SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
1
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง
ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน
เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก
ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน
พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม
พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม
เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง
ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
2
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา
ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง
ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี
ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ
รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน
ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้
2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ
นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด
2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด
2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ
ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่
2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน
และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา
แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
3
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 : เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและ
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ส 4.1 ป.5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
ส 4.1 ป.5/3 อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
ใฝ่เรียนรู้ และมีจิตสาธารณะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. บอกประวัติความเป็นมาของวัดพระธาตุผาเงา วัดพระธาตุจอมกิตติ
วัดเจดีย์หลวงและพระธาตุภูเข้าหรือปูเข้าได้
2. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์โบราณสถาน
ได้อย่างเหมาะสม
3. เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ
5
นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. ร่องรอยที่บ่งบอกถึงเมืองเชียงแสนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรม
ในอดีต คือข้อใด
ก. วัดและเจดีย์
ข. ทะเล
ค. โรงเรียน
ง. สานักสงฆ์
2. วัดพระธาตุผาเงา ตั้งอยู่ที่ใด
ก. หมู่บ้านจาปี
ข. หมู่บ้านดอยจัน
ค. หมู่บ้านสบคา
ง. หมู่บ้านสบรวก
3. คาว่า “ผาเงา” มาจากสิ่งใด
ก. เงาของภูเขา
ข. เงาของก้อนผา (หิน)
ค. เงาของเจดีย์
ง. เงาของพระพุทธรูป
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
คาชี้แจง
6
4. วัดพระธาตุผาเงา ชื่อเดิมคือข้อใด
ก. วัดดอยคา
ข. วัดดอยจัน
ค. วัดสบคา
ง. วัดสบรวก
5. ข้อใด ไม่ เกี่ยวข้องกับพระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์
ก. ภาพพระนางจามเทวี
ข. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
ค. ภาพเทวดา
ง. ภาพพระพุทธรูปปางต่าง ๆ
6. วัดพระธาตุจอมกิตติ สร้างในสมัยกษัตริย์องค์ใด
ก. พระเจ้าแสนภู
ข. พระเจ้าพังคราช
ค. พระเจ้าไชยสงคราม
ง. พระเจ้าพรหมมหาราช
7. การบูรณะพระธาตุจอมกิตติครั้งแรกเกิดขึ้นในสมัยใดที่ได้สร้างครอบ
เจดีย์องค์เดิมในปี พ.ศ. 2030
ก. พระเจ้าพังคราช
ข. พระเจ้าสิงหนวัติ
ค. เจ้าสุวรรณคาล้าน
ง. หมืนเชียงสง
7
8. ใครเป็นผู้สร้างวัดเจดีย์หลวง
ก. พระเจ้าแสนภู
ข. พระเจ้าพังคราช
ค. พระเจ้าสิงหนวัติ
ง. พระเจ้าพรหมมหาราช
9. สถานที่สาคัญในข้อใดอยู่ติดกับพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน
ก. วัดพระธาตุผาเงา
ข. วัดพระธาตุภูเข้า
ค. วัดพระธาตุเจดีย์หลวง
ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ
10. วัดพระธาตุปูเข้า เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ในข้อใด
ก. พระพุทธสิหิงค์
ข. พระเชียงแสนสิงห์หนึ่ง
ค. พระหยกเชียงราย
ง. พระเจ้าล้านทอง
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะครับ
8
ข้อ คาตอบ
1. ก
2. ค
3. ข
4. ค
5. ง
6. ข
7. ค
8. ก
9. ค
10. ข
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
9
เมืองเชียงแสนหรืออาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายในปัจจุบันเป็นเมือง
ประวัติศาสตร์ที่ยังคงอนุรักษ์ร่องรอยอารยธรรมที่รุ่งเรืองในอดีตให้อนุชนรุ่นหลัง
ได้ศึกษาและชื่นชม ตลอดจนมีความตระหนักรักท้องถิ่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ร่วมกันสืบสานและอนุรักษ์มรดกของชาติที่สืบทอดมาจนถึงชนรุ่นปัจจุบัน
ร่องรอยการสร้างโบราณสถานต่าง ๆ ในเชียงแสน ทั้งในเมืองและนอกเมือง
ตามข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรมีวัดทั้งหมด 139 แห่ง เป็นวัด
ภายในกาแพงเมืองเชียงแสน จานวน76 แห่งวัดที่อยู่รอบนอกกาแพงเมืองเชียงแสน
63 แห่ง และบางแห่งเป็นวัดร้างไม่มีพระภิกษุสงฆ์จาพรรษาอยู่ แต่ยังคงเป็น
สถานที่ที่มีผู้สนใจศึกษาในเรื่องนี้ไปเยี่ยมชมอยู่เนื่องๆ
โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
10
วัดพระธาตุผาเงา ตั้งอยู่ในหมู่บ้านสบคา อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
บริเวณอาณาเขตของวัดพระธาตุผาเงามีพื้นที่ ทั้งหมด743 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็น
เนินเขาเล็กๆ ทอดยาวลงมาตั้งแต่บ้านจาปี ผ่านบ้านดอยจันและมาสิ้นสุด
ที่บ้านสบคาแต่ก่อนราษฎรเรียกภูเขาลูกนี้ว่า
“ดอยคา” แต่มาภายหลังชาวบ้านเรียกว่า “ดอยจัน” การคมนาคมสื่อสาร
สะดวกสบายด้วยถนนลาดยาง มีระบบสาธารณูปโภคครบครัน ปัจจุบันวัด
พระธาตุผาเงา เป็นแหล่งเรียนรู้หรือแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญและมีชื่อเสียง
มากที่สุดของอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เจ้าอาวาส ปัจจุบันคือ พระครู
พุทธิญาณมุนี (ปญญาวชิโร)
วัดพระธาตุผาเงา
11
ที่มาของชื่อวัดมาจากชื่อของพระธาตุผาเงาที่ตั้งอยู่บนยอดหินก้อนใหญ่
คาว่าผาเงาก็คือ เงาของก้อนผา (ก้อนหิน) หินก้อนนี้มีลักษณะสูงใหญ่คล้าย
รูปทรงเจดีย์และทาให้ร่มเงาได้ดีมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “พระธาตุผาเงา”
ความจริงก่อนที่จะย้ายวัดมาที่นี่ เดิมมีชื่อว่า “วัดสบคา” ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าโขง
ฝั่งน้าได้ถูกน้ากัดเซาะจนพังทลายลง ทาให้บริเวณของวัดถูกพัดพังลงใต้แม่น้า
โขงเกือบหมดวัด คณะศรัทธาจึงได้ย้ายวัดไปอยู่ที่ใหม่บนเนินเขา ซึ่งไม่ไกล
จากวัดเดิมและส่วนสูงขึ้นไปบนภูเขาลูกนี้มีพระธาตุเจ็ดยอดและพระธาตุจอมจัน
อีกสององค์ซึ่งราษฎรได้สร้างประดิษฐ์ไว้ให้ได้สักการบูชาเคียงคู่กัน
พระธาตุผาเงา
12
ประวัติความเป็นมาของวัดพระธาตุผาเงาแห่งนี้ ปัจจุบันกาลังอยู่ในช่วงที่
เจริญรุ่งเรืองสุดขีด สันนิษฐานจากอดีตกาล อาจจะเป็นวัด ที่สาคัญและประจากรุง
เก่าหรือเวียงเก่าหรือเมืองเชียงแสน แห่งนี้ก็เป็นได้ จะเห็นได้ว่าพระพุทธรูปหลวง
พ่อผาเงาที่ขุดค้นพบแห่งนี้ถูกสร้างและฝังอยู่ใต้พระพุทธรูปองค์ใหญ่ (พระประธาน)
จะปิ ดบังซ่อนเร้นกลัวถูก โจรกรรมจากพวกนิยมสะสมของเก่า ตอนแรกได้
สันนิษฐานว่าบริเวณเนินเขาเล็กๆ ลูกนี้ที่กาลังแผ้วถางอยู่นี้จะต้องเป็นวัดเก่าแน่
เพราะได้พบเห็นซากโบราณวัตถุกลาดเกลื่อนไปทั่วบริเวณ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2519
จึงได้ลงมือแผ้วถางป่า แต่เดิมที่แห่งนี้เคยเป็นถ้า เรียกว่า ถ้าผาเงา ปรากถ้าถูกปิดไว้
นาน ทาให้บริเวณแห่งนี้เป็นป่ารก เต็มไปด้วยซากโบราณวัตถุกระจัดกระจายอยู่กลาด
เกลื่อนการค้นพบพระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงา เมื่อวันที่ 17มีนาคม2519เวลา14.00น.
เมื่อคณะศรัทธาได้ปรับพื้นที่เรียบร้อยแล้วทุกคนต่างตื่นเต้นและปีติยินดี เมื่อได้พบว่า
ใต้ตอไม้นั้น(หน้าฐานพระประธาน)มีอิฐโบราณก่อเรียงไว้เมื่อยกอิฐออกก็พบหน้ากาก
จึงได้พบพระพุทธรูปมีลักษณะสวยงามมาก ผู้เชี่ยวชาญทางโบราณวัตถุ ได้วิเคราะห์
ว่า พระพุทธรูปองค์นี้มีอายุระหว่าง 700-1,300 ปี คณะทั้งหมดจึง ได้พร้อมกันตั้งชื่อ
พระพุทธรูปองค์นี้ว่า “หลวงพ่อผาเงา”และเปลี่ยนชื่อวัดใหม่ เป็น“วัดพระธาตุผาเงา”
ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
13
ส่วนพระธาตุเจ็ดยอดนั้นถูกบูรณะและสร้างขึ้นใหม่ด้วยแรงศรัทธา
ของพุทธศาสนิกชน ทั้งสามประเทศร่วมกันสร้างด้วยจิตศรัทธาอันแรงกล้า
เพื่อถวายเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่
ชนชาติไทย ชนชาติลาว และชนชาติพม่า เป็นองค์ใหม่สวยสง่ามาก
พระเจดีย์ท่าสร้างขึ้นใหม่นี้ มีนามว่า พระบรมธาตุนิมิตเจดีย์ เป็นเจดีย์
สีขาวทั้งองค์ ยอดเจดีย์สูงสง่าสวยงามอยู่ท่ามกลางท้องฟ้าสีคราม เป็นที่ชื่นชม
บูชาของประชาชนยิ่งนักมีพระอุโบสถและกาแพงวัดรอบอาณาเขตของวัดอย่าง
วิจิตรสวยงามถาวร
14
นอกจากนี้มีการสร้างศาลาการเปรียญ มีพระประธานองค์ใหญ่
ประดิษฐานอยู่ ให้กราบไหว้บูชากัน วัดพระธาตุผาเงาแห่งนี้ ปัจจุบันเป็น
สถานที่ฝึกปฏิบัติธรรมเป็นที่อบรมสัมมนาด้านศาสนา คุณธรรมต่างๆ ของ
