปงเต้ครั้นเวลาเช้า เสด็จออกทอดพระเนตรเห็นขุนนาง
ผู้ใหญ่น้อยทั้งปวง ถือจอกสุราเครื่องคำานับมาเตรียมถวายปั้นสิ้ว จึงตรัสสั่ง
นางพนักงานข้างในให้เชิญเครื่องเสวยออกมา แล้วให้เจ้าพนักงานข้างหน้า
ยกตะมาตั้งเตรียมเลี้ยงขุนนาง
     ฝ่ายอองมัง จึงถือจอกสุราเข้าไปทูลถวายพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้
คิดกริ่งพระทัยด้วยเห็นอองมังท่าทางองอาจ จึงรับจอกสุราวางไว้ยังไม่เสวย
อองมังเห็นเสียการไป จึงทูลว่าสุรานี้อย่างดีข้าพระองค์แกล้งจัดสรรบรรจง
มาถวาย ด้วยใจจงรักภักดีโดยสุจริต พระองค์อย่าคิดแหนงระแวงพระทัย
เลย เชิญเสวยสุราข้าพระองค์ผู้เป็นขุนนางผู้ใหญ่ก่อน จึงจะต้องด้วยอย่าง
ธรรมเนียม อองมังจึงจับจอกสุรารินเข้าไปในพระโอฐ สุรายาพิษตกถึงพระ
สอพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้ทรงพระอาเจีนยโลหิตออกมาเป็นอันมาก
เสด็จสู่สวรรคต บรรดาขุนนางเข้าเฝ้าต่างคนต่างตกตะลึงไปทั้งสิ้น
     ขณะนั้นขุนนางคนหนึ่งรูปร่างสูงหกศอก ชื่อเล่าเต้ง เชื้อพระวงศ์นั่งอยู่
ริบลับแล เห็นพระเจ้าเปงเต้อาเจียนโลหิตเพราะอองมังข่มขืนพระทัยให้
เสวยยาพิษ เล่าเต้งตกใจวิ่ออกมาว่ากล่าวหยาบช้า ด่าอองมังด้วยความ
โกรธว่าอ้วยขบถตัวมึงคิดประทุษร้ายทำาลายพระคุณพระเจ้าเปงเต้ ซึ่งชุบ
เลี้ยงเป็นขุนนางผู้ใหญ่ ให้ที่ยศศักดิ์ถึงขนาด ตัวเป็นขุนนางเข้าเฝ้าคิด
อกตัญญูต่อเจ้าแผ่นดินอันทรงพระคุณ หาผู้สรรเสริญมิได้ อองมังจึงตอบว่า
ราชสมบัติในเมืองหลวงนี้ เดิมเป็นของพระเจ้าจิ๋นซีฮองเต้ พระเจ้าจิ๋นซีฮอง
เต้ได้ทำานุบำารุงแผ่นดินสืบเชื้อพระวงศ์กษัตริย์มาถึงพระเจ้ายีซีฮองเต้ เล่า
ปังปู่ของท่านกับห้างอี๋เกลี้ยกล่อมทหาร ยกมาทำาการศึกสามปี เตียวโก๋ทำา
ประทุษร้ายต่อพระเจ้ายีซีฮองเต้ ยกพระเจ้าซาซีฮองเต้ขึ้นเสวยราชสมบัติ
เล่าปังยกทัพเข้าชิงเมืองหลวง ห้างอี๋ทีกำาลังมากขับเล่าปังเสีย ห้องอี๋ได้
ครองเมืองหลวงเป็นฌ้อปาอ๋อง ปู่ของท่านยกมาทำาศึกกับฌ้อปาอ๋องถึงห้า
ปี จึงได้ราชสมบัติเป็นกษัตริย์สืบเชื้อพระวงศ์มาช้านาน เล่าปังปู่ของท่าน
เป็นแต่บุตรชาวบ้านไผ่ก๋วน ยังคิดตั้งตัวเป็นใหญ่สืบเชื้อพระวงศ์มาหลายชั่ว
กษัตริย์ บัดนี้บุญเราจะถึงที่เป็นกษัตริย์ บำารุงแผ่นดินสืบไปภายหน้า เทวดา
จึงบันดาลให้เราคิดการสำาเร็จได้โดยง่าย บัดนี้สมบัติตกอยู่ในเงื้อมมือเราตัว
เป็นแต่ขุนนางข้าเฝ้า องอาจออกมาว่ากล่าวหยาบช้าไม่กลัวอาญา ชอบให้
จับตัวไปผ่าปากเสียจึงจะสมโทษ เล่าเต้งได้ยินยิ่งโกรธนักชักไม้เซี่ยวฮุดวิ่ง
เข้าตีถูกอองมังเป็นหลายที
     ฝ่ายโซเหี้ยนเห็นดังนั้นจึงชักกระบี่ออกจากเสื้อ เงื้อกระบี่ป้องปัดช่วยออ
งมัง แล้วร้องตวาดเล่าเต้งว่า เหตุใดจึงบังอาจตีเจ้าชีวิตด้วยไม้ ไม่เกรง
อาญาโทษถึงตาย กูจะตัดศีรษะเสียอย่าให้ขุนนางดูเยี่ยงอย่างสืบไป ว่าแล้ว
ก็เอากระบี่ฟันเล่าเต้งคอขาดตาย อองมังดีใจสรรเสริญโซเหี้ยนว่า มิเสียที
ท่านช่วยเป็นใจเจ็บร้อน ควรที่จะเป็นขุนนางผู้ใหญ่ โซเหี้ยนจึงแกว่งกระบี่
ร้องประกาศว่า ขุนนางทั้งปวงจงพร้อมใจกัน ช่วยเจ้าเมืองของเราบำารุงแผ่น
ดินสืบไป แม้นผู้ใดไม่ยอมสามิภักดิ์จะจับฆ่าเสีย ฝ่ายขุนนางเต่างคนต่าง
กลัวอาญายอมเข้าด้วยอองมังเป็นอันมาก แต่ผู้ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์กับ
ขุนนางที่มีใจซื่อตรงต่อพระเจ้าเปงเต้ ต่างคนหลบหลีกหนีอพยพครอบครัว
เข้าอยู่ป่า แปลงแซ่เปลี่ยนชื่อเสียมิให้พวกอองมังรู้จัก โซเหี้ยนให้ทหารจับ
ขุนนางซึ่งมิได้ยอมเข้าด้วย เอาไปฆ่าเสียเป็นหลายคน
3. อองมังยกจูเอ๋งขึ้นเป็นกษัตริย์
     ฝ่ายอองมังครั้นขุนนางราบคาบแล้ว จึงให้ทหารยกพระศพพระเจ้าเปง
เต้และเล่าเต้ง ออกไปฝังเสียนอกเมือง แล้วถามขุนนางว่าตราหยกสำาหรับ
กษัตริย์ พระเจ้าเปงเต้ให้ผู้ใดรักษา โซเหี้ยนจึงบอกว่าตราหยกอยู่กับฮอง
ไทเฮา อองมังจึงสั่งอองสิมกับโซเหี้ยนเข้าไปเรียกเอาตราหยกที่ฮองไทเฮา
ออกมา ทั้งสองคำานับลาพากันเข้าไปในพระราชวัง ฝ่ายพนักงานใช้ ขณะ
เมื่ออองมังถวายสุราพระเจ้าเปงเต้อาเจียนพระโลหิตสิ้นพระชนม์ ต่างคน
ต่างตกประหม่าหน้าซีดวิ่งไปทูลฮองไทเฮาทุกประการ
     ฝ่ายฮองไทเฮาพระราชมารดาพระเจ้าเปงเต้ กับพระวงศานุวงศ์ใน
พระราชวัง แจ้งความว่าอองมังกับโซเหี้ยนคิดขบถ ถวายยาพิษพระเจ้าเปง
เต้เสด็จสวรรคต ฮองไทเฮามีพระทัยหวาดไหวเหมือนอองมังตัดเอาพระ
เศียรสิ้นสติสมประดี สลบนิ่งอยู่บนพระที่นั่ง บรรดาเชื้อพระวงศ์และนางพระ
สนมทั้งปวงพากันร้องไห้รักพระเจ้าเปงเต้อื้ออึงทั้งพระราชวัง ฮองไทเฮา
ครั้นฟื้นสมประดีมา จึงทรงพระกรรแสงรำาพันว่า อองบวนบิดาอองมังครั้ง
แผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้นั้น อองบวนซื่อตรงต่อแผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้
ตั้งแต่เป็นขุนนางผู้ใหญ่ ช่วยบำารุงราษฎรอยู่เย็นเป็นสุขมา ตราบเท่าสิ้นแผ่น
ดินพระเจ้าหงวนเต้ พระเจ้าเปงเต้ได้ครองเมืองหลวง กรุณาชุบเลี้ยงอองมัง
ถึงขนาด มิได้มีข้อเคืองแก่กัน ไม่ควรที่จะคิดการขบถประทุษร้าย อองมัง
เป็นคนอกตัญญูทำาลายคุณพระเจ้าเปงเต้เสียครั้งนี้สิ้นบุญพระราชบุตรแล้ว
จะมีชีวิตอยู่จะได้แต่ความลำาบาก ฮองไทเฮาทรงพระกรรแสงพลาง หยิบ
ดวงตราหยกสำาหรับกษัตริย์ห่อพระภูษาไว้กับพระสอ จะเสด็จไปโจนลง
บ่อนำ้าให้สิ้นชีวิต พออองสิมกับโซเหี้ยนตามมาทัน ทูลฮองไทเฮาว่า ตรา
หยกสำาหรับพระเจ้าเปงเต้มอบไว้ จะขอเอาไปให้อองมัง ฮองไทเฮาได้ยิน
ชื่ออองมังยิ่งมีความแค้นมากขึนมิได้ตรัสโต้ตอบประการใด เสด็จรีบสาว
                                ้
พระบาทจะไปให้ถึงบ่อนำ้า โซเหี้ยนรีบเดินเข้าไปจะชิงตราหยกที่ฮองไทเฮา
ผูกไว้ที่พระสอ ฮองไทเฮาโกรธจึงเอาตราหยกทิ้งออกไปตกต้องแผ่นศิลา
โซเหี้ยนหยิบมาเห็นตราสลายไปเหลี่ยมหนึ่งก็โกรธ ชักกระบี่ออกจากฝักไล่
บุกรุกจะฟันฮองไทเฮาไปถึงบ่อ พอฮองไทเฮาโจนลงบ่อนำ้าสิ้นชีวิต อองสิม
จึงพาโซเหี้ยนออกมาส่งตราสำาหรับกษัตริย์ให้อองมัง แล้วเล่าความให้ฟัง
ทุกประการ อองมังเห็นตราสลายก็โกรธ จึงให้ช่างทองตีทองธรรมชาติ
ประกบกับเหลี่ยมตราให้เป็นปกติดังเก่า แล้วสั่งอองสิมกับโซเหี้ยนคุมทหาร
สามพัน สืบจับตัวเชื้อพระวงศ์พระเจ้าเปงเต้ทั้งข้างหน้าข้างในฆ่าให้สิ้นทั้ง
ชายหญิง โซเหี้ยนกับอองสิมพาทหารไปตามคำาสั่งอองมัง แต่เชื้อพระวงศ์
ฝ่ายในเอาไปฆ่าเสียเป็นคนแปดร้อยเศษ โซเหี้ยนพาทหารเที่ยวสืบจับเชื้อ
พระวงศ์ในเมืองหลวง ไปฆ่าเสียเป็นอันมาก
     ฝ่ายเล่าคิมรู้อองมังเป็นกบฎตกใจ จึงให้คนใช้ปิดประตูบ้านเสีย แล้ว
สองคนกับภรรยาร้องไห้รักกัน เล่าคิมอุ้มเล่าสิ้วบุนซกขึ้นตักสั่งว่า ตัวเจ้า
มีอายุถึงเก้าขวบ ต้องตกยากพรากบิดามารดา สมดังซินแสทำานายไว้มิผิด
เจ้าจงหลบหลีกหนีพวกอ้ายกบฎ ออกไปหาพี่ชายกับอาของเจ้า ซ่อนตัวอยู่
ณ บ้านป่าแปะจุ๋ยฉิง แม้นจำาเริญวัยใหญ่กล้า จงซ่องสุมทแกล้วทหารคิด
ทำาการใหญ่ จับอ้ายอองมังฆ่าเสียคืนเอาแผ่นดินให้จงได้ พอได้ยินเสียง
ทหารพวกโซเหี้ยนอื้ออึงมาถึงประตูบ้าน เล่าคิมตกใจกลัวโซเหี้ยนจะจับมัด
ผูกโบยตีจะให้นำาญาติวงศ์ จึงกุมมือภรรยาวิ่งไปโจนลงบ่อนำ้าตาย แต่เล่าสิ้ว
บุนซกผู้บุตรนั้น เข้าแอบแฝงตัวอยู่ในสวนดอกไม้
      ฝ่ายโซเหี้ยนพาทหารเที่ยวจับเชื้อพระวงศ์ มาถึงบ้านเล่าคิมเห็นประตู
ปิดอยู่ จึงให้ทหารปีนกำาแพงแก้วเข้าไปจับคนใช้เล่าคิมมาไต่ถาม คนใช้นำา
ไปพบศพเล่าคิมในบ่อนำ้า โซเหี้ยนจึงให้ทหารขึนค้นบนตึก ขนเอาทรัพย์สิน
                                                    ้
เงินทองออกจากบ้านเล่าคิม
      เล่าสิ้วบุนซกเข้าไปแอบแฝงซ่อนตัวอยู่ ณ พุ่มไม้ในสวน พอจวนเวลา
เย็นพวกโซเหี้ยนกลับไป แล้วจึงออกมาเห็นศพบิดามารดาอยู่ในบ่อนำ้า เล่า
สิ้วบุนซกร้องไห้รักบิดามารดาอยู่ที่ปากบ่อเป็นช้านาน ครั้นค่อยคลาย
สมประดี ตกใจกลัวพวกโซเหี้ยนจะมาพบจึงคำานับลาศพบิดามารดา
แอบแฝงออกจากบ้าน พอเวลาพลบคำ่าจำาหน้ากันมิถนัด จึงปลอมตัวเป็น
ชาวเมืองเดินตามถนนออกจากประตูเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เดิน
ทางเพลากลางคืนไปถึงบ้านแห่งหนึ่งเข้าไปอาศัยพำานักนอน
     ฝ่ายชาวบ้านเห็นราตคต ซึ่งผูกประจำาตัวเล่าสิ้วบุนซกไปเป็นสำาคัญก็รู้ว่า
เชื้อพระวงศ์กษัตริย์ ต่างคนต่างมีความกรุณาหาข้าวปลาอาหารให้กิน แล้ว
ส่งตัวเล่าสิ้วบุนซกไปอาศัยซ่อนตัวอยู่กับพวกคนหนี
     ฝ่ายอองมังขณะเมื่อให้ทหารเข้าค้นจับเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน อองมังถือ
ดาบเดินเข้าไปในวัง พอเห็นจูเอ๋งบุตรเลี้ยงฮองไทเฮาวิ่งหนีพวกทหารสวน
ออกมา ชันษาจูเอ๋งประมาณสามขวบเศษอองมังคิดจะป้องกันความนินทา
จึงอุ้มจูเอ๋งออกมานั่ง ณ ที่เสด็จออก ให้หาโซเหี้ยนเข้ามาบอกว่า เราคิดจะ
ยกจูเอ๋งขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์แทนพระเจ้าเปงเต้ จะระงับหัวเมืองมิ
ให้กำาเริบท่านจะเห็นประการใด โซเหี้ยนจึงว่าขุนนางเข้าเฝ้าทั้งปวงยอม
พร้อมใจกันให้ท่านว่าราชการเมืองหลวง ท่านคิดทำาการใหญ่สำาเร็จแล้วจะ
ยกจูเอ๋งเชื้อพระวงศ์ขึ้นเป็นกษัตริย์นั้น ถ้าจูเอ๋งเจริญในราชสมบัติไปภาย
หน้า ท่านกับข้าพเจ้าจะได้ความเดือดร้อนยิ่งนัก ขอท่านจงตรึงตรองก่อน
     อองมังจึงว่าท่านเห็นการไม่ลึกซึ้ง เรายกจูเอ๋งขึ้นเป็นกษัตริย์จะกันความ
นินทาหวังจะให้ราษฎรหัวเมืองทั้งปวงสำาคัญคิดว่า เรามีใจซื่อตรงเหมือน
อย่างจิงก๋งต้าน ครั้งพระเจ้าจิวบุนอ๋องสวรรคต จิวเซงอ๋องราชบุตรยังเยาว์
อยู่ จิวก๋งต้านจึงอุ้มจิงเซงอ๋องออกมาว่าราชการเมือง กราบเท้าจิวเซงอ๋อง
เจริญในราชสมบัติ เราเอาธรรมเนียมอย่างจิวก๋งต้าน หวังจะล่อลวงผู้ซึ่งเป็น
เชื้อพระวงศ์ไปครองเมืองน้อยใหญ่ให้มาเมืองหลวง จะคิดอุบายฆ่าเสียให้
สิ้นแผ่นดินราบคาบ แล้วภายหลังจึงจะฆ่าจูเอ๋งเสีย โซเหี้ยนได้ฟังเห็นชอบ
ด้วยจึงสรรเสริญว่า กลอุบายท่านคิดลึกซึ้งสมควรเป็นเจ้าแผ่นดิน ข้าพเจ้า
คิดไปไม่ถึง โซเหี้ยนจึงคำานับลาออกมาให้ประชุมขุนนางพร้อมกันทุก
ตำาแหน่ง
     อองมังจึงมอบราชสมบัติให้จูเอ๋งเป็นกษัตริย์ในเมืองหลวง แต่อองมังนัน     ้
ตั้งตัวเป็นเก๋ฮ่องเต้ได้กำากับจูเอ๋ง จูเอ๋งฮ่องเต้เปลี่ยนศักราชกษัตริย์พระองค์
ใหม่ ณ ปีขาลเดือนห้าขึ้นห้าคำ่า อองมังเข้าอยู่กับจูเอ๋งในวัง เวลาขุนนาง
เข้าเฝ้าอองมังอุ้มจูเอ๋งเสด็จออกว่าราชการเมืองหลวงทุกวันมิได้ขาด
4. จูเอ๋งป่วยถึงอำสัญกรรม
    ครั้น ณ ปีเถาะเดือนหก อองมังเห็นขุนนางเมืองหลวงราบคาบเป็นปกติ
แล้ว จึงแต่งหนังสือรับสั่งจูเอ๋งฮ่องเต้ ใจความว่าพระเจ้าเปงเต้ผู้รักษาเมือง
หลวง สติปัญญาโฉดเขลาไม่เอาธุรกิจการแผ่นดิน เสวยแต่สุราเมาเหลือ
กำาลังบังเกิดโรคปัจจุบัน อาเจียนพระโลหิตสิ้นพระชนม์แล้ว ขุนนางน้อย
ใหญ่ในเมืองหลวงประชุมพร้อมยอมยกเราผู้ชื่อจูเอ๋งเชื้อพระวงศ์เสวยราช
สมบัติ เปลี่ยนกษัตริย์แผ่นดินใหม่ ให้ขนนางและเชื้อพระวงศ์ซึ่งครองเมือง
                                           ุ
น้อยใหญ่เร่งเข้ามาพร้อมกัน ณ เมืองหลวง จะจัดแจงเลื่อนให้ยศศักดิ์โดย
ตามสมควร แม้นเมืองใดขัดรับสั่งตั้งแข็งเมืองอยู่ มิได้เข้ามาอ่อนน้อมยอม
ถวายดอกไม้เงินทองตามอย่างธรรมเนียม จะเกณฑ์กองทัพยกไปจับตัวเจ้า
เมืองฆ่าเสีย อองมังส่งหนังสือให้ขนนางพนักงานทหารพลเรือน แจกไปแก่
                                       ุ
หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวง
      ฝ่ายเชื้อพระวงศ์ซึ่งเป็นเจ้าครองเมือง แจ้งความตามหนังสือนั้น รู้ว่าออ
งมังแต่งกลอุบายล่อลวงเข้าเมืองหลวงต่างคนแข็งเมืองอยู่ แต่ผู้ที่ไม่ได้เป็น
เชื้อพระวงศ์ไปรักษาเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงนั้น ครั้นแจ้งความในหนังสือว่า
พระเจ้าเปงเต้ผู้ครองเมืองหลวง เสวยสุราบังเกิดโรคปัจจุบันเสด็จสวรรคต
ขุนนางในเมืองหลวงพร้อมใจกันยกจูเอ๋งชันษาสามขวบเศษ เชื้อพระวงศ์
พระเจ้าเปงเต้ขึ้นครองราชสมบัติ แต่ยังทรงพระเยาว์นัก จะว่าราชการเมือง
หลวงยังมิได้ อองมังขุนนางผู้ใหญ่กำากับว่าราชการเมืองหลวงอยู่ เห็นว่าออ
งมังขุนนางผู้ใหญ่มีใจสัตย์ซื่อคิดชอบ ประกอบการทั้งปวงเหมือนอย่างจิงอ๋
องต้าน ซึ่งว่าราชการแทนจิงอ๋องเส้งพระราชบุตรพระเจ้าจิวบุนอ๋องแต่ก่อน
หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงต่างส่งเครื่องราชบรรณาการเข้ามาถวายจูเอ๋ง
ฮ่องเต้ ซึ่งเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ ณ เมืองหลวงพร้อมกันทุกหัวเมือง
      ฝ่ายอองมัง ครั้นมิได้เห็นผู้ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์เข้ามาไม่สมความคิดจึง
เอาในเผื่อแผ่ ตั้งขุนนางผู้ครองเมืองน้อยให้ได้ครองเมืองใหญ่ ขุนนาง
ผู้ใหญ่ให้พระราชทานบ้านส่วยและยศศักดิ์ เพิ่มขึ้นมากกว่าแต่ก่อน แล้วจัด
ทหารคนสนิทซึ่งเป็นพรรคพวกไปเป็นขุนนางกำากับผู้รักษาเมืองอยู่ทุกเมือง
แล้วให้เสื้อผ้าเงินทองแก่ผู้รักษาเมืองทั้งปวงตามสมควร จัดแจงให้คืนไป
อยู่รักษาเมืองน้อยใหญ่เหมือนดังแต่ก่อน
       ครั้นเดือนสี่ปีมะโรง อองมังจึงให้หาโซเหี้ยนเข้าไปที่ข้างในปรึกษาว่า
ขุนนางหัวเมืองทั้งปวงนั้นเราเห็นว่าปกติราบคาบอยู่แล้ว แต่ขุนนางในเมือง
หลวงนั้น เรียบร้อยกว่าแต่ก่อนหรือยังมีเสี้ยนหนามอยู่เป็นประการใด โซ
เหี้ยนจึงบอกว่าบรรดาขุนนางข้าราชการทั้งปวงเกรงกลัวอำานาจท่านสิ้น
ขุนนางซึ่งเป็นเสี้ยนหนาม ข้าพเจ้าปราบปรามราบคาบ ราชสมบัติในเมือง
หลวงตกอยู่ในเงื้อมมือท่าน แต่ข้าพเจ้าคิดวิตกอยู่ด้วยจูเอ็งเชื้อฮั่นเปงเต้
ท่านเอามาตั้งไว้เป็นกษัตริย์ จะล่อลวงให้เชื้อพระวงศ์เข้ามามิได้สมคิด แต่จู
เอ๋งอยู่ในราชสมบัติถึงสามปี มีชันษาล่วงเข้ามาถึงเจ็ดขวบแล้ว ถ้าละไว้นาน
ไปจูเอ๋งจะคิดชิงเอาราชบัลลัง กำาจัดท่านเสียเป็นมั่นคง ซึ่งท่านจะดูหมิน  ่
เชื้อกษัตริย์ เหมือนเอาอสรพิษมาเลี้ยงไว้ไม่ต้องตามธรรมเนียม ขอท่านจง
เอาตัวจูเอ๋งไปฆ่าเสียแต่เยาว์อยู่ฉะนี้ ราชสมบัติในเมืองหลวงจึงเป็นสิทธิ์
ขาดอยู่แก่ท่าน อองมังจึงว่าท่านว่าจูเอ๋งเป็นเชื้อพระวงศ์กษัตริย์ เหมือน
อสรพิษมิให้คิดประมาทนั้นชอบ แต่จะฆ่าจูเอ๋งเป็นทารกอายุไม่ถึงสิบขวบ
นัน จะมีคำานินทาว่าเราชิงราชสมบัติจูเอ๋ง จำาจะคิดฆ่าเสียด้วยอุบาย อย่าให้
  ้
ขุนนางราษฎรหัวเมืองทั้งปวงล่วงว่ากล่าวติเตียนจึงจะชอบ ท่านจงออกไป
ชุมนุมขุนนางให้พร้อม ณ ที่เฝ้า เราจะปรึกษาตั้งจูเอ๋งเป็นอันเตงก๋ง โซ
เหี้ยนคำานับลามาประชุมขุนนางตามคำาสั่ง
      อองมังจึงออกมาที่ข้างหน้าปรึกษาขุนนางว่า จูเอ๋งฮ่องเต้เยาว์นักจะว่า
ราชการเมืองหลวงนั้นมิได้ จะตั้งให้เป็นที่อันเตงก๋ง พอชันษาจำาเริญขึ้นควร
จะว่าราชการแผ่นดิน แล้วจึงจะคืนราชสมบัติในเมืองหลวงให้จูเอ๋งฮ่องเต้ต่อ
ภายหลัง ท่านจะเห็นประการใด โซเหี้ยนกับขุนนางคนสนิทรู้อัชฌาสัยจึงว่า
จูเอ๋งนั้นชันษายังเยาว์นัก ซึ่งจะเป็นกษัตริย์สืบไปข้าพเจ้าเห็นว่าถ้ามีผู้ทูล
ยุยงให้ตรัสสั่งการอันผิดด้วยอย่างธรรมเนียม มีผู้ทำาตามรับสั่งกฎหมาย
สำาหรับแผ่นดินจะฟั่นเฟือนไป คำาซึ่งปรึกษาจะให้จูเอ๋งเป็นอันเตงก๋งนั้น
ข้าพเจ้าทั้งปวงเห็นชอบด้วย อองมังจึงตั้งจูเอ๋งเป็นที่อันเตงก๋ง จัดแจง
ตำาหนักที่วังให้เป็นที่อาศัย แล้วสั่งขุนนางคนสนิทให้ไปกำากับกักขังอันเต
งก๋งไว้ในตำาหนักมิให้ส่งอาหาร อันเตงก๋งได้รับความลำาบากด้วยอดอาหาร
อยู่ประมาณเจ็ดวันสุดสิ้นกำาลังขาดใจตาย ขุนนางผู้กำากับจึงมาแจ้งแก่ออ
งมังต่อหน้าขุนนางทั้งปวง อันเตงก๋งป่วยถึงอาสัญกรรม อองมังได้ยินแกล้ง
ทำาตกใจ แล้วสั่งให้ทำาการฝังศพตามธรรมเนียม