หน่วยงานต่างๆมากมาย เช่น เป็นสถานที่ศึกษาพานักเรียนไปฝึกอบรมปฏิบัติ
ธรรม หน่วยงานเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล มักจะจัดการอบรม
คุณธรรมแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่อยู่เสมอ
15
นอกจากนี้มีการสืบสานประเพณีท้องถิ่นล้านนา เช่น การตานก๋วยสลาก
หรือ ทานสลากภัต งานปอยหลวง งานสรงน้าพระธาตุ มีขึ้นเป็นประจาทุกปี
บนดอยจันเป็นเทือกเขาไม่สูงนัก เป็นจุดชมทิวทัศน์ของเมืองเชียงแสนได้
อย่างชัดเจน และงดงามแห่งหนึ่ง มองเห็นแม่น้าโขง แม่น้าคา ท่าเรือ การค้าขาย
ระหว่างประเทศ ไทย ลาว พม่า และประเทศจีน ด้วยมิตรไมตรีอันดีต่อกัน
โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มองเห็นชัดเจนอยู่ไม่ไกล
นักในฝั่งตรงกันข้าม
16
วัดพระธาตุจอมกิตติ ตั้งอยู่บนยอดดอยน้อย ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงรายห่างจากตัวอาเภอเชียงแสน ประมาณ 1.5กิโลเมตร ตามศิลาจารึก
ของของวัดพระธาตุจอมกิตติ ได้กล่าวว่า เมืองเชียงแสนนั้น เกิดมาตั้งแต่สมัย
พระพุทธเจ้า ยังดารงพระชนม์ชีพและเคยเสด็จมายังเชียงแสน ทรงดึง พระเกศา
ประดิษฐานไว้ที่วัด แล้วยังทรงพยากรณ์ว่า แว่นแคว้นแห่งนี้คงจะ สืบสาน
พระพุทธศาสนาดารงได้จนครบ 5,000 ปี
วัดพระธาตุจอมกิตติ
17
พระเจ้าพังคราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรโยนกเชียงแสน ขึ้นครองราชย์เมื่อ
พ.ศ. 1458 ทรงมีพระราชโอรส คือ พระเจ้าพรหมมหาราช ได้ทรงสร้างพระธาตุ
จอมกิตติขึ้นในปี พ.ศ.1481 เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สร้างเจดีย์ย่อเหลี่ยม
ไม้สิบสอง ไว้นอกกาแพงเมืองเชียงแสนไปทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ประมาณ 1.5 กิโลเมตร พระธาตุเจดีย์มีลักษณะตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสถัด
ขึ้นไปเป็นฐานปัทม์ ย่อมุมซ้อนกันสี่ชั้นรองรับเรือนธาตุ ซึ่งย่อมุมเช่นกัน มีซุ้ม
ทิศประดิษฐานพระพุทธรูป ปางประทับยืนทั้ง 4 ด้าน ส่วนยอดเป็นองค์ระฆัง
กลมทรงสูง มีลายดอกกลมระหว่างเส้นคู่ขนานวัดตรงกลาง ส่วนยอดทาเป็น
กลีบมะเฟืองรองรับปล้องไฉนกับปลียอดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจานวน11 องค์
เป็นพระบรมอัฐิธาตุ ส่วนพระนลาฏ(หน้าผาก)และพระเกศาธาตุ ซึ่งประดิษฐาน
ไว้ก่อนแล้วพระเจดีย์กว้าง3วาสูง6วา2ศอกแล้วเสร็จในปี พ.ศ.1483
18
ต่อมาพระธาตุจอมกิตติได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยของ
พระเจ้าสุวรรณคาล้าน เจ้าเมืองเชียงแสนได้ให้หมื่นเชียงสงสร้างขึ้น เมื่อ
ปี พ.ศ.2030 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเจ้ายอดของเชียงราย โดยก่อสร้างพระเจดีย์
ครอบองค์เดิมต่อมาพระธาตุชารุดทรุดโทรมมาก เจ้าฟ้ าเฉลิมเมืองพร้อมด้วย
คณะศรัทธา ได้บูรณปฏิสังขรณ์อีก เมื่อปี พ.ศ.2237 ย้อนไปในสมัยพระเจ้า
สุวรรณคาล้านนั้น เมื่อพระองค์ทรงบูรณะพระธาตุจอมกิตติ แล้วก็ได้สร้าง
พระธาตุจอมแจ้งขึ้นมาอีกองค์หนึ่ง ตั้งอยู่ด้านล่างไม่ไกลจากที่ตั้งของพระธาตุ
จอมกิตติมากนัก ด้านหน้าของพระธาตุจอมแจ้งเป็นพระวิหารท่าสร้างด้วย
ศิลปกรรมสมัยใหม่สวยงามมาก
19
ส่วนวัดพระธาตุจอมกิตตินั้นสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2500 โดยเริ่มแรก
พระครูสังวรสมาธิวัตร แห่งสานักวิปัสสนา เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
ซึ่งเป็นชาวเชียงแสนได้จัดตั้งสานักสงฆ์ขึ้นมาที่เชิงดอยพระธาตุจอมกิตติ
และได้ย้ายขึ้นไปสร้างวัดอยู่บนเชิงพระธาตุ ในภายหลังจึงได้มีการสร้างบันไดขึ้น
สร้างพระอุโบสถที่หันหน้าสู่แม่น้าโขง สร้างซุ้มประตูโขงโยนก 4 ซุ้มประตู
ประจาไว้ 4 ทิศ ส่วนที่เชิงดอยพระธาตุก็ยังมีพระพุทธรูปสาคัญองค์ใหญ่
คือ พระพุทธรูปองค์หลวงหรือหลวงพ่อพุทธองค์โยนกมิ่งมงคลเชียงแสน
ซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในบริเวณบ่อน้าทิพย์ สร้างขึ้นแทนพระเจ้าล้านตื้อ
ที่จมอยู่ในแม่น้าโขง แต่เศียรได้งมขึ้นมาประดิษฐานที่พิพิธภัณฑ์เชียงแสน
รวมทั้งปราสาทหลังเก่าที่เป็นสานักสงฆ์ก็ยังคงอยู่ที่เชิงดอย
20
พระธาตุจอมกิตติตั้งอยู่บนเนินเขาหรือดอยน้อยหรือดอยจอมกิตติ
โดยมีบันไดนาค 339 ขั้น ทอดยาวขึ้นไปนมัสการพระธาตุ หรือมีทางรถยนต์
ขึ้นไปจอดบนบริเวณพระธาตุเลยก็ได้และมีจุดชมทิวทัศน์ของแม่น้าโขงอยู่หลัง
องค์พระธาตุจอมแจ้งให้ชมกันอย่างเพลิดเพลิน ชัดเจน ทาให้มีนักทัศนาจร
หลั่งไหลกันไปกราบไหว้บูชากันตลอดปีมิได้ขาด ถือเป็นโบราณสถานที่สาคัญ
อีกแห่งหนึ่งของอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
21
วัดเจดีย์หลวงตั้งอยู่ภายในกาแพงเมือง ติดกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
เชียงแสน สิ่งสาคัญภายในวัด ได้แก่ วิหารใหญ่ที่หลังคาพังทลายแล้ว ด้านหลัง
วิหารมีเจดีย์ทรงระฆังขนาดใหญ่ที่สุดในเชียงแสน
วัดเจดีย์หลวง
22
ในตานานเมืองเชียงแสน พงศาวดารโยนกและชินกาลมาลีปกรณ์ บันทึก
เรื่องราวของวัดเจดีย์หลวงว่า “พญาแสนภูสร้างวัดเจดีย์หลวงในเมืองเชียงแสน
วันอังคาร เดือนเพ็ญ 5 ศักราช 327 ปีมะเมีย พญาแสนภูได้ก่อเจดีย์สถาปนาเป็น
วิหารวัดพระหลวง สร้างวิหารกว้าง 8 วา 1 ศอก ยาว 17 วา ก่อพระเจดีย์สูง 29 วา
ฐานกว้างด้านละ 14 วา ไว้เขตอุปจารอาราม กว้าง 100 วา ไว้ข้างพระ 50 ครัว”
23
จากการขุดค้น ขุดแต่งทางโบราณคดีพบว่าเจดีย์องค์นี้มีการบูรณะ
ถึง 3 สมัย โดยสมัยแรกสุดนักโบราณคดีพบเจดีย์ทรงระฆังองค์เล็กด้านในสมัย
ต่อมาจึงพบว่ามีการเพิ่มขนาดองค์เจดีย์ให้ใหญ่ขึ้น และสมัยที่ 3 พบว่า
มีการขยายฐานล่างสุดให้มั่นคงยิ่งขึ้น
24
ภายในวิหารวัดเจดีย์หลวงประดิษฐานพระประธานปูนปั้นศิลปะล้านนา
ปางมารวิชัยที่มีพระเศียรค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับพระวรกาย พระพักตร์กลม
และพระรัศมีเป็นรูปดอกบัวตูม
25
สาหรับโบราณวัตถุชิ้นสาคัญซึ่งได้จากการขุดค้นขุดแต่งบริเวณ
วัดเจดีย์หลวงตั้งแต่ พ.ศ.2500 เป็นต้นมา ได้แก่ พระพุทธรูปหินทราย พระบาท
และฐานพระพุทธรูปสาริด นอกจากนี้ยังพบพระพิมพ์ต่างๆ เช่น พระพิมพ์
เนื้อชิน พระพุทธรูปปางมารวิชัยประทับนั่งใต้ซุ้มโพธิ์ ลายกลีบบัวคว่าหงาย
และลายกนก รวมถึงยังพบเศียร พระหัตถ์พระพุทธรูป และพระพักตร์ เทวดา
ปูนปั้นเป็นจานวนมาก
26
วัดปูเข้า วัดเก่าแก่อายุนับพันปี เป็นอีกหนึ่งโบราณสถานที่สาคัญของ
เชียงแสน จากจุดชมวิวสามเหลี่ยมทองคา บนพระธาตุปูเข้า หรือเรียกอีกชื่อว่า
วัดพระธาตุภูเข้า สามารถเดินเข้าไปชมโบราณสถานที่เก่าแก่นี้ได้ จากลานจอด
รถมีบันไดทางขึ้นอยู่บริเวณลานจอดรถพอดี ซึ่งด้านบนจะเป็นที่ตั้งของโบราณ
สถานที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.1302 และบริเวณนี้เขาเรียกว่าดอยเชียงเมี่ยง
วัดพระธาตุภูเข้าหรือปูเข้า
27
พระธาตุดอยปูเข้าสร้างขึ้นบนดอยเชียงเมี่ยง ริมปากน้ารวก เมื่อ พ.ศ.1302
ในสมัยพระยาลาวเก้าแก้วมาเมือง กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งเวียงหิรัญนครเงินยาง
โบราณสถานประกอบด้วยพระวิหาร และกลุ่มเจดีย์ที่พังทลาย ก่อด้วยอิฐ
มีร่องรอย การตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น
28
ตามตานาน ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของพระธาตุปูเข้า กล่าวคือ
มีพระราชโอรส 3 พระองค์ของพระเจ้าจังกราชแห่งเมืองหิรัญนครเงินยาง
(เชียงแสนในปัจจุบัน) ทรงพระนามว่าลาวเก้าลาวเกื้อ และล่าวก่อ
เมื่อวัยเยาว์ทั้งสามพระองค์ได้พากันไปเที่ยวบนดอยเชียงเมี่ยงที่สบห้วยตม
แล้วได้พบปู่ใหญ่ตัวหนึ่ง จึงช่วยกันจับปู แต่ปูได้หนีหลบลงรูไปได้
ลาวเกื้อและลาวก่อสั่งให้ลาวเก้าผู้เป็นน้องเฝ้าไว้ที่ฝั่งห้วยแล้วพี่ทั้งสองจึง
กลับวังเพื่อกราบทูลเรื่องราวพระบิดา ตกเย็นลาวเก้าจึงกลับเข้าเมืองโดยไม่ได้
เห็นปูยักษ์อีกเลย
29
เมื่อทรงเจริญวัยขึ้น พระเจ้าจังกราชจึงส่งลาวก่อไปครองเมืองกวาง
ลาวเกื้อไปครองเมืองผาลาน ส่วนโอรสองค์สุดท้องอยู่ในวังกับพระราชบิดา
จนได้ครองเมืองสืบแทนพระองค์ มีพระนามว่า พระเจ้าลาวแก้วเก้ามาเมือง
แล้วโปรดให้สร้างเจดีย์ตรงดอยเชียงเมี่ยง ตรงที่พบปูยักษ์ให้ชื่อว่า พระธาตุปูเข้า
หรือภูเข้า ในปัจจุบัน
30
ปัจจุบันร่องรอยของโบราณสถานในอาเภอเชียงแสนที่หลงเหลือให้เห็น
มักเป็นซากปรักหักพังของสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา ได้แก่ พระเจดีย์และ
พระวิหาร ซึ่งส่วนใหญ่มีรายชื่อปรากฏอยู่ในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน
และมีวัดอยู่ทั้งสิ้น 139 วัด แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ วัดในเมือง 76 วัด และ
วัดนอกเมือง 63 วัด การเรียกชื่อวัดต่าง ๆ ได้ยึดถือจากตาแหน่งที่ระบุไว้ใน
พงศาวดารล้านนาซึ่งเขียนขึ้นภายหลัง
31
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
1. ดารง ดา-รง ทาให้คงอยู่
2. ตระหนัก ตระ-หนัก รู้ชัดแจ้ง
3. ถาวร ถา-วอน ยั่งยืนมั่นคง
4. นมัสการ นะ-มัด-สะ-กาน การกราบไหว้
5. บูรณปฏิสังขรณ์ บู-ระ-นะ-ปะ-ติ-
สัง-ขอน
ซ่อมแซมทาให้ดีเหมือนเดิม
(มักใช้กับวัดวาอาราม)
6. โบราณวัตถุ โบ-ราน-นะ-วัด-ถุ สิ่งของโบราณที่เคลื่อนที่ได้มีอายุเก่ากว่า
100 ปีขึ้นไป
7. ประยุกต์ ประ-ยุก นาความรู้มาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์
8. พยากรณ์ พะ-ยา-กอน การทานายเหตุการณ์ล่วงหน้า
9. พระเกศา พระ-เก-สา เส้นผม
10. พระนลาฏ พระ-นะ-ลาด หน้าผาก
11. พระเศียร พระ-เสียน ศีรษะ
12. พระหัตถ์ พระ-หัด มือ
13. พุทธกาล พุด-ทะ-กาน สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่
ช่วงเวลาที่เชื่อกันว่าหลังจากพระพุทธเจ้า
ปรินิพพานแล้ว พระพุทธศาสนาจะดารง
อยู่5,000 ปี
คาอธิบายศัพท์
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
32
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
14. ไมตรี ไม-ตรี ความหวังดีต่อกัน, ความเป็นเพื่อน
15. วิจิตร วิ-จิด สวย, งาม, น่าพิศวง
16. ศรัทธา สัด-ทา ความเชื่อถือ, ความเลื่อมใส
17. ศิลปกรรม สิน-ละ-ปะ-กา สิ่งที่ผลิตหรือสร้างขึ้นเป็นศิลปะ
18. อนุรักษ์ อะ-นุ-รัก รักษาไว้ให้คงเดิม
เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์กันนะครับ
33
แบบฝึกหัดที่ 1
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เติมคาลงในให้ได้ใจความถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. พระธาตุจอมแจ้งสร้างอยู่ด้านล่างไม่ไกลจาก.................................................
2. พระพุทธรูปที่ตามตานานกล่าวว่าจมอยู่ในแม่น้าโขงคือ................................
3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือ..................................................................................
4. ภายในองค์พระธาตุจอมกิตติได้บรรจุอัฐิของพระพุทธเจ้าในส่วนของ
.............................................................................................................................
5. พระประธานในอุโบสถวัดพระธาตุจอมกิตติ ชื่อ...........................................
.............................................................................................................................
6. พระธาตุผาเงา ได้สร้างขึ้นที่.....................................เดิมเรียกว่า.....................
7. บนดอยจันมีเนินเขาลดหลั่นลงเป็นที่ประดิษฐานของพระธาตุ ได้แก่
.............................................................................................................................
8. ปัจจุบันได้สร้างพระธาตุใหม่สีขาวครอบพระธาตุเจ็ดยอดไว้มีชื่อว่า
.............................................................................................................................
9. ท่าเรือฝั่งแม่น้าโขง มีการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับประเทศ..................
10. ผู้สร้างพระธาตุจอมกิตติ คือ........................................................................
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
คาชี้แจง
34
แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 1
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เติมคาลงในให้ได้ใจความถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. พระธาตุจอมแจ้งสร้างอยู่ด้านล่างไม่ไกลจาก พระธาตุจอมกิตติ
2. พระพุทธรูปที่ตามตานานกล่าวว่าจมอยู่ในแม่น้าโขงคือ พระเจ้าล้านตื้อ
3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือ พญาแสนภู
4. ภายในองค์พระธาตุจอมกิตติได้บรรจุอัฐิของพระพุทธเจ้าในส่วนของ
พระนลาฏ (หน้าผาก) พระเกศา (เส้นผม)
5. พระประธานในอุโบสถวัดพระธาตุจอมกิตติ ชื่อ หลวงพ่อพุทธองค์
โยนกมิ่งมงคลเชียงแสน
6. พระธาตุผาเงา ได้สร้างขึ้นที่ ภูเขาหรือดอยจัน เดิมเรียกว่า ดอยคา
7. บนดอยจันมีเนินเขาลดหลั่นลงเป็นที่ประดิษฐานของพระธาตุ ได้แก่
พระธาตุผาเงา พระธาตุเจ็ดยอด และพระธาตุจอมจัน
8. ปัจจุบันได้สร้างพระธาตุใหม่สีขาวครอบพระธาตุเจ็ดยอดไว้มีชื่อว่า
พระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์
9. ท่าเรือฝั่งแม่น้าโขง มีการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
จีน พม่าและลาว
10. ผู้สร้างพระธาตุจอมกิตติ คือ พระเจ้าพรหมมหาราช
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
คาชี้แจง
35
แบบฝึกหัดที่ 2
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
ใ ให้นักเรียนเติมแผนผังความคิดต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ (10 คะแนน)
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
โบราณสถาน
.................................
.................................
.................................
.
...............................
...............................
...............................
......
ร่วมทาบุญ
สรงน้าพระธาตุ
ประจาปี
.............................
.............................
.............................
............
.........................
.........................
.........................
........................
........................................
........................................
........................................
.................
คาชี้แจง
36
แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 2
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
คา ให้นักเรียนเติมแผนผังความคิดต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ (10 คะแนน)
(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
โบราณสถาน
ช่วยเก็บขยะ
รอบบริเวณโบราณสถาน
ไม่ทิ้งขยะ
และสิ่งสกปรก
ลงในบริเวณวัด
ร่วมทาบุญ
สรงน้าพระธาตุ
ประจาปี
ไม่ส่งเสียงดังหรือ
วิ่งเล่นภายในวัด
ไม่เขียนฝาผนัง
ของวัด หรือ
ศาสนสถาน
สืบสานประเพณีท้องถิ่น
ด้วยการร่วมกิจกรรม
เช่น การทาบุญ ตักบาตร
คาชี้แจง
37
นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. ร่องรอยของการสร้างเมืองเชียงแสนที่ชัดเจนในปัจจุบันคือข้อใด
ก. คูเมืองเก่าทั้ง 3 ด้านรอบเมือง
ข. วัดเก่าแก่ในกาแพงเมือง 76 วัด
ค. วัดเก่าแก่นอกกาแพงเมือง 63 วัด
ง. กาแพงเก่าก่อนเข้าเมืองที่จารึกชื่อเมืองเชียงแสนไว้
2. พระธาตุจอมกิตติ เป็นที่ประดิษฐานส่วนใดของพระพุทธเจ้า
ก. พระเพลา
ข. พระเกศา
ค. พระนลาฏ
ง. พระอุรังคธาตุ
3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือใคร
ก. พญาแสนภู
ข. พญามังราย
ค. พระเจ้าสังหนวัติ
ง. พระเจ้าพรหมมหาราช
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
คาชี้แจง
38
4. พระธาตุผาเงาสร้างในสมัยผู้ครองนครโยนกองค์ใด
ก. ขุนวัง
ข. ขุนลัง
ค. ขุนคลัง
ง. ขุนผาพิง
5. พระบรมธาตุนิมิตเจดีย์ตั้งอยู่ในบริเวณใด
ก. วัดพระธาตุผาเงา
ข. วัดพระธาตุป่าสัก
ค. วัดพระธาตุดอยตุง
ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ
6. แม่น้าสายใดที่เชื่อมโยงเป็นเขตติดต่อระหว่างไทย ลาวและพม่า
ก. แม่น้าคา
ข. แม่น้ากก
ค. แม่น้าโขง
ง. แม่น้ารวก
7. วัดในข้อใดมีชื่อเดิมว่า วัดสบคา
ก. วัดเจดีย์หลวง
ข. วัดพระธาตุผาเงา
ค. วัดพระธาตุดอยเวา
ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ
39
8. เจดีย์ทรงระฆังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเมืองเชียงแสนตั้งอยู่ในวัดใด
ก. วัดป่าสัก
ข. วัดเจดีย์หลวง
ค. วัดพระธาตุปู่เข้า
ง. วัดพระธาตุผาเงา
9. ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงแสนที่คงอยู่ปัจจุบัน
ก. โรงพยาบาลเชียงแสน
ข. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
ค. โบราณสถาน โบราณวัตถุ
ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
10. คาว่า “เวียงเก่า” เป็นอาเภอเก่าใช้เรียกอาเภอใด
ก. เมือง
ข. แม่จัน
ค. แม่สาย
ง. เชียงแสน
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
หลังเรียนนะครับ
40
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
ข้อ คาตอบ
1. ง
2. ข
3. ก
4. ง
5. ก
6. ค
7. ข
8. ข
9. ค
10. ง
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
41
ธีระ เงินสัจจา. องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2555.(เอกสารอัดสาเนา)
บดินทร์ กินาวงศ์. เอกสารการศึกษาประกอบวิชาหลักสูตรท้องถิ่น
ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย –เชียงแสน. เชียงราย :สามัญศึกษา
จังหวัดเชียงราย, 2546.
โรงเรียนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี. (ออนไลน์)แหล่งที่มา:http://www.cpmschool.
blogspot.com/p/blog-page.html?m=1,2552.
วิษณุพงษ์ ยารวง. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2554.(เอกสารอัดสาเนา)
สัมภาษณ์ ศรชัย ธรรมวงศ์. ผู้ใหญ่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย. 16เมษายน2556.
________.พ.ต.ท.นิธิกร เดชบุญ.หัวหน้าสถานีตาบลภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 10 พฤษภาคม 2556.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547.
อาณาจักรโยนกเชียงแสน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
http://www.nookjung.com/travel/wpcontent/uploads/ 2009/08/n25.jpg.
2552.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