 5. อองมังเป็นต้นกษัตริย์
     ครั้น ณ เดือนสิบเอ็ดโซเหี้ยนจึงให้ประชุมขุนนางพร้อมกัน มอบเวรราช
สมบัติให้อองมังเป็นต้นกษัตริย์ เปลี่ยนศักราชใหม่ในปีมะโรง อองมังได้
ครองราชสมบัติในเมืองหลวงแล้ว จึงจัดแจงผู้มีความชอบเลื่อนที่ยศศักดิ์รับ
ราชการตามตำาแหน่ง ให้โซเหี้ยนเป็นไต้สุม้า บังคับความว่ากล่าวขุนนางหัว
เมืองทั้งปวง อองสิมเป็นไต้สุมเตาบังคับขุนนางเข้าเฝ้าในเมืองหลวง อองอิ
บกับอองขิมเป็นขุนนางได้ว่ากล่าวทหารทั้งซ้ายขวา บรรดาขุนนางคนสนิท
ได้เลื่อนที่เป็นขุนนางตามสมควร
     อยู่มาวันหนึ่ง อองมังคิดเกลี้ยกล่อมผู้มีสติปัญญา สืบรู้ว่ากิหยงเซ่งเป็น
ขุนนางผู้เฒ่ารู้จักขนบธรรมเนียม เคยได้สั่งสอนหนังสือพระราชบุตรแห่งพระ
มหากษัตริย์สืบมา จึงให้ไปเชิญกิหยงเซ่งเข้ามาว่ากล่าวเกลี้ยกล่อมว่า
ข้าพเจ้ารู้ว่าท่านเป็นขุนนางรู้จักขนบธรรมเนียมเป็นอันมาก จึงเชิญมาให้สั่ง
สอนหนังสืออองอูบุตรข้าพเจ้า แม้นานไปภายหน้าอองอูได้เป็นกษัตริย์สืบ
เชื้อพระวงศ์ในเมืองหลวง อองอูจะขอบคุณท่านซึ่งเป็นอาจารย์ จะชุบเลี้ยง
ลูกหลานท่านให้เป็นขุนนางตามสมควร ท่านจะเห็นประการใด กิหยงเซ่ง
ได้ยนอองมังว่ากล่าวเกลี้ยกล่อม คิดถึงพระคุณพระเจ้าเปงเต้กลั้นนำ้าตามิได้
     ิ
ร้องไห้ด้วยความแค้นอองมังแต่มิได้ออกปาก จึงว่าข้าพเจ้าเป็นขุนนางผู้
เฒ่าพระเจ้าเปงเต้ชุบเลี้ยงโดยสุจริต คิดจะทำาการฉลองพระคุณมิได้ขาด
บัดนี้พระเจ้าเปงเต้สวรรคตควรจะตามเสด็จไป ซึ่งท่านจะให้ข้าพเจ้าครอง
ชีวิตอยู่ในแผ่นดิน จะมีผู้นนทาว่าเป็นคนอกตัญญูไม่ซื่อตรงต่อเจ้าของตัว
                           ิ
ความชั่วจะลือชื่ออยู่ตราบเท่าลูกหลาน หนึ่งอายุข้าพเจ้าถึงเจ็ดสิบเก้าปี
ชราภาพแล้ว จะขอลารักษาความสัตย์กตัญญูไปกว่าชีวิตจะสิ้น อองมังจึงว่า
ท่านเป็นขุนนางซื่อตรงต่อแผ่นดินยิ่งนัก ข้าพเจ้ามีความรักใคร จะใคร่ได้ไว้
เป็นขุนนางผู้ใหญ่ในตำาแหน่งที่ปรึกษา จึงว่ากล่าวชักชวนโดยดี ซึ่งเชื้อพระ
วงศ์พระเจ้าฮั่นโกโจนัน ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินลำาดับมาถึงสิบสองชั่วกษัตริย์
                       ้
ควรที่จะเสื่อมสูญสิ้นเชื้อพระวงศ์ผู้มีบุญอยู่แล้ว บุญญาธิการข้าพเจ้าจะถึงที่
เป็นกษัตริย์ เทพยดาจึงบันดาลให้เกิดวิบัติ ต้องเปลี่ยนกษัตริย์แผ่นดินใหม่
ฉะนี้ตัวท่านเป็นขุนนางรู้ขนบธรรมเนียม ช่วยกันทำานุบำารุงไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน
ได้อยู่เย็นเป็นสุข แล้วหาผู้ใดจะนินทาได้ไม่ อองมังจึงให้เงินทองเสื้อผ้า
เป็นอันมาก ให้ขุนนางพยุงตัวกิหยงเซ่งไปไว้กับอองอูแกล้งกักขังไว้ หวังจะ
ให้ยอมรับทำาราชการในตำาแหน่งที่ขุนนางผู้ใหญ่
     ฝ่ายกิหยงเซ่งอยู่ในวังอองอูบุตรอองมังเป็นหลายวัน ตั้งแต่ทุกข์
ตรอมใจมิได้กินอาหาร จนซูบผอมมีแต่หนังหุ้มกระดูกอยู่ถึงสิบสี่วัน กิหยง
เซ่งสิ้นสุดกำาลังขาดใจตาย ฝ่ายอองอูครั้นรู้กิหยงเซ่งสิ้นชีวิตแล้ว จึงเข้า
พระราชวังคำานับอองมังผู้เป็นบิดา แล้วแจ้งความทุกประการ อองมังรู้ว่ากิห
ยงเซ่งขุนนางซื่อสัตย์ไม่กินอาหารถึงสิบสี่วันตายมีความเสียดายยิ่งนัก จึง
เอาศพไปฝังเสียนอกประตูเมืองเบื้องทิศตะวันออก แล้วจึงให้หาตัวกิจุน
หนึ่ง ซิหงหนึ่ง ซุนเซียงหนึ่ง ตึงหลิมหนึ่ง ตึงจุนหนึ่ง ขุนนางห้าคนซึ่งเป็น
คนรูหนังสือลึกซึ้ง เป็นอาลักษณ์เก่าครั้งพระเจ้าเปงเต้นั้นให้เข้ามา คนใช้
     ้
ไปหาตัวหาพบตัวซิหงไม่ ได้แต่ขุนนางสี่คนมา อองมังจึงว่าท่านทั้งสี่มีสติ
ปัญญารู้หนังสือลึกซึ้ง เราหามาจะให้ช่วยสอนหนังสืออองอู อองมังจึงส่ง
ขุนนางสี่คนไปอยู่กับอองอู แล้วให้คนไปหาตัวซิหง คนใช้ไปสืบพบตัวซิหง
จึงบอกความตามอองมังสั่ง ซิหงไม่ยอมมาจึงว่าแก่คนใช้อองมังว่า นาย
ท่านมีบุญแล้วจงอยู่ครองสมบัติให้เป็นสุข ตัวเราเป็นข้าพระเจ้าเปงเต้ พระ
เจ้าเปงเต้หาพระชนม์ไม่แล้ว เราจะออกอยู่ป่าหาความสุข ซิหงก็ไปอยู่เขากิ
สาน คนใช้จึงกลับมาแจ้งความแก่อองมัง อองมังมิได้ว่าประการใด ฝ่าย
ราษฎรชาวทั้งปวงแจ้งความดังนั้น จึงพากันสรรเสริญว่า กิหยงเซ่งกับซิหง
ขุนนางทั้งสองคนนี้มีใจซื่อสัตย์ต่อพระเจ้าเปงเต้ยิ่งนัก
       ฝ่ายอองมังครั้นได้ครองราชสมบัติในเมืองหลวง สารพัดบริบูรณ์ทุกสิ่ง
ยิ่งมีใจโลภมากขึ้น อยู่มาวันหนึ่งอองมังออกขุนนางจึงปรึกษาไต้สุม้าโซ
เหี้ยนว่า เราได้ดูหนังสือที่มีมาตั้งแต่ครั้งพระเจ้าซำาอ๋องกษัตริย์สามพระองค์
แผ่นดินพระเจ้าหงอเต้กษัตริย์ห้าพระองค์ ตั้งแต่งเป็นกฎหมายสำาหรับแผ่น
ดินไว้ว่า ที่นาราษฎรทำามาหากินนั้น ให้ขุนนางผู้เป็นกรมนารังวัดนาสิบไร่
ให้ยกเอาเป็นของหลวงไร่หนึ่ง ขุดบ่อสำาหรับขังนำ้าให้ไว้ราษฎรผู้ทำานาสิบไร่
มีบ่อหนึ่ง เป็นกำาหนดกฎหมายไว้ฉะนี้เห็นว่าเมล็ดข้าวเปลือกที่จะได้เป็น
ส่วนของหลวงนั้นน้อยนัก เราคิดว่าจะแปลงกฎหมายใหม่ ราษฎรทำาสี่ไร่ให้
ยกเอาผลเมล็ดข้าวขึ้นฉางหลวงไร่หนึ่ง ยกให้ราษฎรผู้ทำานั้นสามไร่ ท่านจะ
เห็นว่าประการใด ไต้สุม้าโซเหี้ยนเห็นชอบคำานับแล้วตอบว่า ซึ่งกฎหมายตั้ง
แต่งไว้สำาหรับใช้ในแผ่นดินซำาอ๋องหงอเต้แต่ก่อน บัดนีแผ่นดินของท่าน ซึ่ง
                                                          ้
ท่านจะจัดแจงแปลงกฎหมายสำาหรับแผ่นดินนั้น ชอบด้วยอย่างธรรมเนียม
กษัตริย์ หาผู้ใดจะขัดขวางไม่ อองมังจึงให้แปลงกฎหมายแจกไปแก่หัว
เมืองทั้งปวง ให้ราษฎรทำานาสี่ไร่คิดเอาเป็นของหลวงไร่หนึ่ง ตามผู้มีเนื้อนา
มากและน้อย