Traditional symmetric-key cipher
Traditional symmetric-key cipherTraditional symmetric-key cipher
Traditional symmetric-key cipherVasuki Ramasamy
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
สร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือสร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือTossaporn Sri
 
Introduction to RDFa
Introduction to RDFaIntroduction to RDFa
Introduction to RDFaIvan Herman
 
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기 Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기 Minnie Seungmin Cho
 
Secure Socket Layer (SSL)
Secure Socket Layer (SSL)Secure Socket Layer (SSL)
Secure Socket Layer (SSL)amanchaurasia
 
Digital Signatures
Digital SignaturesDigital Signatures
Digital SignaturesEhtisham Ali
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
Методи за криптиране и декриптиране на данни
Методи за криптиране и декриптиране на данниМетоди за криптиране и декриптиране на данни
Методи за криптиране и декриптиране на данниpinf_117075
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
Shamir Secret Sharing Presentation
Shamir Secret Sharing PresentationShamir Secret Sharing Presentation
Shamir Secret Sharing PresentationKaliel Williamson
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

Traditional symmetric-key cipher
Traditional symmetric-key cipherTraditional symmetric-key cipher
Traditional symmetric-key cipher
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
สร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือสร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือ
 
Blockchain 2.0
Blockchain 2.0Blockchain 2.0
Blockchain 2.0
 
Cryptography
CryptographyCryptography
Cryptography
 
Introduction to RDFa
Introduction to RDFaIntroduction to RDFa
Introduction to RDFa
 
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기 Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기
Azure Cognitive Search: AI로 비정형데이터 바로 활용하기
 
Http Vs Https .
Http Vs Https . Http Vs Https .
Http Vs Https .
 
Sequere socket Layer
Sequere socket LayerSequere socket Layer
Sequere socket Layer
 
Secure Socket Layer (SSL)
Secure Socket Layer (SSL)Secure Socket Layer (SSL)
Secure Socket Layer (SSL)
 
Transport layer security
Transport layer securityTransport layer security
Transport layer security
 
Digital Signatures
Digital SignaturesDigital Signatures
Digital Signatures
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
One time Pad Encryption
One time Pad EncryptionOne time Pad Encryption
One time Pad Encryption
 
2016 mORMot
2016 mORMot2016 mORMot
2016 mORMot
 
Методи за криптиране и декриптиране на данни
Методи за криптиране и декриптиране на данниМетоди за криптиране и декриптиране на данни
Методи за криптиране и декриптиране на данни
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
Shamir Secret Sharing Presentation
Shamir Secret Sharing PresentationShamir Secret Sharing Presentation
Shamir Secret Sharing Presentation
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 

Similar to เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน

เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหักChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนnok Piyaporn
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนpiyapornnok
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
Manuscript of Western Thailand
Manuscript of Western Thailand Manuscript of Western Thailand
Manuscript of Western Thailand Dokrak Payaksri
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfKunnai- เบ้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Prom Pan Pluemsati
 

Similar to เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน (20)

เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
History
HistoryHistory
History
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
Manuscript of Western Thailand
Manuscript of Western Thailand Manuscript of Western Thailand
Manuscript of Western Thailand
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน

  • 1. 1 คาชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้ เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง) เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
  • 2. 2 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน 1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เป็นเอกสารประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึง ความสาคัญของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี ของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข 2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้ 2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด 2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
  • 3. 3 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 : เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ส 4.1 ป.5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย ส 4.1 ป.5/3 อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น ตัวชี้วัด
  • 4. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร ใฝ่เรียนรู้ และมีจิตสาธารณะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. บอกประวัติความเป็นมาของวัดพระธาตุผาเงา วัดพระธาตุจอมกิตติ วัดเจดีย์หลวงและพระธาตุภูเข้าหรือปูเข้าได้ 2. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์โบราณสถาน ได้อย่างเหมาะสม 3. เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ
  • 5. 5 นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ร่องรอยที่บ่งบอกถึงเมืองเชียงแสนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรม ในอดีต คือข้อใด ก. วัดและเจดีย์ ข. ทะเล ค. โรงเรียน ง. สานักสงฆ์ 2. วัดพระธาตุผาเงา ตั้งอยู่ที่ใด ก. หมู่บ้านจาปี ข. หมู่บ้านดอยจัน ค. หมู่บ้านสบคา ง. หมู่บ้านสบรวก 3. คาว่า “ผาเงา” มาจากสิ่งใด ก. เงาของภูเขา ข. เงาของก้อนผา (หิน) ค. เงาของเจดีย์ ง. เงาของพระพุทธรูป แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน คาชี้แจง
  • 6. 6 4. วัดพระธาตุผาเงา ชื่อเดิมคือข้อใด ก. วัดดอยคา ข. วัดดอยจัน ค. วัดสบคา ง. วัดสบรวก 5. ข้อใด ไม่ เกี่ยวข้องกับพระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์ ก. ภาพพระนางจามเทวี ข. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ค. ภาพเทวดา ง. ภาพพระพุทธรูปปางต่าง ๆ 6. วัดพระธาตุจอมกิตติ สร้างในสมัยกษัตริย์องค์ใด ก. พระเจ้าแสนภู ข. พระเจ้าพังคราช ค. พระเจ้าไชยสงคราม ง. พระเจ้าพรหมมหาราช 7. การบูรณะพระธาตุจอมกิตติครั้งแรกเกิดขึ้นในสมัยใดที่ได้สร้างครอบ เจดีย์องค์เดิมในปี พ.ศ. 2030 ก. พระเจ้าพังคราช ข. พระเจ้าสิงหนวัติ ค. เจ้าสุวรรณคาล้าน ง. หมืนเชียงสง
  • 7. 7 8. ใครเป็นผู้สร้างวัดเจดีย์หลวง ก. พระเจ้าแสนภู ข. พระเจ้าพังคราช ค. พระเจ้าสิงหนวัติ ง. พระเจ้าพรหมมหาราช 9. สถานที่สาคัญในข้อใดอยู่ติดกับพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน ก. วัดพระธาตุผาเงา ข. วัดพระธาตุภูเข้า ค. วัดพระธาตุเจดีย์หลวง ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ 10. วัดพระธาตุปูเข้า เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ในข้อใด ก. พระพุทธสิหิงค์ ข. พระเชียงแสนสิงห์หนึ่ง ค. พระหยกเชียงราย ง. พระเจ้าล้านทอง เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะครับ
  • 8. 8 ข้อ คาตอบ 1. ก 2. ค 3. ข 4. ค 5. ง 6. ข 7. ค 8. ก 9. ค 10. ข เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
  • 9. 9 เมืองเชียงแสนหรืออาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายในปัจจุบันเป็นเมือง ประวัติศาสตร์ที่ยังคงอนุรักษ์ร่องรอยอารยธรรมที่รุ่งเรืองในอดีตให้อนุชนรุ่นหลัง ได้ศึกษาและชื่นชม ตลอดจนมีความตระหนักรักท้องถิ่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ร่วมกันสืบสานและอนุรักษ์มรดกของชาติที่สืบทอดมาจนถึงชนรุ่นปัจจุบัน ร่องรอยการสร้างโบราณสถานต่าง ๆ ในเชียงแสน ทั้งในเมืองและนอกเมือง ตามข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรมีวัดทั้งหมด 139 แห่ง เป็นวัด ภายในกาแพงเมืองเชียงแสน จานวน76 แห่งวัดที่อยู่รอบนอกกาแพงเมืองเชียงแสน 63 แห่ง และบางแห่งเป็นวัดร้างไม่มีพระภิกษุสงฆ์จาพรรษาอยู่ แต่ยังคงเป็น สถานที่ที่มีผู้สนใจศึกษาในเรื่องนี้ไปเยี่ยมชมอยู่เนื่องๆ โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
  • 10. 10 วัดพระธาตุผาเงา ตั้งอยู่ในหมู่บ้านสบคา อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย บริเวณอาณาเขตของวัดพระธาตุผาเงามีพื้นที่ ทั้งหมด743 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็น เนินเขาเล็กๆ ทอดยาวลงมาตั้งแต่บ้านจาปี ผ่านบ้านดอยจันและมาสิ้นสุด ที่บ้านสบคาแต่ก่อนราษฎรเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “ดอยคา” แต่มาภายหลังชาวบ้านเรียกว่า “ดอยจัน” การคมนาคมสื่อสาร สะดวกสบายด้วยถนนลาดยาง มีระบบสาธารณูปโภคครบครัน ปัจจุบันวัด พระธาตุผาเงา เป็นแหล่งเรียนรู้หรือแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญและมีชื่อเสียง มากที่สุดของอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เจ้าอาวาส ปัจจุบันคือ พระครู พุทธิญาณมุนี (ปญญาวชิโร) วัดพระธาตุผาเงา
  • 11. 11 ที่มาของชื่อวัดมาจากชื่อของพระธาตุผาเงาที่ตั้งอยู่บนยอดหินก้อนใหญ่ คาว่าผาเงาก็คือ เงาของก้อนผา (ก้อนหิน) หินก้อนนี้มีลักษณะสูงใหญ่คล้าย รูปทรงเจดีย์และทาให้ร่มเงาได้ดีมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “พระธาตุผาเงา” ความจริงก่อนที่จะย้ายวัดมาที่นี่ เดิมมีชื่อว่า “วัดสบคา” ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าโขง ฝั่งน้าได้ถูกน้ากัดเซาะจนพังทลายลง ทาให้บริเวณของวัดถูกพัดพังลงใต้แม่น้า โขงเกือบหมดวัด คณะศรัทธาจึงได้ย้ายวัดไปอยู่ที่ใหม่บนเนินเขา ซึ่งไม่ไกล จากวัดเดิมและส่วนสูงขึ้นไปบนภูเขาลูกนี้มีพระธาตุเจ็ดยอดและพระธาตุจอมจัน อีกสององค์ซึ่งราษฎรได้สร้างประดิษฐ์ไว้ให้ได้สักการบูชาเคียงคู่กัน พระธาตุผาเงา
  • 12. 12 ประวัติความเป็นมาของวัดพระธาตุผาเงาแห่งนี้ ปัจจุบันกาลังอยู่ในช่วงที่ เจริญรุ่งเรืองสุดขีด สันนิษฐานจากอดีตกาล อาจจะเป็นวัด ที่สาคัญและประจากรุง เก่าหรือเวียงเก่าหรือเมืองเชียงแสน แห่งนี้ก็เป็นได้ จะเห็นได้ว่าพระพุทธรูปหลวง พ่อผาเงาที่ขุดค้นพบแห่งนี้ถูกสร้างและฝังอยู่ใต้พระพุทธรูปองค์ใหญ่ (พระประธาน) จะปิ ดบังซ่อนเร้นกลัวถูก โจรกรรมจากพวกนิยมสะสมของเก่า ตอนแรกได้ สันนิษฐานว่าบริเวณเนินเขาเล็กๆ ลูกนี้ที่กาลังแผ้วถางอยู่นี้จะต้องเป็นวัดเก่าแน่ เพราะได้พบเห็นซากโบราณวัตถุกลาดเกลื่อนไปทั่วบริเวณ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2519 จึงได้ลงมือแผ้วถางป่า แต่เดิมที่แห่งนี้เคยเป็นถ้า เรียกว่า ถ้าผาเงา ปรากถ้าถูกปิดไว้ นาน ทาให้บริเวณแห่งนี้เป็นป่ารก เต็มไปด้วยซากโบราณวัตถุกระจัดกระจายอยู่กลาด เกลื่อนการค้นพบพระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงา เมื่อวันที่ 17มีนาคม2519เวลา14.00น. เมื่อคณะศรัทธาได้ปรับพื้นที่เรียบร้อยแล้วทุกคนต่างตื่นเต้นและปีติยินดี เมื่อได้พบว่า ใต้ตอไม้นั้น(หน้าฐานพระประธาน)มีอิฐโบราณก่อเรียงไว้เมื่อยกอิฐออกก็พบหน้ากาก จึงได้พบพระพุทธรูปมีลักษณะสวยงามมาก ผู้เชี่ยวชาญทางโบราณวัตถุ ได้วิเคราะห์ ว่า พระพุทธรูปองค์นี้มีอายุระหว่าง 700-1,300 ปี คณะทั้งหมดจึง ได้พร้อมกันตั้งชื่อ พระพุทธรูปองค์นี้ว่า “หลวงพ่อผาเงา”และเปลี่ยนชื่อวัดใหม่ เป็น“วัดพระธาตุผาเงา” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
  • 13. 13 ส่วนพระธาตุเจ็ดยอดนั้นถูกบูรณะและสร้างขึ้นใหม่ด้วยแรงศรัทธา ของพุทธศาสนิกชน ทั้งสามประเทศร่วมกันสร้างด้วยจิตศรัทธาอันแรงกล้า เพื่อถวายเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ ชนชาติไทย ชนชาติลาว และชนชาติพม่า เป็นองค์ใหม่สวยสง่ามาก พระเจดีย์ท่าสร้างขึ้นใหม่นี้ มีนามว่า พระบรมธาตุนิมิตเจดีย์ เป็นเจดีย์ สีขาวทั้งองค์ ยอดเจดีย์สูงสง่าสวยงามอยู่ท่ามกลางท้องฟ้าสีคราม เป็นที่ชื่นชม บูชาของประชาชนยิ่งนักมีพระอุโบสถและกาแพงวัดรอบอาณาเขตของวัดอย่าง วิจิตรสวยงามถาวร
  • 14. 14 นอกจากนี้มีการสร้างศาลาการเปรียญ มีพระประธานองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่ ให้กราบไหว้บูชากัน วัดพระธาตุผาเงาแห่งนี้ ปัจจุบันเป็น สถานที่ฝึกปฏิบัติธรรมเป็นที่อบรมสัมมนาด้านศาสนา คุณธรรมต่างๆ ของ หน่วยงานต่างๆมากมาย เช่น เป็นสถานที่ศึกษาพานักเรียนไปฝึกอบรมปฏิบัติ ธรรม หน่วยงานเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล มักจะจัดการอบรม คุณธรรมแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่อยู่เสมอ