 6. อองสิมเป็นแม่ทัพหลวงตีเมืองยงเหนำ
      ฝ่ายราษฎรทั้งปวงต้องเร่งรับข้าวเปลือกขึ้นฉางหลวง ที่ทำานาได้ผล
น้อยได้ความทุกข์ยาก จะขายที่เนื้อนาก็กลัวอาญาอองมังจะเอาโทษ ต่าง
คนอพยพทิ้งบ้านเรือนเข้าป่า เร้นซ่อนอยู่ในซอกห้วยธารเขาเป็นอันมาก
ฝ่ายอองมังว่าราชการเมืองหลวงได้สามปี ครั้น ณ ปีมะแม อองมังคิดจะใคร่
ได้อาณาเขตกว้างขวาง จึงประชุมขุนนางพร้อมกันเกณฑ์กองทัพจะไปตี
เมืองยงเหนา มีขนนางคนหนึ่งชื่อเงี่ยมอิ๋วจึงห้ามอองมังว่า เมืองยงเหนานั้น
                    ุ
ทแกล้วทหารเป็นอันมากหาผู้ใดจะล่วงแดนไปยำ่ายีได้ไม่ ข้าพเจ้าดูหนังสือ
เรื่องจดหมายเหตุ แต่ครั้งพระเจ้าบุนอ๋องมีบุญญาธิการมาก ได้ไปรบชนะยง
เหนาครั้งหนึ่ง แผ่นดินพระเจ้าจินซีอ่องเต้นั้น ปราบหกเมืองใหญ่ได้ก็ยัง
                                  ๋
เกรงเจ้าเมืองยงเหนาจะเข้ามาเหยียบแดน จึงให้ก่อกำาแพงกั้นชาวเมืองข้าง
ต่อแดนยงเหนาไว้ จนไพร่บ้านพลเมืองล้มตายเป็นอันมาก ครั้งแผ่นดินฮั่นบู๊
เต้เกณฑ์ทหารมีฝีมือกล้าแข็งแต่งเป็นกองโจร เข้าซุ่มทัพตีเมืองยงเหนา
เมืองยงเหนากลับยกทัพเหยียบแดนเข้ามา ฮั่นบู๊เต้แต่งทหารออกมาขัดตา
ทัพกันแดนไว้ถึงสามสิบปีเศษ ไพร่พลเมืองได้ความลำาบาก ครั้นอยู่มา
พระเจ้าฮั่นบู๊เต้ จัดทหารผู้มีสติปัญญาชำานาญในการกลศึกเป็นแม่ทัพยกไป
คิดอุบายล่อลวงจับยงเหนาได้ พระเจ้าฮั่นบู๊เต้ให้ปล่อยตัวยงเหนาคืนไป
เมือง ยงเหนาจึงมิได้ยกมายำ่ายี เมืองหลวงว่างศึกมาคุ้มเท่าทุกวันนี้ ครั้งนี้
ท่านพึ่งได้ราชสมบัติใหม่ ทั้งทแกล้วทหารที่มีฝีมือกล้าแข็งและผู้มีสติ
ปัญญาก็เบาลง ทั้งข้าวปลาอาหารก็หาบริบูรณ์เหมือนแต่ก่อนไม่ ซึ่งท่านจะ
ให้ยกทัพไปตีเมืองยงเหนาครั้งนี้ ข้าพเจ้าคิดวิตกนัก อองมังฟังเงียมอิ๋วห้าม
จึงสั่งให้อองสิมเป็นแม่ทัพหลวง ซุยฮุยเป็นทัพหน้า อองอิบกับอองขิมเป็น
ปีกซ้ายขวา คุมทหารห้าหมื่นยกออกจากเมืองหลวงเดินทัพไปหลายวัน ถึง
ปลายแดนเมืองยงเหนา อองสิมให้ตั้งค่ายมั่นลงไว้ปลายด่าน ฝ่ายชาวด่าน
ยงเหนาซึ่งตรวจตะเวนรักษาด่านสืบรู้ว่า กองทัพทหารอองมังยกมา จึง
เข้าไปหาขุนนางผู้ใหญ่ให้พาเข้าเฝ้า แจ้งความแก่เซียนอูอ๋องเจ้าเมืองยงเห
นาทุกประการ เซียนอูอ๋องจึงสั่งให้เกณฑ์ทหารสิบหมื่นยกออกจากเมืองยง
เหนามาถึงค่ายซุยฮุยจึงให้รอทหารไว้
     ฝ่ายซุยฮุยรู้ว่ากองทัพเมืองยงเหนายกมาถึง จึงแต่งตัวใส่เสื้อเกราะใส่
หมวกหุ้มเงินขึ้นขี่ม้าพาทหารออกมายืนหน้าค่าย แล้วร้องเรียกให้เจ้าเมือง
ยงเหนาออกมาต่อสู้ดูฝีมือกันกับเราโดยเร็ว ฝ่ายเซียนอูอ๋องได้ยินดังนั้น จึง
ถือทวนขับม้าฝ่าทหารขึ้นมายืนอยู่หน้าทหาร แล้วร้องตอบซุยฮุยว่า ตัวเป็น
แต่ทหารอ้ายอองมัง อองมังนายมึงเป็นคนอกตัญญู ไม่คิดถึงคุณพระเจ้าเปง
เต้ซึ่งชุบเลี้ยง กลับชิงเอาราชสมบัติพระเจ้าเปงเต้อีกเล่า หนึ่งเมืองหำ้าเอี๋ยง
แต่ก่อนก็เคยมีหนังสือไปมาหากูเป็นทางไมตรีมิได้ยำ่ายีแก่เมืองกู อองมัง
นายมึงเป็นขบถ บังอาจใจให้มึงยกทัพมาว่ากล่าวหยาบช้าจะต่อสู้กู จะจับ
ตัวมึงให้ได้ในสามเพลงทวน จะแก้แค้นแทนพระเจ้าเปงเต้ให้จงได้ ซุยฮุย
จึงตอบว่า ท่านเป็นเจ้าเมืองปลายแดนไม่รู้จักเราผู้มีฝีมือดี ถึงท่านจะว่า
กล่าวหยาบช้าเพียงใด เราไม่ถือด้วยความกรุณา ท่านจงลงจากม้าทิ้งอาวุธ
มาคำานับเราโดยดี แล้วจงถอยทัพกลับไปเมืองท่านจะรอดชีวิตอยู่ ซึ่งจะมา
ต่อสู่ฝีมือเรานั้นเหมือนหนึ่งจะเอาเลือดคอมาล้างคมอาวุธเราเสียเป็นมั่นคง
เซียนอูอ๋องได้ฟังดังนั้นยิ่งโกรธนัก จึงชักม้าเข้ารบเอาทวนแทง ซุยฮุยรำา
ทวนป้องปัดรับไว้ เซียนอูอ๋องรบกับซุยฮุยได้สิบเพลง ซุยฮุยเห็นจะต้านทาง
กำาลังมิได้ชักม้าพาทหารหนี เซียนอูอ๋องได้ทีขับม้าพาทหารบุกรุกติดตาม
ฆ่าฟันทหารซุยฮุยเข้าไป หมายจะจับตัวซุยฮุยมาฆ่าเสีย

  7. ซุยฮุยคิดอุบำยปล้นค่ำยเซียนอูอ๋องแตก
     ฝ่ายอองอิบ อองขิม จึงขับม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋อง ได้สองเพลงทวน
ต้านทานมิได้ ต่างคนขับม้าพาทหารหนี ฝ่ายอองสิมแม่ทัพหลวงเห็นทัพ
หน้าปีกซ้ายขาวแตกมาตกใจนัก จึงชักม้าพาทหารทิ้งค่ายเสียหนีเอาชีวิต
รอด เซียนอูอ๋องขับทหารติดตามมา ไล่ฆ่าฟันทหารอองสิมล้มตายเป็นอัน
มาก ครั้นพ้นแดนยงเหนาแล้ว เซียนอูอ๋องพาทหารกลับมาตั้งค่ายอยู่ต่อ
ด่านชั้นนอก
        ฝ่ายอองสิมพาทหารแตกหนีมาถึงเชิงเขาแห่งหนึง มิได้เห็นกองทัพ
                                                       ่
เซียนอูอ๋องติดตาม จึงให้คนใช้กลับสวนทางไปสืบได้ความว่าทัพยงเหนา
ตั้งค่ายอยู่ด่านชั้นนอก อองสิมรวบรวมทหารอยุ่ พอซุยฮุย อองอิบ อองขิม
นายทัพนายกองมาพร้อมกันให้ตรวจทหารได้แต่สองหมื่นเศษ จึงให้ตั้งค่าย
มันไว้ ณ ตำาบลเชิงเขา
  ่
     ฝ่ายเซียนอูอ๋อง ครั้นมีชัยแก่กองทัพเมืองหำ้าเอี๋ยงแล้วมีใจประหม่า ครั้น
เวลาพลบคำ่าลง เซียนอูอ๋องกับนายทัพนายกองทั้งปวงกินโต๊ะเสพสุราเมา
ต่างคนหลับนอนเสียทั้งนายไพร่ ไม่มีผู้ใดจะนังยามกองเพลิงตรวจตรา
                                              ่
รักษาค่าย ฝ่ายอองสิมเสียทัพแก่เจ้าเมืองยงเหนา ทหารล้มตายถึงสามหมืน         ่
มีใจเจ็บแค้นนัก จึงให้หาซุยฮุย อองอิบ อองขิมมาปรึกษาว่า กองทัพเรา
เสียทีเจ้าเมืองยงเหนาเสียทแกล้วทหารเป็นอันมากฉะนี้ จะคิดการแก้ศึก
ประการใด ซุยฮุยจึงว่าเจ้าเมืองยงเหนามารบกับกองทัพเราวันนี้ มีทหาร
มากกว่าเราประมาณสองเท่า ทั้งตัวเจ้าเมืองยงเหนาก็มีกำาลังมากชำานาญใน
เพลงทวน เจ้าเมืองยงเหนาเข้าบุกบั่นเอาชนะชนะแล้วกลับไป มีใจประหม่า
ว่ากองทัพเราแตกยับเสียกระบวนแล้ว หาซ่องสุมคุมกันได้ไม่ ขอท่านจง
แบ่งทหารออกเป็นสี่กอง แยกทางไปล้อมค่ายยงเหนา ข้าพเจ้าจะเข้าไป
แอบแฝงคอยดูถ้าคนในค่ายยงเหนาหลับสิ้น ได้ท่วงทีแล้วจุดประทัด
สัญญาณขึ้น ให้ระดมกันปล้นค่ายทั้งสี่ด้านในเวลากลางคืน ทหารยงเหนา
มิได้รู้ว่าทหารเรามากน้อย มิทันรู้ตัวต่างคนจะตกใจกลัวความตาย ถึงจะมี
พลมากก็จะเสียทีแก่เราเป็นมั่นคง อองสิม อองอิบ อองขิม ได้ฟังซุยฮุยว่า
ดังนัน ต่างคนเห็นชอบพร้อมใจกัน ครั้นเวลาเที่ยงคืน อองสิม อองอิบ ออง
      ้
ขิม ซุยฮุย แต่งตัวใส่เกราะขึ้นม้าถือทวนพาทหารออกจากค่าย แยกทางกัน
เข้าทางน้อยค่อยเล็ดลอดไปถึงตำาบลตงหงวน อองสิมเข้าซุ้มประจำาค่าย
ด้านข้างด้านตะวันออก อองอิบอยู่ด้านตะวันตก อองขิมอยู่ด้านใต้ ซุยฮุย
ด้านเหนือ
     ซุยฮุยลงจากม้าค่อยแอบแฝงเข้าไปใกล้ค่ายหลวงมิได้เห็นกองเพลิง
ผู้คนสงัดเงียบสิ้น ซุยฮุยจึงเข้าไปถึงริมค่ายได้ยินเสียงกรนครางหลับนอน
อยู่หมดทั้งค่าย ซุยฮุยยินดีนัก จึงออกมาขึ้นม้าจุดประทัดสัญญาณ ทหารทั้ง
สี่กองก็ระดมกันเข้าทั้งสี่ด้าน เปิดประตูค่ายเข้าไปฟันทหารเมืองยงเหนาใน
ค่ายเป็นอลหม่าน ทหารยงเหนาแตกตื่นวิ่งสับสนเสียงร้องอื้ออึง
     ฝ่ายเซียนอูอ๋องตื่นขึ้นตกใจ ใส่เกราะขึ้นม้าถือทวนหนีออกจากค่ายด้าน
เหนือพบซุยฮุย ซุยฮุยชักม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋อง ฝ่ายทหารซุยฮุยขับกัน
แยกปีกวงหุ้มเข้ามา เซียนอูอ๋องจะหักออกไปมิได้ ชักม้ารับรองป้องกันรบ
กับซุยฮุยได้สิบเพลงทวนเห็นทหารซุยฮุยหนุนหนาแน่นเข้ามา จึงชักม้า
กลับลงตามทางตะวันออกพบอองสิม อองสิมขับม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋องได้
สามสิบเพลงทวน เซียนอูอ๋องรบฝ่าทหารหนีออกได้จากที่ล้อม ขับม้ากลับ
ไปเมือง ฝ่ายทหารอองสิม อองขิม อองอิบ ซุยฮุย ต่างคนไล่ฆ่าฟันทหารยง
เหนาล้มตายแตกหนีจากค่ายสิ้น พอเวลารุ่งสว่างขึ้นอองสิมก็สั่งให้เก็บเอา
สิ่งของเครื่องสาตราวุธและเสบียงอาหารเป็นอันมาก เลิกทัพกลับไปค่าย
     ฝ่ายเซียนอูอ๋อง ขับม้าหนีไปถึงตำาบลงันมึงก๋วน หยุดม้าอยู่รวบรวม
ทหารที่เหลือตายหนีมาได้เก้าร้อยเศษ เซียนอูอ๋องเสียใจนัก คิดจะไป
เกณฑ์ทหารมาแก้แค้นชาวเมืองหำ้าเอี๋ยงให้จงได้ จึงขึ้นม้ารีบพาทหากลับ
เข้าเมืองยงเหนา ฝ่ายอองสิมครั้นมีชัยชนะแก่เซียนอูอ๋องมีความยินดียิ่งนัก
จึงปรึกษาซุยฮุยว่า เซียนอูอ๋องแตกค่ายเสียทีหนีเราครั้งนี้ เราเห็นว่าจะไป
เกณฑ์ทหาร ยกกองทัพมารบแก้ตัวเป็นมั่นคง ซุยฮุยเห็นชอบอองสิมจึงสั่ง
ทหารให้ไปสอดแนมสืบข่าวกองทัพเมืองยงเหนา ทหารรับคำา คำานับลาไป
ตามสั่ง