  • 15. 15 นอกจากนี้มีการสืบสานประเพณีท้องถิ่นล้านนา เช่น การตานก๋วยสลาก หรือ ทานสลากภัต งานปอยหลวง งานสรงน้าพระธาตุ มีขึ้นเป็นประจาทุกปี บนดอยจันเป็นเทือกเขาไม่สูงนัก เป็นจุดชมทิวทัศน์ของเมืองเชียงแสนได้ อย่างชัดเจน และงดงามแห่งหนึ่ง มองเห็นแม่น้าโขง แม่น้าคา ท่าเรือ การค้าขาย ระหว่างประเทศ ไทย ลาว พม่า และประเทศจีน ด้วยมิตรไมตรีอันดีต่อกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มองเห็นชัดเจนอยู่ไม่ไกล นักในฝั่งตรงกันข้าม
  • 16. 16 วัดพระธาตุจอมกิตติ ตั้งอยู่บนยอดดอยน้อย ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายห่างจากตัวอาเภอเชียงแสน ประมาณ 1.5กิโลเมตร ตามศิลาจารึก ของของวัดพระธาตุจอมกิตติ ได้กล่าวว่า เมืองเชียงแสนนั้น เกิดมาตั้งแต่สมัย พระพุทธเจ้า ยังดารงพระชนม์ชีพและเคยเสด็จมายังเชียงแสน ทรงดึง พระเกศา ประดิษฐานไว้ที่วัด แล้วยังทรงพยากรณ์ว่า แว่นแคว้นแห่งนี้คงจะ สืบสาน พระพุทธศาสนาดารงได้จนครบ 5,000 ปี วัดพระธาตุจอมกิตติ
  • 17. 17 พระเจ้าพังคราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรโยนกเชียงแสน ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 1458 ทรงมีพระราชโอรส คือ พระเจ้าพรหมมหาราช ได้ทรงสร้างพระธาตุ จอมกิตติขึ้นในปี พ.ศ.1481 เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สร้างเจดีย์ย่อเหลี่ยม ไม้สิบสอง ไว้นอกกาแพงเมืองเชียงแสนไปทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร พระธาตุเจดีย์มีลักษณะตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสถัด ขึ้นไปเป็นฐานปัทม์ ย่อมุมซ้อนกันสี่ชั้นรองรับเรือนธาตุ ซึ่งย่อมุมเช่นกัน มีซุ้ม ทิศประดิษฐานพระพุทธรูป ปางประทับยืนทั้ง 4 ด้าน ส่วนยอดเป็นองค์ระฆัง กลมทรงสูง มีลายดอกกลมระหว่างเส้นคู่ขนานวัดตรงกลาง ส่วนยอดทาเป็น กลีบมะเฟืองรองรับปล้องไฉนกับปลียอดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจานวน11 องค์ เป็นพระบรมอัฐิธาตุ ส่วนพระนลาฏ(หน้าผาก)และพระเกศาธาตุ ซึ่งประดิษฐาน ไว้ก่อนแล้วพระเจดีย์กว้าง3วาสูง6วา2ศอกแล้วเสร็จในปี พ.ศ.1483
  • 18. 18 ต่อมาพระธาตุจอมกิตติได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยของ พระเจ้าสุวรรณคาล้าน เจ้าเมืองเชียงแสนได้ให้หมื่นเชียงสงสร้างขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ.2030 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเจ้ายอดของเชียงราย โดยก่อสร้างพระเจดีย์ ครอบองค์เดิมต่อมาพระธาตุชารุดทรุดโทรมมาก เจ้าฟ้ าเฉลิมเมืองพร้อมด้วย คณะศรัทธา ได้บูรณปฏิสังขรณ์อีก เมื่อปี พ.ศ.2237 ย้อนไปในสมัยพระเจ้า สุวรรณคาล้านนั้น เมื่อพระองค์ทรงบูรณะพระธาตุจอมกิตติ แล้วก็ได้สร้าง พระธาตุจอมแจ้งขึ้นมาอีกองค์หนึ่ง ตั้งอยู่ด้านล่างไม่ไกลจากที่ตั้งของพระธาตุ จอมกิตติมากนัก ด้านหน้าของพระธาตุจอมแจ้งเป็นพระวิหารท่าสร้างด้วย ศิลปกรรมสมัยใหม่สวยงามมาก
  • 19. 19 ส่วนวัดพระธาตุจอมกิตตินั้นสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2500 โดยเริ่มแรก พระครูสังวรสมาธิวัตร แห่งสานักวิปัสสนา เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นชาวเชียงแสนได้จัดตั้งสานักสงฆ์ขึ้นมาที่เชิงดอยพระธาตุจอมกิตติ และได้ย้ายขึ้นไปสร้างวัดอยู่บนเชิงพระธาตุ ในภายหลังจึงได้มีการสร้างบันไดขึ้น สร้างพระอุโบสถที่หันหน้าสู่แม่น้าโขง สร้างซุ้มประตูโขงโยนก 4 ซุ้มประตู ประจาไว้ 4 ทิศ ส่วนที่เชิงดอยพระธาตุก็ยังมีพระพุทธรูปสาคัญองค์ใหญ่ คือ พระพุทธรูปองค์หลวงหรือหลวงพ่อพุทธองค์โยนกมิ่งมงคลเชียงแสน ซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในบริเวณบ่อน้าทิพย์ สร้างขึ้นแทนพระเจ้าล้านตื้อ ที่จมอยู่ในแม่น้าโขง แต่เศียรได้งมขึ้นมาประดิษฐานที่พิพิธภัณฑ์เชียงแสน รวมทั้งปราสาทหลังเก่าที่เป็นสานักสงฆ์ก็ยังคงอยู่ที่เชิงดอย
  • 20. 20 พระธาตุจอมกิตติตั้งอยู่บนเนินเขาหรือดอยน้อยหรือดอยจอมกิตติ โดยมีบันไดนาค 339 ขั้น ทอดยาวขึ้นไปนมัสการพระธาตุ หรือมีทางรถยนต์ ขึ้นไปจอดบนบริเวณพระธาตุเลยก็ได้และมีจุดชมทิวทัศน์ของแม่น้าโขงอยู่หลัง องค์พระธาตุจอมแจ้งให้ชมกันอย่างเพลิดเพลิน ชัดเจน ทาให้มีนักทัศนาจร หลั่งไหลกันไปกราบไหว้บูชากันตลอดปีมิได้ขาด ถือเป็นโบราณสถานที่สาคัญ อีกแห่งหนึ่งของอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
  • 21. 21 วัดเจดีย์หลวงตั้งอยู่ภายในกาแพงเมือง ติดกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน สิ่งสาคัญภายในวัด ได้แก่ วิหารใหญ่ที่หลังคาพังทลายแล้ว ด้านหลัง วิหารมีเจดีย์ทรงระฆังขนาดใหญ่ที่สุดในเชียงแสน วัดเจดีย์หลวง
  • 22. 22 ในตานานเมืองเชียงแสน พงศาวดารโยนกและชินกาลมาลีปกรณ์ บันทึก เรื่องราวของวัดเจดีย์หลวงว่า “พญาแสนภูสร้างวัดเจดีย์หลวงในเมืองเชียงแสน วันอังคาร เดือนเพ็ญ 5 ศักราช 327 ปีมะเมีย พญาแสนภูได้ก่อเจดีย์สถาปนาเป็น วิหารวัดพระหลวง สร้างวิหารกว้าง 8 วา 1 ศอก ยาว 17 วา ก่อพระเจดีย์สูง 29 วา ฐานกว้างด้านละ 14 วา ไว้เขตอุปจารอาราม กว้าง 100 วา ไว้ข้างพระ 50 ครัว”
  • 23. 23 จากการขุดค้น ขุดแต่งทางโบราณคดีพบว่าเจดีย์องค์นี้มีการบูรณะ ถึง 3 สมัย โดยสมัยแรกสุดนักโบราณคดีพบเจดีย์ทรงระฆังองค์เล็กด้านในสมัย ต่อมาจึงพบว่ามีการเพิ่มขนาดองค์เจดีย์ให้ใหญ่ขึ้น และสมัยที่ 3 พบว่า มีการขยายฐานล่างสุดให้มั่นคงยิ่งขึ้น
  • 25. 25 สาหรับโบราณวัตถุชิ้นสาคัญซึ่งได้จากการขุดค้นขุดแต่งบริเวณ วัดเจดีย์หลวงตั้งแต่ พ.ศ.2500 เป็นต้นมา ได้แก่ พระพุทธรูปหินทราย พระบาท และฐานพระพุทธรูปสาริด นอกจากนี้ยังพบพระพิมพ์ต่างๆ เช่น พระพิมพ์ เนื้อชิน พระพุทธรูปปางมารวิชัยประทับนั่งใต้ซุ้มโพธิ์ ลายกลีบบัวคว่าหงาย และลายกนก รวมถึงยังพบเศียร พระหัตถ์พระพุทธรูป และพระพักตร์ เทวดา ปูนปั้นเป็นจานวนมาก
  • 26. 26 วัดปูเข้า วัดเก่าแก่อายุนับพันปี เป็นอีกหนึ่งโบราณสถานที่สาคัญของ เชียงแสน จากจุดชมวิวสามเหลี่ยมทองคา บนพระธาตุปูเข้า หรือเรียกอีกชื่อว่า วัดพระธาตุภูเข้า สามารถเดินเข้าไปชมโบราณสถานที่เก่าแก่นี้ได้ จากลานจอด รถมีบันไดทางขึ้นอยู่บริเวณลานจอดรถพอดี ซึ่งด้านบนจะเป็นที่ตั้งของโบราณ สถานที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.1302 และบริเวณนี้เขาเรียกว่าดอยเชียงเมี่ยง วัดพระธาตุภูเข้าหรือปูเข้า
  • 27. 27 พระธาตุดอยปูเข้าสร้างขึ้นบนดอยเชียงเมี่ยง ริมปากน้ารวก เมื่อ พ.ศ.1302 ในสมัยพระยาลาวเก้าแก้วมาเมือง กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งเวียงหิรัญนครเงินยาง โบราณสถานประกอบด้วยพระวิหาร และกลุ่มเจดีย์ที่พังทลาย ก่อด้วยอิฐ มีร่องรอย การตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น
  • 28. 28 ตามตานาน ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของพระธาตุปูเข้า กล่าวคือ มีพระราชโอรส 3 พระองค์ของพระเจ้าจังกราชแห่งเมืองหิรัญนครเงินยาง (เชียงแสนในปัจจุบัน) ทรงพระนามว่าลาวเก้าลาวเกื้อ และล่าวก่อ เมื่อวัยเยาว์ทั้งสามพระองค์ได้พากันไปเที่ยวบนดอยเชียงเมี่ยงที่สบห้วยตม แล้วได้พบปู่ใหญ่ตัวหนึ่ง จึงช่วยกันจับปู แต่ปูได้หนีหลบลงรูไปได้ ลาวเกื้อและลาวก่อสั่งให้ลาวเก้าผู้เป็นน้องเฝ้าไว้ที่ฝั่งห้วยแล้วพี่ทั้งสองจึง กลับวังเพื่อกราบทูลเรื่องราวพระบิดา ตกเย็นลาวเก้าจึงกลับเข้าเมืองโดยไม่ได้ เห็นปูยักษ์อีกเลย
  • 29. 29 เมื่อทรงเจริญวัยขึ้น พระเจ้าจังกราชจึงส่งลาวก่อไปครองเมืองกวาง ลาวเกื้อไปครองเมืองผาลาน ส่วนโอรสองค์สุดท้องอยู่ในวังกับพระราชบิดา จนได้ครองเมืองสืบแทนพระองค์ มีพระนามว่า พระเจ้าลาวแก้วเก้ามาเมือง แล้วโปรดให้สร้างเจดีย์ตรงดอยเชียงเมี่ยง ตรงที่พบปูยักษ์ให้ชื่อว่า พระธาตุปูเข้า หรือภูเข้า ในปัจจุบัน
  • 30. 30 ปัจจุบันร่องรอยของโบราณสถานในอาเภอเชียงแสนที่หลงเหลือให้เห็น มักเป็นซากปรักหักพังของสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา ได้แก่ พระเจดีย์และ พระวิหาร ซึ่งส่วนใหญ่มีรายชื่อปรากฏอยู่ในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน และมีวัดอยู่ทั้งสิ้น 139 วัด แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ วัดในเมือง 76 วัด และ วัดนอกเมือง 63 วัด การเรียกชื่อวัดต่าง ๆ ได้ยึดถือจากตาแหน่งที่ระบุไว้ใน พงศาวดารล้านนาซึ่งเขียนขึ้นภายหลัง
  • 31. 31 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 1. ดารง ดา-รง ทาให้คงอยู่ 2. ตระหนัก ตระ-หนัก รู้ชัดแจ้ง 3. ถาวร ถา-วอน ยั่งยืนมั่นคง 4. นมัสการ นะ-มัด-สะ-กาน การกราบไหว้ 5. บูรณปฏิสังขรณ์ บู-ระ-นะ-ปะ-ติ- สัง-ขอน ซ่อมแซมทาให้ดีเหมือนเดิม (มักใช้กับวัดวาอาราม) 6. โบราณวัตถุ โบ-ราน-นะ-วัด-ถุ สิ่งของโบราณที่เคลื่อนที่ได้มีอายุเก่ากว่า 100 ปีขึ้นไป 7. ประยุกต์ ประ-ยุก นาความรู้มาปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ 8. พยากรณ์ พะ-ยา-กอน การทานายเหตุการณ์ล่วงหน้า 9. พระเกศา พระ-เก-สา เส้นผม 10. พระนลาฏ พระ-นะ-ลาด หน้าผาก 11. พระเศียร พระ-เสียน ศีรษะ 12. พระหัตถ์ พระ-หัด มือ 13. พุทธกาล พุด-ทะ-กาน สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ ช่วงเวลาที่เชื่อกันว่าหลังจากพระพุทธเจ้า ปรินิพพานแล้ว พระพุทธศาสนาจะดารง อยู่5,000 ปี คาอธิบายศัพท์ เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