 8. อองมังถวำยเครื่องบรรณำกำรแก่เซียนอูอ๋อง
    ฝ่ายเซียนอูอ๋องครั้นมาถึงเมืองยงเหนา จึงเกณฑ์ทหารยี่สิบหมื่นพื้นมี
ฝีมือแกล้วกล้ว ยกกองทัพกลับมาตั้งค่ายอยู่ ณ ตำาลบงันมึงก๋วนเป็นด่านชั้น
กลางต่อแดนเมืองหำ้าเอี๋ยง ฝ่ายทหารอองสิมมาถึงตำาบลตงหงวน แจ้งความ
ชาวบ้านบอกว่าเจ้าเมืองยงเหนากลับมา จึงเข้าไปสืบถึงด่านงันมึงก๋วน เห็น
ค่ายหลวงเซียนอูอ๋องตั้งอยู่ ผู้คนมากประมาณยี่สิบหมื่น สมกับคำาชาวบ้าน
บอกก็รีบเดินออกมา ขึ้นม้ารีบไปคำานับแจ้งความแก่อองสิมทุกประการ ออง
สิมได้ฟังดังนั้นให้หาซุยฮุยกับอองขิมมาปรึกษาว่า เซียนอูอ๋องยกกองทัพ
กลับมามีทหารมากถึงยี่สิบหมื่น ฝ่ายทหารเราก็มีแต่สองหมื่นเศษ จะทำาการ
ต่อสู้กับเซียนออ๋องสืบไปเห็นจะเหลือกำาลังนัก จำาจะล่าทัพถอยกลับไปแจ้ง
ข้อราชการแก่อองมังเสียก่อน ขอทแกล้วทหารเพิ่มเติมขึ้นอีกเห็นพอจะสู้
กับเซียนอูอ๋องได้ จึงจะยกทัพกลับมาทำาศึกกับเจ้าเมืองยงเหนาสืบไป
    ซุยฮุยกับนายทัพนายกองเห็นชอบด้วยพร้อมกัน อองสิมจึงให้เลิกทัพ
ถอยกลับไปเมืองหลวง พออองมังออกขุนนางว่าราชการอยู่ อองสิมจึงพา
นายทัพนายกองเข้าไปคำานับแจ้งความตามซึ่งเสียทัพ ซุยฮุยคิดอุบายกลับ
ปล้นค่ายเซียนอูอ๋องแตกกลับ เจ้าเมืองยงเหนากลับไปเกณฑ์กองทัพเพิ่ม
เติมมาอีกถึงยี่สิบหมื่น
     ฝ่ายทหารในกองทัพข้าพเจ้าสองหมื่นเศษ จะตั้งอยู่สู้ทัพใหญ่เห็นจะ
เสียที จึงถอยกลับมาแจ้งความแก่ท่าน อองมังแจ้งว่าเซียนอูอ๋องเพิ่มทหาร
ทำาการศึกใหญ่ คิดวิตกกลัวเจ้าเมืองยงเหนาจะยกทัพเหยียบแดนเข้ามา
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหักChoengchai Rattanachai
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์Kunnai- เบ้
 
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )พัน พัน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555BallGamerTV
 
สามก๊ก
สามก๊กสามก๊ก
สามก๊กkanchana13
 

What's hot (20)

สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )
ทางสู้ชีวิต ( วิชาแปดประการ )
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
สามก๊ก
สามก๊กสามก๊ก
สามก๊ก
 

Similar to ตั้งฮั่น

รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณSarod Paichayonrittha
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินtommy
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01tommy
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfKunnai- เบ้
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
Book recommend September 2010
Book recommend September 2010Book recommend September 2010
Book recommend September 2010Kindaiproject
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okPatpong Lohapibool
 

Similar to ตั้งฮั่น (20)

รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดิน
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
Book recommend September 2010
Book recommend September 2010Book recommend September 2010
Book recommend September 2010
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
บทสรุปเหตุการณ์ต่อสู้ของ
บทสรุปเหตุการณ์ต่อสู้ของบทสรุปเหตุการณ์ต่อสู้ของ
บทสรุปเหตุการณ์ต่อสู้ของ
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 

More from tommy

แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมtommy
 
ความรู้เรื่อง เพชร-
ความรู้เรื่อง  เพชร-ความรู้เรื่อง  เพชร-
ความรู้เรื่อง เพชร-tommy
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นtommy
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์tommy
 
ศักดินาไทย
ศักดินาไทยศักดินาไทย
ศักดินาไทยtommy
 
แบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิแบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิtommy
 
Rongse
RongseRongse
Rongsetommy
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์tommy
 
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกเศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกtommy
 
โลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยโลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยtommy
 
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีพระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีtommy
 
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีtommy
 
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบการเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบtommy
 
ประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาtommy
 
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตสามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตtommy
 
นางแมวผี
นางแมวผีนางแมวผี
นางแมวผีtommy
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยtommy
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลtommy
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรtommy
 

More from tommy (20)

แก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจมแก้อาการสะบักจม
แก้อาการสะบักจม
 
ความรู้เรื่อง เพชร-
ความรู้เรื่อง  เพชร-ความรู้เรื่อง  เพชร-
ความรู้เรื่อง เพชร-
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
 
ศักดินาไทย
ศักดินาไทยศักดินาไทย
ศักดินาไทย
 
แบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิแบบทดสอบสมาธิ
แบบทดสอบสมาธิ
 
Rongse
RongseRongse
Rongse
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึกเศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
เศรษศาสตร์กลางทะเลลึก
 
โลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารยโลกพระศรีอารย
โลกพระศรีอารย
 
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดีพระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
พระปกเกล้าทรงโต้แย้งปรีดี
 
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดีแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรีดี
 
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบการเมืองของประชาชน กุหลาบ
การเมืองของประชาชน กุหลาบ
 
ประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดาประชุมพงศาวดา
ประชุมพงศาวดา
 
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคตสามเกลอ ตอนสู่อนาคต
สามเกลอ ตอนสู่อนาคต
 
นางแมวผี
นางแมวผีนางแมวผี
นางแมวผี
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
ล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเลล่าพรายทะเล
ล่าพรายทะเล
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมร
 

ตั้งฮั่น

  • 1. ท่านที่เคยอ่านพงศาวดารจีนเรื่องสามก๊กมาแล้ว "ตั้งฮั่น" คือพงศาวดารก่อน หน้าสามก๊กโดยเนื้อหาต่อเนื่องกันตามลำาดับราชวงศ์ จบเรื่องสามก๊กก็จะ ต่อด้วย "ไซจิ้น" ซึ่งบ้านจอมยุทธจะนำาเสนอต่อจาก"ตั้งฮั่น" ในวาระถัดไป เพื่อการศึกษาเทียบเคียง ต่อยอดความรู้เดิมจากสามก๊กให้กว้างยิ่งขึ้น โดย จะนำาเสนอเป็นตอนๆ ไปจนจบทั้ง 2 เรื่อง สำาหรับพงศาวดารจีนเรื่องตั้งฮั่น และไซจิน ที่นำาเสนอที่บ้านจอมยุทธ เป็น ้ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2507 โดยองค์การค้าของคุรุสภา ศึกษาภัณฑ์พา นิช จัดพิมพ์จำาหน่าย รายละเอียดอื่นๆ ท่านสามารถอ่านได้จากคำานำาในการ จัดพิมพ์ขององค์การค้าของคุรุสภา ข้างล่างนี้..... คำำนำำ ในการประชุมคณะกรรมการดำาเนินงานการจัดพิมพ์หนังสือชุดภาษาไทย เพื่อทบทวนงานที่ได้ดำาเนินการมาแล้วในปีแรก คณะกรรมการดำาเนินงานได้ มีมติให้เพิ่มการจัดพิมพ์หนังสือชุดภาษาไทยขึ้นอีก 3 ชุด คือ ชุดประชุม พงศาวดาร ชุดรามเกียรติ์ และชุดพงศาวดารจีน ชุดพงศาวดารขีน ซึ่งจัดพิมพ์เป็นชุดที่ 20 นี้ คณะกรรมการได้มีมติให้จัด พิมพ์เฉพาะเรื่องที่นับเนื่องเป็น "พงศาวดารจีน" จริงๆเสียก่อน ส่วนเรื่องจีน เรื่องอื่นๆ ที่จัดว่าเป็น "เกร็ด" พงศาวดารบ้าง หรือที่แต่งเป็นแบบนิยายบ้าง ให้จัดพิมพ์ภายหลัง ความจริงหนังสือพงศาวดารจีนไม่ว่าประเภทใด มีผู้นิยมอ่านกันมาก ใน สมัยก่อนชาวบ้านร้านตลาดทั่วไปติดพงศาวดารจีนเหมือนกับการรับ ประทานอาหาร ฉะนัน จึงปรากฎว่าบรรดาหนังสือพิมพ์ต่างๆ ในรัชสมัย ้ สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จะต้องลงเรื่องจีนอย่างน้อยหนึ่งเรื่องเป็น ประจำา นักอ่านจะซื้อหนังสือพิพม์รายวันเพื่อนอ่านเรื่องจีนวันต่อวัน เรื่องที่ ลงพิมพ์บางเรื่องก็เป็นเรื่องที่เคยพิมพ์เป็นเล่มมาแล้ว แต่หาอ่านไม่ได้ เพราะต้นฉบับเดิมหายาก และไม่ได้มีการพิมพ์ขึ้นมาใหม่ บางเรื่องก็เป็น เรื่องที่แปลขึ้นมาใหม่จากนวนิยายจีน ซึ่งแต่งอิงพงศาวดาร บางเรื่องก็เป็น เรื่องที่นักประพันธ์ไทยแต่งขึ้นเอง ทำานองแต่งนิยายอาศัยพงศาวดารจีน เรื่องอิงพงศาวดารจีนที่น่าอ่าน เพราะเป็นเรื่องมีคติแก่ชีวิตและครอบครัวก็มี หลายเรื่อง เช่น เรื่องจอยุ่ยเหม็ง เป็นต้น ส่วนเรื่องจีนที่จัดได้ว่าเป็นเรื่อง "พงศาวดาร" ปรากฎจากหนังสือตำานาน สามก๊ก พระนิพนธ์สมเด็จพระยาดำารงราชานุภาพว่า พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระราชดำารัสสั่งให้แปลขึ้น 2 เรื่อง คือ เรื่องไซ ฮั่นเรื่องหนึ่ง กับเรื่องสามก๊กเรื่องหนึ่ง โปรดให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอกรม พระราชวังหลังทรงอำานวยการแปลเรื่องไซฮั่น และให้เจ้าพระยาพระ คลัง(หน) อำานวยการแปลเรื่องสามก๊ก นับเป็นเริ่มแรกของการแปล
  • 2. พงศาวดารจีนมาเป็นภาษาไทย ในรัชกาลที2 ได้มีการแปลบ้าง แต่ปรากฎว่า ่ ส่วนใหญ่ได้มีการแปลในรัชกาลที่ 4 และรัชกาลต่อๆมา แต่การแปลพงศาวดารจีนเป็นภาษาไทยในครั้งนัน หาได้แปลตามลำาดับ ้ ราชวงศ์กษัตริย์จีนไม่ เข้าใจว่าอาจเพ่งเล็งไปในความสนุกของเรื่องหรือ ตามแต่จะหาต้นฉบับได้มากกว่า ทั้งผู้อ่านไม่ปรารถนาจะหาความรู้ทาง ประวัติศาสตร์ นอกจากความสนุกเป็นสำาคัญ แต่ในการจัดพิมพ์คราวนี้ คณะ กรรมการมีความคิดเห็นว่า ควรจัดพิมพ์ใหม่ตามลำาดับราชวงศ์กษัตริย์จีน ซึ่งบางทีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจประวัติศาสตร์บ้าง จึงได้เรียงลำาดับการ พิมพ์ดังต่อไปนี้ คือ 1 . ไคเภ็ก เริ่มแต่ประวัติศาสตร์ยังเจือปนด้วยนิยาย เช่น การสร้างดวง อาทิตย์ สร้างโลก ฯลฯ จนถึงตอนใกล้ประวัติศาสตร์ กษัตริย์พระองค์แรกๆ ของจีน ตั้งแต่สมัยที่กษัตริย์ได้ขึ้นเสวยราชย์ โดยราษฎร์เป็นผู้เลือก จนถึง ปฐมกษัตริย์สืบราชวงศ์ คือ กษัตริย์ราชวงศ์แฮ่ กับกษัตริย์ราชวงศ์เชียว ( ก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ถึง ก่อนพุทธศักราช 1240 ปี) 2. ห้องสิน 3. เลียดก๊ก ราชวงศ์เซียว และราชวงศ์จิว (ก่อนพุทธศักราช 1240 ปี ถึง ก่อน พุทธศักราช 297 ปี) 4. ไซ่ฮั่น 5. ไต้ฮั่น 6. ตั้งฮั่น ราชวงศ์จิ๋น และราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ.298-337) 7. สามก๊ก ราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย ต่อราชวงศ์วุย และราชวงศ์จนตอนต้น ิ้ (พ.ศ.337-807) 8. ไซจิน ้ 9. ตั้งจิน ้ 10. นำ่าซ้องราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์ซอง ราชวงศ์ชี ราชวงศ์เหลียง และรา ชวงศ์ตั้น (พ.ศ. 808-1132) 11. ส้วยถัง 12. ซุยถัง ราชวงศ์ซุย และราชวงศ์ถังตอนต้น (พ.ศ.1132-1161) 13. เสาปัก 14. ซิยิ่นกุ้ย 15. ซิเตงซัน 16. ไซอิ๋ว 17. บูเช็กเทียน ราชวงศ์ถัง (พ.ศ.1161-1450) 18. หงอโต้ว ราชวงศ์เหลียง ราชวงศ์จัง ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิวย (พ.ศ. 1450-1503) 19. นำ่าปักซ้อง 20. บ๊วยฮ่วยเหลา 21. โหงวโฮ็วเพงไซ 22. โหงวโฮ็วเพงหนำา 23. โหงวโฮ็วเพงหปัก 24. ซวยงัก
  • 3. 25. ซ้องกั๋ง 26. เปาเล่งถูกงอั้น 27. ง่วยเฉียว ราชวงศ์ซ้อง (พ.ศ.1503-1819) รำชวงศ์หงวน (พ.ศ.1820-1911) 28. เม่งเฉียว 29. เองเลียดต้วน 30. ซองเต็กอิ้วกังหนำา 31. ไต้อั้งเผ่า 32. เซียวอั้งเผ่า 33. เนียหนำาอิดซือ ราชวงศ์เหม็ง (พ.ศ.1911-2186) 34. เม่งมวดเซงฌ้อ 35. เชงเฉียว ราชวงศ์เช็ง (พ.ศ.2187-) รวมทั้งสิ้นเป็นหนังสือ 35 เรื่อง ซึ่งถ้าแบ่งตามขนาดหนังสือชุดภาษาไทย ก็ อาจได้ไม่ตำ่ากว่า 50 เล่ม ต้นฉบับพิมพ์พงศาวดารจีนตามบัญชีดังกลว่านี้ ใน ปัจจุบนหาอ่านได้ยาก เพราะส่วนใหญ่มิได้มีการพิมพ์ขึ้นใหม่ นอกจากเรื่อง ั ที่นิยมกันว่าสนุกมากๆ เท่านั้น การพิมพ์ครั้งนี้ก็ต้องยืมต้นฉบับจากหลาย เจ้าของด้วยกัน ซึ่งคุรุสภาต้องแสดงความขอบคุณท่านเจ้าของต้นฉบับทุก ท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย เพราะความเอื้อเฟื้อของท่าน เท่ากับเป็นการช่วยรักษา วรรณกรรมของชาติไห้คงไว้ส่วนหนึ่ง และการจัดพิมพ์นั้นได้แก้ไขเฉพาะ อักขรวิธี ส่วนถ้อยคำาสำานวนต่างๆ ได้คงไว้ตามเดิม ซึ่งท่านจะได้ทราบ ภาษาที่คนไทยเรานิยมใช้เมื่อร้อยปีเศษมาแล้วว่าเป็นอย่างไร. คัดลอกจากเว็บ บ้านจอมยุทธ http://www.baanjomyut.com/ ขอแสดงควำมขอบคุณอย่ำงสูง ตอนที่ 1 1. เงียมจูเหลงดูลักษณะเล่ำสิ้วบุนซก กษัตริย์ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์พระเจ้าฮั่นโกโจ เสวยราชสมบัติในเมืองหำ้าเอี๋ยง เป็นเมืองหลวง บำารุงราษฎรหัวเมืองทั้งปวงให้อยู่เย็นเป็นสุข ข้าศึกศัตรูโจร ผู้ร้ายราบคาบมาได้สองร้อยสี่สิบปีเศษ ถึงแผ่นดินพระเจ้าเปงเต้ เป็นสิบ สองชั่วกษัตริย์ ครั้นพระเจ้าเปงเต้ได้เสวยราชสมบัติในเมืองหำ้าเอี๋ยงแล้ว เปลี่ยนนามเมืองชื่อว่าเมืองเตียงอั๋น บรรดาพระราชวงศานุวงศ์ซึ่งไปครอง หัวเมือง และเป็นที่ขุนนางอยู่ในเมืองหลวงแต่ก่อนนั้น พระเจ้าเปงเต้มี พระทัยโอบอ้อมอารีแผ่เผื่อเลื่อนที่ยศศักดิ์ พระราชทานที่ไร่นาส่วยอากร ทำานุบำารุงตามสมควร ยังมีเชื้อพระวงศ์คนหนึ่งอยู่ในเมืองหลวง เป็นบุตรเล่าฮวดชื่อเล่าคิม บิดาเป็นหลานพระเจ้าฮั่นโกโจ ต่อมาแปดชั่วคนทั้งตัวเล่าคิม เล่าคิมมีบุตร หญิงคนหนึ่งชื่อเล่าหงวน มีบุตรชายสามคน คนใหญ่ชื่อเล่าอิ๋น ถัดลงมาชื่อ เล่าต๋ง บุตรคนสุดท้องชื่อเล่าสิ้วบุนซก มีรูปโฉมงามยิ่งกว่าพี่ชายทั้งสอง ครั้นอยู่มาเล่าคิมเห็นว่าเล่าอิ๋นกับเล่าต๋งมีชันษาจำาเริญวัยใหญ่กล้า สมควร
  • 4. จะเรียนหนังสือฝึกสอนวิชาการทั้งปวง จึงให้เล่าเหลียงผู้เป็นน้องไปสืบหา ซินแสผู้รู้หนังสือลึกซึ้ง เข้ามาเป็นครูฝึกสอนเล่าอิ๋นและเล่าต๋งผู้บุตร เล่าเห ลียงจึงไปเชิญเตงอู เข้ามาเป็นอาจารย์สั่งสอนหนังสือ ก็ฝึกหัดเพลงอาวุธ เล่าอิ๋นเล่าตงอยู่มิได้ขาด ฝ่ายเตงอูสั่งสอนหนังสือเล่าอิ๋น เล่าต๋งแล้ว จึงลา เล่าคิมออกจากเมืองหลวงเที่ยวไป อยู่บ้านป่าแดนเมืองหำ้าเอี๋ยงเป็นผาสุก สบาย ฝ่ายเล่าคิมครั้นเห็นนางเล่าหงวนผู้เป็นบุตรใหญ่ มีชันษาจำาเริญควรจะ ปลูกฝังให้มีเรือน จึงยกนางเล่าหงวนให้เป็นภรรยาเตงสิน ซึ่งเป็นแซ่ เดียวกันกับเตงอู แล้วให้ยกออกไปทำาไร่ทนาอยู่ ณ บ้านป่าแดนเมืองหำ้าเอี๋ ยง นางเล่าหงวนกับเตงสินไปทำามาหากินอยู่บ้านได้สิ่งของกินเป็นของป่า พากันมาเยี่ยมเยียนเล่าคิมผู้บิดา ณ เมืองหลวงเนืองๆ ต่อมาวันหนึ่งเล่าคิม จึงปรึกษาเล่าเหลียงผู้เป็นน้องว่า บุตรชายเราสามคนนีนับวันจะจำาเริญ ้ ชันษา ชะตาคนใดจะดีเป็นที่พึ่งแก่ญาติทั้งปวงข้างเรายังมิรู้ได้ ท่านจงไป เลือกหาซินแสผู้รู้ดูลักษณะมาทายหลายชายท่านทั้งสามคนสักเวลาหนึ่ง เล่าเหลียงตอบว่ายังมีซินแสคนหนึ่งชื่อจูเหลง เป็นผู้รู้ดูลักษณะประกอบ วิชาการทุกสิ่ง ชาวเมืองทั้งปวงสรรเสริญออกชื่อนับถือเงียมจูเหลงยิ่งนัก ข้าพเจ้าจะเชิญมา เล่าเหลียงก็คำานับลาไปบ้านเงียมจูเหลง ฝ่ายเงียมจูเหลงสอนหนังสือบังอี๋อองป้ากับศานุศิษย์ทั้งปวงอยู่บนตึก แลไปเห็นเล่าเหลียง เชื้อพระวงศ์พระเจ้าเมืองหลวงมา จึงออกไปเชิญขึ้น บนตึกนั่งที่สมควร แล้วถามเล่าเหลียงว่า ท่านมาหาข้าพเจ้ามีธุระกังวล ประการใด เล่าเหลียงจึงบอกความตามเล่าคิมใช้มาให้เงียมจูเหลงฟัง เงียม จูเหลงแจ้งว่าเล่าคิมเชื่อพระวงศ์ให้มาเชิญไปทำานายลักษณะบุตรสามคน จึงนุ่งห่มแต่งตัวใส่หมวกลงจากตึกมากับเล่าเหลียงไปบ้านเล่าคิม เล่าคิมจึง ออกไปรับซินแสเงียมจูเหลงขึ้นบนตึกนั่งที่สมควร จึงให้บุตรทั้งสามคำานับ ซินแส แล้วว่าข้าพเจ้าให้เชิญท่านมา ให้ท่านช่วยทำานายลักษณะบุตร ข้าพเจ้าทั้งสามนี้ จะใคร่รู้ว่าผู้ใดจะสืบเชื้อพระวงศ์ เป็นที่พึ่งแก่ญาติไปใน ภายหน้า เงียมจูเหลงจึงพิจารณาดูลักษณะเล่าอิ๋นกับเล่าต๋ง พิเคราะห์ดู ลักษณะเล่าสิ้วบุนซกแจ้งโดยตำาหรับที่ได้เล่าเรียนมา จึงถามชันษาปีเดือน วันเวลากำาเนิด คำานวณโดยตำาราโหราศาสตร์ประกอบด้วยลักษณะแล้ว ทำานายแก่เล่าคิมว่า เล่าอิ๋นกับเล่าต๋งนั้นชันษาชอบทำาไร่นา ภายหลังจะได้ เป็นขุนนาง แล้วจะตายด้วยเครื่องศาตราวุธ แต่เล่าสิ้วบุนซกบุตรสุดท้องนั้น จะพลัดพรากจากบิดามารดาแต่เก้าขวบไป ถึงอายุสามสิบเศษชะตาขึ้นถึงที่ เป็นแม่ทัพใหญ่ปราบยุคเข็ญไปภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์ บำารุงแผ่นดินสืบ เชื้อพระวงศ์เป็นที่พึ่งแก่อาณาประราชราษฎร์ เล่าคิมได้ฟังเงียมจูเหลง ทำานายดังนั้นจึงว่า เล่าสิ้วบุนซกบุตรข้าพเจ้าชันษาได้เจ็ดขวบเศษควรจะ เรียนหนังสือฝึกสอนวิชา ขอท่านได้กรุณาช่วยสั่งสอนหนังสือและวิชาการ ไว้สำาหรับตัว เมื่อชันษาถึงที่พลัดพรากจากข้าพเจ้าไปได้ความทุกข์ยากลง วิชาที่เรียนไว้จะได้เป็นที่พึ่งกว่าจะถึงที่เป็นใหญ่ จะได้คิดตั้งตัวตามสมควร แก่สติปัญญา อยู่ประมาณปีเศษเงียมจูเหลงจึงลาเล่าคิมไปจากเมืองหลวง เที่ยวตามป่าหาความสุขสบาย ฝ่ายเล่าคิมครั้นอยู่มาวันหนึ่ง จึงให้หาเล่าเหลียงผู้น้องมาปรึกษาว่า