  • 32. 32 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 14. ไมตรี ไม-ตรี ความหวังดีต่อกัน, ความเป็นเพื่อน 15. วิจิตร วิ-จิด สวย, งาม, น่าพิศวง 16. ศรัทธา สัด-ทา ความเชื่อถือ, ความเลื่อมใส 17. ศิลปกรรม สิน-ละ-ปะ-กา สิ่งที่ผลิตหรือสร้างขึ้นเป็นศิลปะ 18. อนุรักษ์ อะ-นุ-รัก รักษาไว้ให้คงเดิม เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์กันนะครับ
  • 33. 33 แบบฝึกหัดที่ 1 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เติมคาลงในให้ได้ใจความถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน) 1. พระธาตุจอมแจ้งสร้างอยู่ด้านล่างไม่ไกลจาก................................................. 2. พระพุทธรูปที่ตามตานานกล่าวว่าจมอยู่ในแม่น้าโขงคือ................................ 3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือ.................................................................................. 4. ภายในองค์พระธาตุจอมกิตติได้บรรจุอัฐิของพระพุทธเจ้าในส่วนของ ............................................................................................................................. 5. พระประธานในอุโบสถวัดพระธาตุจอมกิตติ ชื่อ........................................... ............................................................................................................................. 6. พระธาตุผาเงา ได้สร้างขึ้นที่.....................................เดิมเรียกว่า..................... 7. บนดอยจันมีเนินเขาลดหลั่นลงเป็นที่ประดิษฐานของพระธาตุ ได้แก่ ............................................................................................................................. 8. ปัจจุบันได้สร้างพระธาตุใหม่สีขาวครอบพระธาตุเจ็ดยอดไว้มีชื่อว่า ............................................................................................................................. 9. ท่าเรือฝั่งแม่น้าโขง มีการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับประเทศ.................. 10. ผู้สร้างพระธาตุจอมกิตติ คือ........................................................................ (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) คาชี้แจง
  • 34. 34 แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 1 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เติมคาลงในให้ได้ใจความถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน) 1. พระธาตุจอมแจ้งสร้างอยู่ด้านล่างไม่ไกลจาก พระธาตุจอมกิตติ 2. พระพุทธรูปที่ตามตานานกล่าวว่าจมอยู่ในแม่น้าโขงคือ พระเจ้าล้านตื้อ 3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือ พญาแสนภู 4. ภายในองค์พระธาตุจอมกิตติได้บรรจุอัฐิของพระพุทธเจ้าในส่วนของ พระนลาฏ (หน้าผาก) พระเกศา (เส้นผม) 5. พระประธานในอุโบสถวัดพระธาตุจอมกิตติ ชื่อ หลวงพ่อพุทธองค์ โยนกมิ่งมงคลเชียงแสน 6. พระธาตุผาเงา ได้สร้างขึ้นที่ ภูเขาหรือดอยจัน เดิมเรียกว่า ดอยคา 7. บนดอยจันมีเนินเขาลดหลั่นลงเป็นที่ประดิษฐานของพระธาตุ ได้แก่ พระธาตุผาเงา พระธาตุเจ็ดยอด และพระธาตุจอมจัน 8. ปัจจุบันได้สร้างพระธาตุใหม่สีขาวครอบพระธาตุเจ็ดยอดไว้มีชื่อว่า พระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์ 9. ท่าเรือฝั่งแม่น้าโขง มีการค้าขายระหว่างประเทศไทยกับประเทศ จีน พม่าและลาว 10. ผู้สร้างพระธาตุจอมกิตติ คือ พระเจ้าพรหมมหาราช (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) คาชี้แจง
  • 35. 35 แบบฝึกหัดที่ 2 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน ใ ให้นักเรียนเติมแผนผังความคิดต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ (10 คะแนน) (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ โบราณสถาน ................................. ................................. ................................. . ............................... ............................... ............................... ...... ร่วมทาบุญ สรงน้าพระธาตุ ประจาปี ............................. ............................. ............................. ............ ......................... ......................... ......................... ........................ ........................................ ........................................ ........................................ ................. คาชี้แจง
  • 36. 36 แนวการตอบ แบบฝึกหัดที่ 2 เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน คา ให้นักเรียนเติมแผนผังความคิดต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ (10 คะแนน) (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ โบราณสถาน ช่วยเก็บขยะ รอบบริเวณโบราณสถาน ไม่ทิ้งขยะ และสิ่งสกปรก ลงในบริเวณวัด ร่วมทาบุญ สรงน้าพระธาตุ ประจาปี ไม่ส่งเสียงดังหรือ วิ่งเล่นภายในวัด ไม่เขียนฝาผนัง ของวัด หรือ ศาสนสถาน สืบสานประเพณีท้องถิ่น ด้วยการร่วมกิจกรรม เช่น การทาบุญ ตักบาตร คาชี้แจง
  • 37. 37 นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ร่องรอยของการสร้างเมืองเชียงแสนที่ชัดเจนในปัจจุบันคือข้อใด ก. คูเมืองเก่าทั้ง 3 ด้านรอบเมือง ข. วัดเก่าแก่ในกาแพงเมือง 76 วัด ค. วัดเก่าแก่นอกกาแพงเมือง 63 วัด ง. กาแพงเก่าก่อนเข้าเมืองที่จารึกชื่อเมืองเชียงแสนไว้ 2. พระธาตุจอมกิตติ เป็นที่ประดิษฐานส่วนใดของพระพุทธเจ้า ก. พระเพลา ข. พระเกศา ค. พระนลาฏ ง. พระอุรังคธาตุ 3. ผู้สร้างวัดเจดีย์หลวงคือใคร ก. พญาแสนภู ข. พญามังราย ค. พระเจ้าสังหนวัติ ง. พระเจ้าพรหมมหาราช แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน คาชี้แจง
  • 38. 38 4. พระธาตุผาเงาสร้างในสมัยผู้ครองนครโยนกองค์ใด ก. ขุนวัง ข. ขุนลัง ค. ขุนคลัง ง. ขุนผาพิง 5. พระบรมธาตุนิมิตเจดีย์ตั้งอยู่ในบริเวณใด ก. วัดพระธาตุผาเงา ข. วัดพระธาตุป่าสัก ค. วัดพระธาตุดอยตุง ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ 6. แม่น้าสายใดที่เชื่อมโยงเป็นเขตติดต่อระหว่างไทย ลาวและพม่า ก. แม่น้าคา ข. แม่น้ากก ค. แม่น้าโขง ง. แม่น้ารวก 7. วัดในข้อใดมีชื่อเดิมว่า วัดสบคา ก. วัดเจดีย์หลวง ข. วัดพระธาตุผาเงา ค. วัดพระธาตุดอยเวา ง. วัดพระธาตุจอมกิตติ
  • 39. 39 8. เจดีย์ทรงระฆังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเมืองเชียงแสนตั้งอยู่ในวัดใด ก. วัดป่าสัก ข. วัดเจดีย์หลวง ค. วัดพระธาตุปู่เข้า ง. วัดพระธาตุผาเงา 9. ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงแสนที่คงอยู่ปัจจุบัน ก. โรงพยาบาลเชียงแสน ข. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ค. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด 10. คาว่า “เวียงเก่า” เป็นอาเภอเก่าใช้เรียกอาเภอใด ก. เมือง ข. แม่จัน ค. แม่สาย ง. เชียงแสน เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ หลังเรียนนะครับ
  • 40. 40 เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน ข้อ คาตอบ 1. ง 2. ข 3. ก 4. ง 5. ก 6. ค 7. ข 8. ข 9. ค 10. ง เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
  • 41. 41 ธีระ เงินสัจจา. องค์การบริหารส่วนตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2555.(เอกสารอัดสาเนา) บดินทร์ กินาวงศ์. เอกสารการศึกษาประกอบวิชาหลักสูตรท้องถิ่น ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย –เชียงแสน. เชียงราย :สามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย, 2546. โรงเรียนบ้านป่ าคาแม่เงินสามัคคี. (ออนไลน์)แหล่งที่มา:http://www.cpmschool. blogspot.com/p/blog-page.html?m=1,2552. วิษณุพงษ์ ยารวง. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย:ม.ป.พ,2554.(เอกสารอัดสาเนา) สัมภาษณ์ ศรชัย ธรรมวงศ์. ผู้ใหญ่บ้านป่ าคา ตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 16เมษายน2556. ________.พ.ต.ท.นิธิกร เดชบุญ.หัวหน้าสถานีตาบลภูธรตาบลบ้านแซว อาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. 10 พฤษภาคม 2556. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547. อาณาจักรโยนกเชียงแสน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.nookjung.com/travel/wpcontent/uploads/ 2009/08/n25.jpg. 2552. บรรณานุกรม