  • 5. ซินแสเงียมจูเหลงผู้รู้ดูลักษณะ ทำานายไว้แต่ก่อนว่าเล่าสิ้วบุนซกจะได้เป็น ที่พึงแก่ญาติวงศ์ แต่ต้องตกยากเมื่ออายุน้อยนั้น เราคิดว่าจะให้ท่านพาเล่า อิ๋นกับเล่าต๋ง ออกไปทไร่นาอยู่บ้านนำ้าขาว (คำาจีนเรียกว่าบ้านแปะจุ๋ยฉิง) ใน แดนเมืองนำ้าเอี๋ยง ถ้าบุญญาธิการพระเจ้าเปงเต้ ยังทรงพระจำาเริญพระ ชันษาอยู่ในราชสมบัติเราก็จะได้มีความสุข แม้เมืองหลวงเกิดวิบัติ ในภาย หน้าหลานท่านพลัดพรากจากเราได้ความทุกข์ยากไร้ จะได้ไปอาศัยท่านจะ เห็นประการใด เล่าเหลียงได้ฟังเห็นชอบด้วย จึงคำานับลาพาเล่าอิ๋นกับเล่า ต๋งผู้หลาน ยกครอบครัวออกจากเมืองหลวง ไปทำาไร่นาอยู่ ณ บ้านแปะ จุ๋ยฉิง 2. อองมังถวำยยำพิษพระเจ้ำเปงเต้ ฝ่ายสางหงวนฮองไทเฮา ซึ่งเป็นพระราชมารดาพระเจ้าเปงเต้ ครั้นพระ ราชบุตรได้เสวยราชสมบัติในเมืองหลวงแล้ว จึงขอจูเอ๋งชันษาสองขวบเศษ เป็นบุตรเล่าหืนเชื้อพระวงศ์เข้าไปเลี้ยงในพระราชวัง ขณะนั้นมีขุนนางผู้หนึ่งชื่ออองมัง เป็นบุตรอองบวนขุนนางผู้ใหญ่ครั้ง แผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้ ครั้นอองบวนถึงแก่กรรม พระเจ้าเปงเต้ได้ราช สมบัติ จึงตั้งอองมังรับราชการแทนที่อองบวนผู้บิดา อองมังมีบุตรหญิงคน หนึ่งรูปโฉมงามพึ่งรุ่นจำาเริญวัย จึงถวายเข้าเป็นพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้ ชอบพระอัชฌาสัย ให้บุตรอองมังนั้นเป็นใหญ่ ได้บังคับพระสนมกรมฝ่ายใน ทั้งปวง พระเจ้าเปงเต้จึงตั้งให้อองมังเป็นที่ใจเสียงขุนนางผู้ใหญ่ฝ่าย พลเรือน วางพระทัยให้จัดแจงว่ากล่าวขุนนางฝ่ายหน้าสิทธิขาด อองมังทูล์ ตั้งผู้หนึ่งชื่อปักโก๋ ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท ขึ้นเป็นโซเหี้ยนขุนนางผู้ใหญ่ได้ว่า กล่าวทหารในตำาแหน่ง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาราชการเมืองหลวงสิทธิ์ขาดอยู่ ในอองมังกับโซเหี้ยน บรรดาขุนนางนอกกว่าเชื้อพระวงศ์พระเจ้าเปงเต้นั้น ต่างคนยำาเกรงอองมังยิ่งนัก ฝ่ายอองมังเห็นขุนนางอยู่ในอำานาจสิ้นแล้ว คิด กำาเริบใจจะใคร่ตั้งตัวเป็นใหญ่ในราชสมบัติ คบคิดกันกับโซเหี้ยน จะคอย ทำาร้ายพระเจ้าเปงเต้อยู่มิได้ขาด ครั้น ณ ปีฉลูเดือนยี่ขึ้นเจ็ดคำ่า รุ่งขึ้นแปดคำ่าเป็นวันประสูติพระเจ้าเปงเต้ เป็นประเพณีของขุนนางคอยถวายปั้นสิ้วให้พระมหากษัตริย์ทรงพระจำาเริญ ในราชสมบัติ อองมังจึงหาโซเหี้ยนไป ณ ตึก จึงกระซิบบอกว่า เวลาเช้า พรุ่งนี้เราจะถวายยาพิษพระเจ้าเปงเต้ ถ้าได้สมความคิดแล้วท่านจงปราบ ปรามเชื้อพระวงศ์และขุนนางทั้งปวงให้อยู่ในอำานาจ ราชสมบัติได้แก่เรา แล้วจะตั้งให้ท่านเป็นใหญ่สำาเร็จราชการในเมืองหลวง โซเหี้ยนรับคำาว่าถ้า ท่านถวายยาพิษพระเจ้าเปงเต้ได้สมคิดแล้ว บรรดาเชื้อพระวงศ์ขุนนางซึ่ง มิได้ยอมสวามิภักดิ์ด้วยท่านนั้น ข้าพเจ้าจะปราบลงเสียให้ราบคาบอย่าวิตก เลย โซเหี้ยนพูดกับอองมังแล้วคำานับลาไปบ้าน จัดทหารคนสนิทที่เป็น พรรคพวกถือเครื่องศาตราวุธครบมือเตรียมไว้ ฝ่ายอองมังครั้นเวลาเช้าจึงประกอบยาพิษลงในสุรา ใส่จอกแก้วแล้ว พาอองสิม อองขิม อองอิบผู้น้อง กับขุนนางคนสนิทเข้าไปคอยเตรียมเฝ้า พระเจ้าเปงเต้ พร้อมกับโซเหี้ยนและขุนนางทั้งปวง ฝ่ายพระเจ้าเปงเต้ครั้นเวลาเช้า เสด็จออกทอดพระเนตรเห็นขุนนาง
  • 6. ผู้ใหญ่น้อยทั้งปวง ถือจอกสุราเครื่องคำานับมาเตรียมถวายปั้นสิ้ว จึงตรัสสั่ง นางพนักงานข้างในให้เชิญเครื่องเสวยออกมา แล้วให้เจ้าพนักงานข้างหน้า ยกตะมาตั้งเตรียมเลี้ยงขุนนาง ฝ่ายอองมัง จึงถือจอกสุราเข้าไปทูลถวายพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้ คิดกริ่งพระทัยด้วยเห็นอองมังท่าทางองอาจ จึงรับจอกสุราวางไว้ยังไม่เสวย อองมังเห็นเสียการไป จึงทูลว่าสุรานี้อย่างดีข้าพระองค์แกล้งจัดสรรบรรจง มาถวาย ด้วยใจจงรักภักดีโดยสุจริต พระองค์อย่าคิดแหนงระแวงพระทัย เลย เชิญเสวยสุราข้าพระองค์ผู้เป็นขุนนางผู้ใหญ่ก่อน จึงจะต้องด้วยอย่าง ธรรมเนียม อองมังจึงจับจอกสุรารินเข้าไปในพระโอฐ สุรายาพิษตกถึงพระ สอพระเจ้าเปงเต้ พระเจ้าเปงเต้ทรงพระอาเจีนยโลหิตออกมาเป็นอันมาก เสด็จสู่สวรรคต บรรดาขุนนางเข้าเฝ้าต่างคนต่างตกตะลึงไปทั้งสิ้น ขณะนั้นขุนนางคนหนึ่งรูปร่างสูงหกศอก ชื่อเล่าเต้ง เชื้อพระวงศ์นั่งอยู่ ริบลับแล เห็นพระเจ้าเปงเต้อาเจียนโลหิตเพราะอองมังข่มขืนพระทัยให้ เสวยยาพิษ เล่าเต้งตกใจวิ่ออกมาว่ากล่าวหยาบช้า ด่าอองมังด้วยความ โกรธว่าอ้วยขบถตัวมึงคิดประทุษร้ายทำาลายพระคุณพระเจ้าเปงเต้ ซึ่งชุบ เลี้ยงเป็นขุนนางผู้ใหญ่ ให้ที่ยศศักดิ์ถึงขนาด ตัวเป็นขุนนางเข้าเฝ้าคิด อกตัญญูต่อเจ้าแผ่นดินอันทรงพระคุณ หาผู้สรรเสริญมิได้ อองมังจึงตอบว่า ราชสมบัติในเมืองหลวงนี้ เดิมเป็นของพระเจ้าจิ๋นซีฮองเต้ พระเจ้าจิ๋นซีฮอง เต้ได้ทำานุบำารุงแผ่นดินสืบเชื้อพระวงศ์กษัตริย์มาถึงพระเจ้ายีซีฮองเต้ เล่า ปังปู่ของท่านกับห้างอี๋เกลี้ยกล่อมทหาร ยกมาทำาการศึกสามปี เตียวโก๋ทำา ประทุษร้ายต่อพระเจ้ายีซีฮองเต้ ยกพระเจ้าซาซีฮองเต้ขึ้นเสวยราชสมบัติ เล่าปังยกทัพเข้าชิงเมืองหลวง ห้างอี๋ทีกำาลังมากขับเล่าปังเสีย ห้องอี๋ได้ ครองเมืองหลวงเป็นฌ้อปาอ๋อง ปู่ของท่านยกมาทำาศึกกับฌ้อปาอ๋องถึงห้า ปี จึงได้ราชสมบัติเป็นกษัตริย์สืบเชื้อพระวงศ์มาช้านาน เล่าปังปู่ของท่าน เป็นแต่บุตรชาวบ้านไผ่ก๋วน ยังคิดตั้งตัวเป็นใหญ่สืบเชื้อพระวงศ์มาหลายชั่ว กษัตริย์ บัดนี้บุญเราจะถึงที่เป็นกษัตริย์ บำารุงแผ่นดินสืบไปภายหน้า เทวดา จึงบันดาลให้เราคิดการสำาเร็จได้โดยง่าย บัดนี้สมบัติตกอยู่ในเงื้อมมือเราตัว เป็นแต่ขุนนางข้าเฝ้า องอาจออกมาว่ากล่าวหยาบช้าไม่กลัวอาญา ชอบให้ จับตัวไปผ่าปากเสียจึงจะสมโทษ เล่าเต้งได้ยินยิ่งโกรธนักชักไม้เซี่ยวฮุดวิ่ง เข้าตีถูกอองมังเป็นหลายที ฝ่ายโซเหี้ยนเห็นดังนั้นจึงชักกระบี่ออกจากเสื้อ เงื้อกระบี่ป้องปัดช่วยออ งมัง แล้วร้องตวาดเล่าเต้งว่า เหตุใดจึงบังอาจตีเจ้าชีวิตด้วยไม้ ไม่เกรง อาญาโทษถึงตาย กูจะตัดศีรษะเสียอย่าให้ขุนนางดูเยี่ยงอย่างสืบไป ว่าแล้ว ก็เอากระบี่ฟันเล่าเต้งคอขาดตาย อองมังดีใจสรรเสริญโซเหี้ยนว่า มิเสียที ท่านช่วยเป็นใจเจ็บร้อน ควรที่จะเป็นขุนนางผู้ใหญ่ โซเหี้ยนจึงแกว่งกระบี่ ร้องประกาศว่า ขุนนางทั้งปวงจงพร้อมใจกัน ช่วยเจ้าเมืองของเราบำารุงแผ่น ดินสืบไป แม้นผู้ใดไม่ยอมสามิภักดิ์จะจับฆ่าเสีย ฝ่ายขุนนางเต่างคนต่าง กลัวอาญายอมเข้าด้วยอองมังเป็นอันมาก แต่ผู้ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์กับ ขุนนางที่มีใจซื่อตรงต่อพระเจ้าเปงเต้ ต่างคนหลบหลีกหนีอพยพครอบครัว เข้าอยู่ป่า แปลงแซ่เปลี่ยนชื่อเสียมิให้พวกอองมังรู้จัก โซเหี้ยนให้ทหารจับ ขุนนางซึ่งมิได้ยอมเข้าด้วย เอาไปฆ่าเสียเป็นหลายคน
  • 7. 3. อองมังยกจูเอ๋งขึ้นเป็นกษัตริย์ ฝ่ายอองมังครั้นขุนนางราบคาบแล้ว จึงให้ทหารยกพระศพพระเจ้าเปง เต้และเล่าเต้ง ออกไปฝังเสียนอกเมือง แล้วถามขุนนางว่าตราหยกสำาหรับ กษัตริย์ พระเจ้าเปงเต้ให้ผู้ใดรักษา โซเหี้ยนจึงบอกว่าตราหยกอยู่กับฮอง ไทเฮา อองมังจึงสั่งอองสิมกับโซเหี้ยนเข้าไปเรียกเอาตราหยกที่ฮองไทเฮา ออกมา ทั้งสองคำานับลาพากันเข้าไปในพระราชวัง ฝ่ายพนักงานใช้ ขณะ เมื่ออองมังถวายสุราพระเจ้าเปงเต้อาเจียนพระโลหิตสิ้นพระชนม์ ต่างคน ต่างตกประหม่าหน้าซีดวิ่งไปทูลฮองไทเฮาทุกประการ ฝ่ายฮองไทเฮาพระราชมารดาพระเจ้าเปงเต้ กับพระวงศานุวงศ์ใน พระราชวัง แจ้งความว่าอองมังกับโซเหี้ยนคิดขบถ ถวายยาพิษพระเจ้าเปง เต้เสด็จสวรรคต ฮองไทเฮามีพระทัยหวาดไหวเหมือนอองมังตัดเอาพระ เศียรสิ้นสติสมประดี สลบนิ่งอยู่บนพระที่นั่ง บรรดาเชื้อพระวงศ์และนางพระ สนมทั้งปวงพากันร้องไห้รักพระเจ้าเปงเต้อื้ออึงทั้งพระราชวัง ฮองไทเฮา ครั้นฟื้นสมประดีมา จึงทรงพระกรรแสงรำาพันว่า อองบวนบิดาอองมังครั้ง แผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้นั้น อองบวนซื่อตรงต่อแผ่นดินพระเจ้าหงวนเต้ ตั้งแต่เป็นขุนนางผู้ใหญ่ ช่วยบำารุงราษฎรอยู่เย็นเป็นสุขมา ตราบเท่าสิ้นแผ่น ดินพระเจ้าหงวนเต้ พระเจ้าเปงเต้ได้ครองเมืองหลวง กรุณาชุบเลี้ยงอองมัง ถึงขนาด มิได้มีข้อเคืองแก่กัน ไม่ควรที่จะคิดการขบถประทุษร้าย อองมัง เป็นคนอกตัญญูทำาลายคุณพระเจ้าเปงเต้เสียครั้งนี้สิ้นบุญพระราชบุตรแล้ว จะมีชีวิตอยู่จะได้แต่ความลำาบาก ฮองไทเฮาทรงพระกรรแสงพลาง หยิบ ดวงตราหยกสำาหรับกษัตริย์ห่อพระภูษาไว้กับพระสอ จะเสด็จไปโจนลง บ่อนำ้าให้สิ้นชีวิต พออองสิมกับโซเหี้ยนตามมาทัน ทูลฮองไทเฮาว่า ตรา หยกสำาหรับพระเจ้าเปงเต้มอบไว้ จะขอเอาไปให้อองมัง ฮองไทเฮาได้ยิน ชื่ออองมังยิ่งมีความแค้นมากขึนมิได้ตรัสโต้ตอบประการใด เสด็จรีบสาว ้ พระบาทจะไปให้ถึงบ่อนำ้า โซเหี้ยนรีบเดินเข้าไปจะชิงตราหยกที่ฮองไทเฮา ผูกไว้ที่พระสอ ฮองไทเฮาโกรธจึงเอาตราหยกทิ้งออกไปตกต้องแผ่นศิลา โซเหี้ยนหยิบมาเห็นตราสลายไปเหลี่ยมหนึ่งก็โกรธ ชักกระบี่ออกจากฝักไล่ บุกรุกจะฟันฮองไทเฮาไปถึงบ่อ พอฮองไทเฮาโจนลงบ่อนำ้าสิ้นชีวิต อองสิม จึงพาโซเหี้ยนออกมาส่งตราสำาหรับกษัตริย์ให้อองมัง แล้วเล่าความให้ฟัง ทุกประการ อองมังเห็นตราสลายก็โกรธ จึงให้ช่างทองตีทองธรรมชาติ ประกบกับเหลี่ยมตราให้เป็นปกติดังเก่า แล้วสั่งอองสิมกับโซเหี้ยนคุมทหาร สามพัน สืบจับตัวเชื้อพระวงศ์พระเจ้าเปงเต้ทั้งข้างหน้าข้างในฆ่าให้สิ้นทั้ง ชายหญิง โซเหี้ยนกับอองสิมพาทหารไปตามคำาสั่งอองมัง แต่เชื้อพระวงศ์ ฝ่ายในเอาไปฆ่าเสียเป็นคนแปดร้อยเศษ โซเหี้ยนพาทหารเที่ยวสืบจับเชื้อ พระวงศ์ในเมืองหลวง ไปฆ่าเสียเป็นอันมาก ฝ่ายเล่าคิมรู้อองมังเป็นกบฎตกใจ จึงให้คนใช้ปิดประตูบ้านเสีย แล้ว สองคนกับภรรยาร้องไห้รักกัน เล่าคิมอุ้มเล่าสิ้วบุนซกขึ้นตักสั่งว่า ตัวเจ้า มีอายุถึงเก้าขวบ ต้องตกยากพรากบิดามารดา สมดังซินแสทำานายไว้มิผิด เจ้าจงหลบหลีกหนีพวกอ้ายกบฎ ออกไปหาพี่ชายกับอาของเจ้า ซ่อนตัวอยู่ ณ บ้านป่าแปะจุ๋ยฉิง แม้นจำาเริญวัยใหญ่กล้า จงซ่องสุมทแกล้วทหารคิด
  • 8. ทำาการใหญ่ จับอ้ายอองมังฆ่าเสียคืนเอาแผ่นดินให้จงได้ พอได้ยินเสียง ทหารพวกโซเหี้ยนอื้ออึงมาถึงประตูบ้าน เล่าคิมตกใจกลัวโซเหี้ยนจะจับมัด ผูกโบยตีจะให้นำาญาติวงศ์ จึงกุมมือภรรยาวิ่งไปโจนลงบ่อนำ้าตาย แต่เล่าสิ้ว บุนซกผู้บุตรนั้น เข้าแอบแฝงตัวอยู่ในสวนดอกไม้ ฝ่ายโซเหี้ยนพาทหารเที่ยวจับเชื้อพระวงศ์ มาถึงบ้านเล่าคิมเห็นประตู ปิดอยู่ จึงให้ทหารปีนกำาแพงแก้วเข้าไปจับคนใช้เล่าคิมมาไต่ถาม คนใช้นำา ไปพบศพเล่าคิมในบ่อนำ้า โซเหี้ยนจึงให้ทหารขึนค้นบนตึก ขนเอาทรัพย์สิน ้ เงินทองออกจากบ้านเล่าคิม เล่าสิ้วบุนซกเข้าไปแอบแฝงซ่อนตัวอยู่ ณ พุ่มไม้ในสวน พอจวนเวลา เย็นพวกโซเหี้ยนกลับไป แล้วจึงออกมาเห็นศพบิดามารดาอยู่ในบ่อนำ้า เล่า สิ้วบุนซกร้องไห้รักบิดามารดาอยู่ที่ปากบ่อเป็นช้านาน ครั้นค่อยคลาย สมประดี ตกใจกลัวพวกโซเหี้ยนจะมาพบจึงคำานับลาศพบิดามารดา แอบแฝงออกจากบ้าน พอเวลาพลบคำ่าจำาหน้ากันมิถนัด จึงปลอมตัวเป็น ชาวเมืองเดินตามถนนออกจากประตูเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เดิน ทางเพลากลางคืนไปถึงบ้านแห่งหนึ่งเข้าไปอาศัยพำานักนอน ฝ่ายชาวบ้านเห็นราตคต ซึ่งผูกประจำาตัวเล่าสิ้วบุนซกไปเป็นสำาคัญก็รู้ว่า เชื้อพระวงศ์กษัตริย์ ต่างคนต่างมีความกรุณาหาข้าวปลาอาหารให้กิน แล้ว ส่งตัวเล่าสิ้วบุนซกไปอาศัยซ่อนตัวอยู่กับพวกคนหนี ฝ่ายอองมังขณะเมื่อให้ทหารเข้าค้นจับเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน อองมังถือ ดาบเดินเข้าไปในวัง พอเห็นจูเอ๋งบุตรเลี้ยงฮองไทเฮาวิ่งหนีพวกทหารสวน ออกมา ชันษาจูเอ๋งประมาณสามขวบเศษอองมังคิดจะป้องกันความนินทา จึงอุ้มจูเอ๋งออกมานั่ง ณ ที่เสด็จออก ให้หาโซเหี้ยนเข้ามาบอกว่า เราคิดจะ ยกจูเอ๋งขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์แทนพระเจ้าเปงเต้ จะระงับหัวเมืองมิ ให้กำาเริบท่านจะเห็นประการใด โซเหี้ยนจึงว่าขุนนางเข้าเฝ้าทั้งปวงยอม พร้อมใจกันให้ท่านว่าราชการเมืองหลวง ท่านคิดทำาการใหญ่สำาเร็จแล้วจะ ยกจูเอ๋งเชื้อพระวงศ์ขึ้นเป็นกษัตริย์นั้น ถ้าจูเอ๋งเจริญในราชสมบัติไปภาย หน้า ท่านกับข้าพเจ้าจะได้ความเดือดร้อนยิ่งนัก ขอท่านจงตรึงตรองก่อน อองมังจึงว่าท่านเห็นการไม่ลึกซึ้ง เรายกจูเอ๋งขึ้นเป็นกษัตริย์จะกันความ นินทาหวังจะให้ราษฎรหัวเมืองทั้งปวงสำาคัญคิดว่า เรามีใจซื่อตรงเหมือน อย่างจิงก๋งต้าน ครั้งพระเจ้าจิวบุนอ๋องสวรรคต จิวเซงอ๋องราชบุตรยังเยาว์ อยู่ จิวก๋งต้านจึงอุ้มจิงเซงอ๋องออกมาว่าราชการเมือง กราบเท้าจิวเซงอ๋อง เจริญในราชสมบัติ เราเอาธรรมเนียมอย่างจิวก๋งต้าน หวังจะล่อลวงผู้ซึ่งเป็น เชื้อพระวงศ์ไปครองเมืองน้อยใหญ่ให้มาเมืองหลวง จะคิดอุบายฆ่าเสียให้ สิ้นแผ่นดินราบคาบ แล้วภายหลังจึงจะฆ่าจูเอ๋งเสีย โซเหี้ยนได้ฟังเห็นชอบ ด้วยจึงสรรเสริญว่า กลอุบายท่านคิดลึกซึ้งสมควรเป็นเจ้าแผ่นดิน ข้าพเจ้า คิดไปไม่ถึง โซเหี้ยนจึงคำานับลาออกมาให้ประชุมขุนนางพร้อมกันทุก ตำาแหน่ง อองมังจึงมอบราชสมบัติให้จูเอ๋งเป็นกษัตริย์ในเมืองหลวง แต่อองมังนัน ้ ตั้งตัวเป็นเก๋ฮ่องเต้ได้กำากับจูเอ๋ง จูเอ๋งฮ่องเต้เปลี่ยนศักราชกษัตริย์พระองค์ ใหม่ ณ ปีขาลเดือนห้าขึ้นห้าคำ่า อองมังเข้าอยู่กับจูเอ๋งในวัง เวลาขุนนาง เข้าเฝ้าอองมังอุ้มจูเอ๋งเสด็จออกว่าราชการเมืองหลวงทุกวันมิได้ขาด
  • 9. 4. จูเอ๋งป่วยถึงอำสัญกรรม ครั้น ณ ปีเถาะเดือนหก อองมังเห็นขุนนางเมืองหลวงราบคาบเป็นปกติ แล้ว จึงแต่งหนังสือรับสั่งจูเอ๋งฮ่องเต้ ใจความว่าพระเจ้าเปงเต้ผู้รักษาเมือง หลวง สติปัญญาโฉดเขลาไม่เอาธุรกิจการแผ่นดิน เสวยแต่สุราเมาเหลือ กำาลังบังเกิดโรคปัจจุบัน อาเจียนพระโลหิตสิ้นพระชนม์แล้ว ขุนนางน้อย ใหญ่ในเมืองหลวงประชุมพร้อมยอมยกเราผู้ชื่อจูเอ๋งเชื้อพระวงศ์เสวยราช สมบัติ เปลี่ยนกษัตริย์แผ่นดินใหม่ ให้ขนนางและเชื้อพระวงศ์ซึ่งครองเมือง ุ น้อยใหญ่เร่งเข้ามาพร้อมกัน ณ เมืองหลวง จะจัดแจงเลื่อนให้ยศศักดิ์โดย ตามสมควร แม้นเมืองใดขัดรับสั่งตั้งแข็งเมืองอยู่ มิได้เข้ามาอ่อนน้อมยอม ถวายดอกไม้เงินทองตามอย่างธรรมเนียม จะเกณฑ์กองทัพยกไปจับตัวเจ้า เมืองฆ่าเสีย อองมังส่งหนังสือให้ขนนางพนักงานทหารพลเรือน แจกไปแก่ ุ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวง ฝ่ายเชื้อพระวงศ์ซึ่งเป็นเจ้าครองเมือง แจ้งความตามหนังสือนั้น รู้ว่าออ งมังแต่งกลอุบายล่อลวงเข้าเมืองหลวงต่างคนแข็งเมืองอยู่ แต่ผู้ที่ไม่ได้เป็น เชื้อพระวงศ์ไปรักษาเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงนั้น ครั้นแจ้งความในหนังสือว่า พระเจ้าเปงเต้ผู้ครองเมืองหลวง เสวยสุราบังเกิดโรคปัจจุบันเสด็จสวรรคต ขุนนางในเมืองหลวงพร้อมใจกันยกจูเอ๋งชันษาสามขวบเศษ เชื้อพระวงศ์ พระเจ้าเปงเต้ขึ้นครองราชสมบัติ แต่ยังทรงพระเยาว์นัก จะว่าราชการเมือง หลวงยังมิได้ อองมังขุนนางผู้ใหญ่กำากับว่าราชการเมืองหลวงอยู่ เห็นว่าออ งมังขุนนางผู้ใหญ่มีใจสัตย์ซื่อคิดชอบ ประกอบการทั้งปวงเหมือนอย่างจิงอ๋ องต้าน ซึ่งว่าราชการแทนจิงอ๋องเส้งพระราชบุตรพระเจ้าจิวบุนอ๋องแต่ก่อน หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงต่างส่งเครื่องราชบรรณาการเข้ามาถวายจูเอ๋ง ฮ่องเต้ ซึ่งเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ ณ เมืองหลวงพร้อมกันทุกหัวเมือง ฝ่ายอองมัง ครั้นมิได้เห็นผู้ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์เข้ามาไม่สมความคิดจึง เอาในเผื่อแผ่ ตั้งขุนนางผู้ครองเมืองน้อยให้ได้ครองเมืองใหญ่ ขุนนาง ผู้ใหญ่ให้พระราชทานบ้านส่วยและยศศักดิ์ เพิ่มขึ้นมากกว่าแต่ก่อน แล้วจัด ทหารคนสนิทซึ่งเป็นพรรคพวกไปเป็นขุนนางกำากับผู้รักษาเมืองอยู่ทุกเมือง แล้วให้เสื้อผ้าเงินทองแก่ผู้รักษาเมืองทั้งปวงตามสมควร จัดแจงให้คืนไป อยู่รักษาเมืองน้อยใหญ่เหมือนดังแต่ก่อน ครั้นเดือนสี่ปีมะโรง อองมังจึงให้หาโซเหี้ยนเข้าไปที่ข้างในปรึกษาว่า ขุนนางหัวเมืองทั้งปวงนั้นเราเห็นว่าปกติราบคาบอยู่แล้ว แต่ขุนนางในเมือง หลวงนั้น เรียบร้อยกว่าแต่ก่อนหรือยังมีเสี้ยนหนามอยู่เป็นประการใด โซ เหี้ยนจึงบอกว่าบรรดาขุนนางข้าราชการทั้งปวงเกรงกลัวอำานาจท่านสิ้น ขุนนางซึ่งเป็นเสี้ยนหนาม ข้าพเจ้าปราบปรามราบคาบ ราชสมบัติในเมือง หลวงตกอยู่ในเงื้อมมือท่าน แต่ข้าพเจ้าคิดวิตกอยู่ด้วยจูเอ็งเชื้อฮั่นเปงเต้ ท่านเอามาตั้งไว้เป็นกษัตริย์ จะล่อลวงให้เชื้อพระวงศ์เข้ามามิได้สมคิด แต่จู เอ๋งอยู่ในราชสมบัติถึงสามปี มีชันษาล่วงเข้ามาถึงเจ็ดขวบแล้ว ถ้าละไว้นาน ไปจูเอ๋งจะคิดชิงเอาราชบัลลัง กำาจัดท่านเสียเป็นมั่นคง ซึ่งท่านจะดูหมิน ่ เชื้อกษัตริย์ เหมือนเอาอสรพิษมาเลี้ยงไว้ไม่ต้องตามธรรมเนียม ขอท่านจง เอาตัวจูเอ๋งไปฆ่าเสียแต่เยาว์อยู่ฉะนี้ ราชสมบัติในเมืองหลวงจึงเป็นสิทธิ์
  • 10. ขาดอยู่แก่ท่าน อองมังจึงว่าท่านว่าจูเอ๋งเป็นเชื้อพระวงศ์กษัตริย์ เหมือน อสรพิษมิให้คิดประมาทนั้นชอบ แต่จะฆ่าจูเอ๋งเป็นทารกอายุไม่ถึงสิบขวบ นัน จะมีคำานินทาว่าเราชิงราชสมบัติจูเอ๋ง จำาจะคิดฆ่าเสียด้วยอุบาย อย่าให้ ้ ขุนนางราษฎรหัวเมืองทั้งปวงล่วงว่ากล่าวติเตียนจึงจะชอบ ท่านจงออกไป ชุมนุมขุนนางให้พร้อม ณ ที่เฝ้า เราจะปรึกษาตั้งจูเอ๋งเป็นอันเตงก๋ง โซ เหี้ยนคำานับลามาประชุมขุนนางตามคำาสั่ง อองมังจึงออกมาที่ข้างหน้าปรึกษาขุนนางว่า จูเอ๋งฮ่องเต้เยาว์นักจะว่า ราชการเมืองหลวงนั้นมิได้ จะตั้งให้เป็นที่อันเตงก๋ง พอชันษาจำาเริญขึ้นควร จะว่าราชการแผ่นดิน แล้วจึงจะคืนราชสมบัติในเมืองหลวงให้จูเอ๋งฮ่องเต้ต่อ ภายหลัง ท่านจะเห็นประการใด โซเหี้ยนกับขุนนางคนสนิทรู้อัชฌาสัยจึงว่า จูเอ๋งนั้นชันษายังเยาว์นัก ซึ่งจะเป็นกษัตริย์สืบไปข้าพเจ้าเห็นว่าถ้ามีผู้ทูล ยุยงให้ตรัสสั่งการอันผิดด้วยอย่างธรรมเนียม มีผู้ทำาตามรับสั่งกฎหมาย สำาหรับแผ่นดินจะฟั่นเฟือนไป คำาซึ่งปรึกษาจะให้จูเอ๋งเป็นอันเตงก๋งนั้น ข้าพเจ้าทั้งปวงเห็นชอบด้วย อองมังจึงตั้งจูเอ๋งเป็นที่อันเตงก๋ง จัดแจง ตำาหนักที่วังให้เป็นที่อาศัย แล้วสั่งขุนนางคนสนิทให้ไปกำากับกักขังอันเต งก๋งไว้ในตำาหนักมิให้ส่งอาหาร อันเตงก๋งได้รับความลำาบากด้วยอดอาหาร อยู่ประมาณเจ็ดวันสุดสิ้นกำาลังขาดใจตาย ขุนนางผู้กำากับจึงมาแจ้งแก่ออ งมังต่อหน้าขุนนางทั้งปวง อันเตงก๋งป่วยถึงอาสัญกรรม อองมังได้ยินแกล้ง ทำาตกใจ แล้วสั่งให้ทำาการฝังศพตามธรรมเนียม 5. อองมังเป็นต้นกษัตริย์ ครั้น ณ เดือนสิบเอ็ดโซเหี้ยนจึงให้ประชุมขุนนางพร้อมกัน มอบเวรราช สมบัติให้อองมังเป็นต้นกษัตริย์ เปลี่ยนศักราชใหม่ในปีมะโรง อองมังได้ ครองราชสมบัติในเมืองหลวงแล้ว จึงจัดแจงผู้มีความชอบเลื่อนที่ยศศักดิ์รับ ราชการตามตำาแหน่ง ให้โซเหี้ยนเป็นไต้สุม้า บังคับความว่ากล่าวขุนนางหัว เมืองทั้งปวง อองสิมเป็นไต้สุมเตาบังคับขุนนางเข้าเฝ้าในเมืองหลวง อองอิ บกับอองขิมเป็นขุนนางได้ว่ากล่าวทหารทั้งซ้ายขวา บรรดาขุนนางคนสนิท ได้เลื่อนที่เป็นขุนนางตามสมควร อยู่มาวันหนึ่ง อองมังคิดเกลี้ยกล่อมผู้มีสติปัญญา สืบรู้ว่ากิหยงเซ่งเป็น ขุนนางผู้เฒ่ารู้จักขนบธรรมเนียม เคยได้สั่งสอนหนังสือพระราชบุตรแห่งพระ มหากษัตริย์สืบมา จึงให้ไปเชิญกิหยงเซ่งเข้ามาว่ากล่าวเกลี้ยกล่อมว่า ข้าพเจ้ารู้ว่าท่านเป็นขุนนางรู้จักขนบธรรมเนียมเป็นอันมาก จึงเชิญมาให้สั่ง สอนหนังสืออองอูบุตรข้าพเจ้า แม้นานไปภายหน้าอองอูได้เป็นกษัตริย์สืบ เชื้อพระวงศ์ในเมืองหลวง อองอูจะขอบคุณท่านซึ่งเป็นอาจารย์ จะชุบเลี้ยง ลูกหลานท่านให้เป็นขุนนางตามสมควร ท่านจะเห็นประการใด กิหยงเซ่ง ได้ยนอองมังว่ากล่าวเกลี้ยกล่อม คิดถึงพระคุณพระเจ้าเปงเต้กลั้นนำ้าตามิได้ ิ ร้องไห้ด้วยความแค้นอองมังแต่มิได้ออกปาก จึงว่าข้าพเจ้าเป็นขุนนางผู้ เฒ่าพระเจ้าเปงเต้ชุบเลี้ยงโดยสุจริต คิดจะทำาการฉลองพระคุณมิได้ขาด บัดนี้พระเจ้าเปงเต้สวรรคตควรจะตามเสด็จไป ซึ่งท่านจะให้ข้าพเจ้าครอง ชีวิตอยู่ในแผ่นดิน จะมีผู้นนทาว่าเป็นคนอกตัญญูไม่ซื่อตรงต่อเจ้าของตัว ิ ความชั่วจะลือชื่ออยู่ตราบเท่าลูกหลาน หนึ่งอายุข้าพเจ้าถึงเจ็ดสิบเก้าปี
  • 11. ชราภาพแล้ว จะขอลารักษาความสัตย์กตัญญูไปกว่าชีวิตจะสิ้น อองมังจึงว่า ท่านเป็นขุนนางซื่อตรงต่อแผ่นดินยิ่งนัก ข้าพเจ้ามีความรักใคร จะใคร่ได้ไว้ เป็นขุนนางผู้ใหญ่ในตำาแหน่งที่ปรึกษา จึงว่ากล่าวชักชวนโดยดี ซึ่งเชื้อพระ วงศ์พระเจ้าฮั่นโกโจนัน ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินลำาดับมาถึงสิบสองชั่วกษัตริย์ ้ ควรที่จะเสื่อมสูญสิ้นเชื้อพระวงศ์ผู้มีบุญอยู่แล้ว บุญญาธิการข้าพเจ้าจะถึงที่ เป็นกษัตริย์ เทพยดาจึงบันดาลให้เกิดวิบัติ ต้องเปลี่ยนกษัตริย์แผ่นดินใหม่ ฉะนี้ตัวท่านเป็นขุนนางรู้ขนบธรรมเนียม ช่วยกันทำานุบำารุงไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน ได้อยู่เย็นเป็นสุข แล้วหาผู้ใดจะนินทาได้ไม่ อองมังจึงให้เงินทองเสื้อผ้า เป็นอันมาก ให้ขุนนางพยุงตัวกิหยงเซ่งไปไว้กับอองอูแกล้งกักขังไว้ หวังจะ ให้ยอมรับทำาราชการในตำาแหน่งที่ขุนนางผู้ใหญ่ ฝ่ายกิหยงเซ่งอยู่ในวังอองอูบุตรอองมังเป็นหลายวัน ตั้งแต่ทุกข์ ตรอมใจมิได้กินอาหาร จนซูบผอมมีแต่หนังหุ้มกระดูกอยู่ถึงสิบสี่วัน กิหยง เซ่งสิ้นสุดกำาลังขาดใจตาย ฝ่ายอองอูครั้นรู้กิหยงเซ่งสิ้นชีวิตแล้ว จึงเข้า พระราชวังคำานับอองมังผู้เป็นบิดา แล้วแจ้งความทุกประการ อองมังรู้ว่ากิห ยงเซ่งขุนนางซื่อสัตย์ไม่กินอาหารถึงสิบสี่วันตายมีความเสียดายยิ่งนัก จึง เอาศพไปฝังเสียนอกประตูเมืองเบื้องทิศตะวันออก แล้วจึงให้หาตัวกิจุน หนึ่ง ซิหงหนึ่ง ซุนเซียงหนึ่ง ตึงหลิมหนึ่ง ตึงจุนหนึ่ง ขุนนางห้าคนซึ่งเป็น คนรูหนังสือลึกซึ้ง เป็นอาลักษณ์เก่าครั้งพระเจ้าเปงเต้นั้นให้เข้ามา คนใช้ ้ ไปหาตัวหาพบตัวซิหงไม่ ได้แต่ขุนนางสี่คนมา อองมังจึงว่าท่านทั้งสี่มีสติ ปัญญารู้หนังสือลึกซึ้ง เราหามาจะให้ช่วยสอนหนังสืออองอู อองมังจึงส่ง ขุนนางสี่คนไปอยู่กับอองอู แล้วให้คนไปหาตัวซิหง คนใช้ไปสืบพบตัวซิหง จึงบอกความตามอองมังสั่ง ซิหงไม่ยอมมาจึงว่าแก่คนใช้อองมังว่า นาย ท่านมีบุญแล้วจงอยู่ครองสมบัติให้เป็นสุข ตัวเราเป็นข้าพระเจ้าเปงเต้ พระ เจ้าเปงเต้หาพระชนม์ไม่แล้ว เราจะออกอยู่ป่าหาความสุข ซิหงก็ไปอยู่เขากิ สาน คนใช้จึงกลับมาแจ้งความแก่อองมัง อองมังมิได้ว่าประการใด ฝ่าย ราษฎรชาวทั้งปวงแจ้งความดังนั้น จึงพากันสรรเสริญว่า กิหยงเซ่งกับซิหง ขุนนางทั้งสองคนนี้มีใจซื่อสัตย์ต่อพระเจ้าเปงเต้ยิ่งนัก ฝ่ายอองมังครั้นได้ครองราชสมบัติในเมืองหลวง สารพัดบริบูรณ์ทุกสิ่ง ยิ่งมีใจโลภมากขึ้น อยู่มาวันหนึ่งอองมังออกขุนนางจึงปรึกษาไต้สุม้าโซ เหี้ยนว่า เราได้ดูหนังสือที่มีมาตั้งแต่ครั้งพระเจ้าซำาอ๋องกษัตริย์สามพระองค์ แผ่นดินพระเจ้าหงอเต้กษัตริย์ห้าพระองค์ ตั้งแต่งเป็นกฎหมายสำาหรับแผ่น ดินไว้ว่า ที่นาราษฎรทำามาหากินนั้น ให้ขุนนางผู้เป็นกรมนารังวัดนาสิบไร่ ให้ยกเอาเป็นของหลวงไร่หนึ่ง ขุดบ่อสำาหรับขังนำ้าให้ไว้ราษฎรผู้ทำานาสิบไร่ มีบ่อหนึ่ง เป็นกำาหนดกฎหมายไว้ฉะนี้เห็นว่าเมล็ดข้าวเปลือกที่จะได้เป็น ส่วนของหลวงนั้นน้อยนัก เราคิดว่าจะแปลงกฎหมายใหม่ ราษฎรทำาสี่ไร่ให้ ยกเอาผลเมล็ดข้าวขึ้นฉางหลวงไร่หนึ่ง ยกให้ราษฎรผู้ทำานั้นสามไร่ ท่านจะ เห็นว่าประการใด ไต้สุม้าโซเหี้ยนเห็นชอบคำานับแล้วตอบว่า ซึ่งกฎหมายตั้ง แต่งไว้สำาหรับใช้ในแผ่นดินซำาอ๋องหงอเต้แต่ก่อน บัดนีแผ่นดินของท่าน ซึ่ง ้ ท่านจะจัดแจงแปลงกฎหมายสำาหรับแผ่นดินนั้น ชอบด้วยอย่างธรรมเนียม กษัตริย์ หาผู้ใดจะขัดขวางไม่ อองมังจึงให้แปลงกฎหมายแจกไปแก่หัว เมืองทั้งปวง ให้ราษฎรทำานาสี่ไร่คิดเอาเป็นของหลวงไร่หนึ่ง ตามผู้มีเนื้อนา
  • 12. มากและน้อย 6. อองสิมเป็นแม่ทัพหลวงตีเมืองยงเหนำ ฝ่ายราษฎรทั้งปวงต้องเร่งรับข้าวเปลือกขึ้นฉางหลวง ที่ทำานาได้ผล น้อยได้ความทุกข์ยาก จะขายที่เนื้อนาก็กลัวอาญาอองมังจะเอาโทษ ต่าง คนอพยพทิ้งบ้านเรือนเข้าป่า เร้นซ่อนอยู่ในซอกห้วยธารเขาเป็นอันมาก ฝ่ายอองมังว่าราชการเมืองหลวงได้สามปี ครั้น ณ ปีมะแม อองมังคิดจะใคร่ ได้อาณาเขตกว้างขวาง จึงประชุมขุนนางพร้อมกันเกณฑ์กองทัพจะไปตี เมืองยงเหนา มีขนนางคนหนึ่งชื่อเงี่ยมอิ๋วจึงห้ามอองมังว่า เมืองยงเหนานั้น ุ ทแกล้วทหารเป็นอันมากหาผู้ใดจะล่วงแดนไปยำ่ายีได้ไม่ ข้าพเจ้าดูหนังสือ เรื่องจดหมายเหตุ แต่ครั้งพระเจ้าบุนอ๋องมีบุญญาธิการมาก ได้ไปรบชนะยง เหนาครั้งหนึ่ง แผ่นดินพระเจ้าจินซีอ่องเต้นั้น ปราบหกเมืองใหญ่ได้ก็ยัง ๋ เกรงเจ้าเมืองยงเหนาจะเข้ามาเหยียบแดน จึงให้ก่อกำาแพงกั้นชาวเมืองข้าง ต่อแดนยงเหนาไว้ จนไพร่บ้านพลเมืองล้มตายเป็นอันมาก ครั้งแผ่นดินฮั่นบู๊ เต้เกณฑ์ทหารมีฝีมือกล้าแข็งแต่งเป็นกองโจร เข้าซุ่มทัพตีเมืองยงเหนา เมืองยงเหนากลับยกทัพเหยียบแดนเข้ามา ฮั่นบู๊เต้แต่งทหารออกมาขัดตา ทัพกันแดนไว้ถึงสามสิบปีเศษ ไพร่พลเมืองได้ความลำาบาก ครั้นอยู่มา พระเจ้าฮั่นบู๊เต้ จัดทหารผู้มีสติปัญญาชำานาญในการกลศึกเป็นแม่ทัพยกไป คิดอุบายล่อลวงจับยงเหนาได้ พระเจ้าฮั่นบู๊เต้ให้ปล่อยตัวยงเหนาคืนไป เมือง ยงเหนาจึงมิได้ยกมายำ่ายี เมืองหลวงว่างศึกมาคุ้มเท่าทุกวันนี้ ครั้งนี้ ท่านพึ่งได้ราชสมบัติใหม่ ทั้งทแกล้วทหารที่มีฝีมือกล้าแข็งและผู้มีสติ ปัญญาก็เบาลง ทั้งข้าวปลาอาหารก็หาบริบูรณ์เหมือนแต่ก่อนไม่ ซึ่งท่านจะ ให้ยกทัพไปตีเมืองยงเหนาครั้งนี้ ข้าพเจ้าคิดวิตกนัก อองมังฟังเงียมอิ๋วห้าม จึงสั่งให้อองสิมเป็นแม่ทัพหลวง ซุยฮุยเป็นทัพหน้า อองอิบกับอองขิมเป็น ปีกซ้ายขวา คุมทหารห้าหมื่นยกออกจากเมืองหลวงเดินทัพไปหลายวัน ถึง ปลายแดนเมืองยงเหนา อองสิมให้ตั้งค่ายมั่นลงไว้ปลายด่าน ฝ่ายชาวด่าน ยงเหนาซึ่งตรวจตะเวนรักษาด่านสืบรู้ว่า กองทัพทหารอองมังยกมา จึง เข้าไปหาขุนนางผู้ใหญ่ให้พาเข้าเฝ้า แจ้งความแก่เซียนอูอ๋องเจ้าเมืองยงเห นาทุกประการ เซียนอูอ๋องจึงสั่งให้เกณฑ์ทหารสิบหมื่นยกออกจากเมืองยง เหนามาถึงค่ายซุยฮุยจึงให้รอทหารไว้ ฝ่ายซุยฮุยรู้ว่ากองทัพเมืองยงเหนายกมาถึง จึงแต่งตัวใส่เสื้อเกราะใส่ หมวกหุ้มเงินขึ้นขี่ม้าพาทหารออกมายืนหน้าค่าย แล้วร้องเรียกให้เจ้าเมือง ยงเหนาออกมาต่อสู้ดูฝีมือกันกับเราโดยเร็ว ฝ่ายเซียนอูอ๋องได้ยินดังนั้น จึง ถือทวนขับม้าฝ่าทหารขึ้นมายืนอยู่หน้าทหาร แล้วร้องตอบซุยฮุยว่า ตัวเป็น แต่ทหารอ้ายอองมัง อองมังนายมึงเป็นคนอกตัญญู ไม่คิดถึงคุณพระเจ้าเปง เต้ซึ่งชุบเลี้ยง กลับชิงเอาราชสมบัติพระเจ้าเปงเต้อีกเล่า หนึ่งเมืองหำ้าเอี๋ยง แต่ก่อนก็เคยมีหนังสือไปมาหากูเป็นทางไมตรีมิได้ยำ่ายีแก่เมืองกู อองมัง นายมึงเป็นขบถ บังอาจใจให้มึงยกทัพมาว่ากล่าวหยาบช้าจะต่อสู้กู จะจับ ตัวมึงให้ได้ในสามเพลงทวน จะแก้แค้นแทนพระเจ้าเปงเต้ให้จงได้ ซุยฮุย จึงตอบว่า ท่านเป็นเจ้าเมืองปลายแดนไม่รู้จักเราผู้มีฝีมือดี ถึงท่านจะว่า กล่าวหยาบช้าเพียงใด เราไม่ถือด้วยความกรุณา ท่านจงลงจากม้าทิ้งอาวุธ
  • 13. มาคำานับเราโดยดี แล้วจงถอยทัพกลับไปเมืองท่านจะรอดชีวิตอยู่ ซึ่งจะมา ต่อสู่ฝีมือเรานั้นเหมือนหนึ่งจะเอาเลือดคอมาล้างคมอาวุธเราเสียเป็นมั่นคง เซียนอูอ๋องได้ฟังดังนั้นยิ่งโกรธนัก จึงชักม้าเข้ารบเอาทวนแทง ซุยฮุยรำา ทวนป้องปัดรับไว้ เซียนอูอ๋องรบกับซุยฮุยได้สิบเพลง ซุยฮุยเห็นจะต้านทาง กำาลังมิได้ชักม้าพาทหารหนี เซียนอูอ๋องได้ทีขับม้าพาทหารบุกรุกติดตาม ฆ่าฟันทหารซุยฮุยเข้าไป หมายจะจับตัวซุยฮุยมาฆ่าเสีย 7. ซุยฮุยคิดอุบำยปล้นค่ำยเซียนอูอ๋องแตก ฝ่ายอองอิบ อองขิม จึงขับม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋อง ได้สองเพลงทวน ต้านทานมิได้ ต่างคนขับม้าพาทหารหนี ฝ่ายอองสิมแม่ทัพหลวงเห็นทัพ หน้าปีกซ้ายขาวแตกมาตกใจนัก จึงชักม้าพาทหารทิ้งค่ายเสียหนีเอาชีวิต รอด เซียนอูอ๋องขับทหารติดตามมา ไล่ฆ่าฟันทหารอองสิมล้มตายเป็นอัน มาก ครั้นพ้นแดนยงเหนาแล้ว เซียนอูอ๋องพาทหารกลับมาตั้งค่ายอยู่ต่อ ด่านชั้นนอก ฝ่ายอองสิมพาทหารแตกหนีมาถึงเชิงเขาแห่งหนึง มิได้เห็นกองทัพ ่ เซียนอูอ๋องติดตาม จึงให้คนใช้กลับสวนทางไปสืบได้ความว่าทัพยงเหนา ตั้งค่ายอยู่ด่านชั้นนอก อองสิมรวบรวมทหารอยุ่ พอซุยฮุย อองอิบ อองขิม นายทัพนายกองมาพร้อมกันให้ตรวจทหารได้แต่สองหมื่นเศษ จึงให้ตั้งค่าย มันไว้ ณ ตำาบลเชิงเขา ่ ฝ่ายเซียนอูอ๋อง ครั้นมีชัยแก่กองทัพเมืองหำ้าเอี๋ยงแล้วมีใจประหม่า ครั้น เวลาพลบคำ่าลง เซียนอูอ๋องกับนายทัพนายกองทั้งปวงกินโต๊ะเสพสุราเมา ต่างคนหลับนอนเสียทั้งนายไพร่ ไม่มีผู้ใดจะนังยามกองเพลิงตรวจตรา ่ รักษาค่าย ฝ่ายอองสิมเสียทัพแก่เจ้าเมืองยงเหนา ทหารล้มตายถึงสามหมืน ่ มีใจเจ็บแค้นนัก จึงให้หาซุยฮุย อองอิบ อองขิมมาปรึกษาว่า กองทัพเรา เสียทีเจ้าเมืองยงเหนาเสียทแกล้วทหารเป็นอันมากฉะนี้ จะคิดการแก้ศึก ประการใด ซุยฮุยจึงว่าเจ้าเมืองยงเหนามารบกับกองทัพเราวันนี้ มีทหาร มากกว่าเราประมาณสองเท่า ทั้งตัวเจ้าเมืองยงเหนาก็มีกำาลังมากชำานาญใน เพลงทวน เจ้าเมืองยงเหนาเข้าบุกบั่นเอาชนะชนะแล้วกลับไป มีใจประหม่า ว่ากองทัพเราแตกยับเสียกระบวนแล้ว หาซ่องสุมคุมกันได้ไม่ ขอท่านจง แบ่งทหารออกเป็นสี่กอง แยกทางไปล้อมค่ายยงเหนา ข้าพเจ้าจะเข้าไป แอบแฝงคอยดูถ้าคนในค่ายยงเหนาหลับสิ้น ได้ท่วงทีแล้วจุดประทัด สัญญาณขึ้น ให้ระดมกันปล้นค่ายทั้งสี่ด้านในเวลากลางคืน ทหารยงเหนา มิได้รู้ว่าทหารเรามากน้อย มิทันรู้ตัวต่างคนจะตกใจกลัวความตาย ถึงจะมี พลมากก็จะเสียทีแก่เราเป็นมั่นคง อองสิม อองอิบ อองขิม ได้ฟังซุยฮุยว่า ดังนัน ต่างคนเห็นชอบพร้อมใจกัน ครั้นเวลาเที่ยงคืน อองสิม อองอิบ ออง ้ ขิม ซุยฮุย แต่งตัวใส่เกราะขึ้นม้าถือทวนพาทหารออกจากค่าย แยกทางกัน เข้าทางน้อยค่อยเล็ดลอดไปถึงตำาบลตงหงวน อองสิมเข้าซุ้มประจำาค่าย ด้านข้างด้านตะวันออก อองอิบอยู่ด้านตะวันตก อองขิมอยู่ด้านใต้ ซุยฮุย ด้านเหนือ ซุยฮุยลงจากม้าค่อยแอบแฝงเข้าไปใกล้ค่ายหลวงมิได้เห็นกองเพลิง ผู้คนสงัดเงียบสิ้น ซุยฮุยจึงเข้าไปถึงริมค่ายได้ยินเสียงกรนครางหลับนอน
  • 14. อยู่หมดทั้งค่าย ซุยฮุยยินดีนัก จึงออกมาขึ้นม้าจุดประทัดสัญญาณ ทหารทั้ง สี่กองก็ระดมกันเข้าทั้งสี่ด้าน เปิดประตูค่ายเข้าไปฟันทหารเมืองยงเหนาใน ค่ายเป็นอลหม่าน ทหารยงเหนาแตกตื่นวิ่งสับสนเสียงร้องอื้ออึง ฝ่ายเซียนอูอ๋องตื่นขึ้นตกใจ ใส่เกราะขึ้นม้าถือทวนหนีออกจากค่ายด้าน เหนือพบซุยฮุย ซุยฮุยชักม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋อง ฝ่ายทหารซุยฮุยขับกัน แยกปีกวงหุ้มเข้ามา เซียนอูอ๋องจะหักออกไปมิได้ ชักม้ารับรองป้องกันรบ กับซุยฮุยได้สิบเพลงทวนเห็นทหารซุยฮุยหนุนหนาแน่นเข้ามา จึงชักม้า กลับลงตามทางตะวันออกพบอองสิม อองสิมขับม้าเข้ารบกับเซียนอูอ๋องได้ สามสิบเพลงทวน เซียนอูอ๋องรบฝ่าทหารหนีออกได้จากที่ล้อม ขับม้ากลับ ไปเมือง ฝ่ายทหารอองสิม อองขิม อองอิบ ซุยฮุย ต่างคนไล่ฆ่าฟันทหารยง เหนาล้มตายแตกหนีจากค่ายสิ้น พอเวลารุ่งสว่างขึ้นอองสิมก็สั่งให้เก็บเอา สิ่งของเครื่องสาตราวุธและเสบียงอาหารเป็นอันมาก เลิกทัพกลับไปค่าย ฝ่ายเซียนอูอ๋อง ขับม้าหนีไปถึงตำาบลงันมึงก๋วน หยุดม้าอยู่รวบรวม ทหารที่เหลือตายหนีมาได้เก้าร้อยเศษ เซียนอูอ๋องเสียใจนัก คิดจะไป เกณฑ์ทหารมาแก้แค้นชาวเมืองหำ้าเอี๋ยงให้จงได้ จึงขึ้นม้ารีบพาทหากลับ เข้าเมืองยงเหนา ฝ่ายอองสิมครั้นมีชัยชนะแก่เซียนอูอ๋องมีความยินดียิ่งนัก จึงปรึกษาซุยฮุยว่า เซียนอูอ๋องแตกค่ายเสียทีหนีเราครั้งนี้ เราเห็นว่าจะไป เกณฑ์ทหาร ยกกองทัพมารบแก้ตัวเป็นมั่นคง ซุยฮุยเห็นชอบอองสิมจึงสั่ง ทหารให้ไปสอดแนมสืบข่าวกองทัพเมืองยงเหนา ทหารรับคำา คำานับลาไป ตามสั่ง 8. อองมังถวำยเครื่องบรรณำกำรแก่เซียนอูอ๋อง ฝ่ายเซียนอูอ๋องครั้นมาถึงเมืองยงเหนา จึงเกณฑ์ทหารยี่สิบหมื่นพื้นมี ฝีมือแกล้วกล้ว ยกกองทัพกลับมาตั้งค่ายอยู่ ณ ตำาลบงันมึงก๋วนเป็นด่านชั้น กลางต่อแดนเมืองหำ้าเอี๋ยง ฝ่ายทหารอองสิมมาถึงตำาบลตงหงวน แจ้งความ ชาวบ้านบอกว่าเจ้าเมืองยงเหนากลับมา จึงเข้าไปสืบถึงด่านงันมึงก๋วน เห็น ค่ายหลวงเซียนอูอ๋องตั้งอยู่ ผู้คนมากประมาณยี่สิบหมื่น สมกับคำาชาวบ้าน บอกก็รีบเดินออกมา ขึ้นม้ารีบไปคำานับแจ้งความแก่อองสิมทุกประการ ออง สิมได้ฟังดังนั้นให้หาซุยฮุยกับอองขิมมาปรึกษาว่า เซียนอูอ๋องยกกองทัพ กลับมามีทหารมากถึงยี่สิบหมื่น ฝ่ายทหารเราก็มีแต่สองหมื่นเศษ จะทำาการ ต่อสู้กับเซียนออ๋องสืบไปเห็นจะเหลือกำาลังนัก จำาจะล่าทัพถอยกลับไปแจ้ง ข้อราชการแก่อองมังเสียก่อน ขอทแกล้วทหารเพิ่มเติมขึ้นอีกเห็นพอจะสู้ กับเซียนอูอ๋องได้ จึงจะยกทัพกลับมาทำาศึกกับเจ้าเมืองยงเหนาสืบไป ซุยฮุยกับนายทัพนายกองเห็นชอบด้วยพร้อมกัน อองสิมจึงให้เลิกทัพ ถอยกลับไปเมืองหลวง พออองมังออกขุนนางว่าราชการอยู่ อองสิมจึงพา นายทัพนายกองเข้าไปคำานับแจ้งความตามซึ่งเสียทัพ ซุยฮุยคิดอุบายกลับ ปล้นค่ายเซียนอูอ๋องแตกกลับ เจ้าเมืองยงเหนากลับไปเกณฑ์กองทัพเพิ่ม เติมมาอีกถึงยี่สิบหมื่น ฝ่ายทหารในกองทัพข้าพเจ้าสองหมื่นเศษ จะตั้งอยู่สู้ทัพใหญ่เห็นจะ เสียที จึงถอยกลับมาแจ้งความแก่ท่าน อองมังแจ้งว่าเซียนอูอ๋องเพิ่มทหาร ทำาการศึกใหญ่ คิดวิตกกลัวเจ้าเมืองยงเหนาจะยกทัพเหยียบแดนเข้ามา