SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
การสารวจตัวละครในเรื่อง ปลาบู่ทอง
โครงงานประเภทสารวจและ รวบรวมข้อมูล จัดทาโดย
นาย เทพทัต คงเนียม เลขที่ 1
โครงงายนี้เป็นส่วนของรายวิชา ภาษไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2564กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ภาษไทย โรงเรียนวัดบางใบไม้ อ.เมือง จ สุราษฎร์ธานี
ชื่อ นายเทพทัต คงเนียม เลขที่1
ชื่อโคลง ปลาบู่ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ท33102
สถานศึก โรงเรียนวัดบางใบไม้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสาว มีรมล ดาบเงิน
ปีการศึกษา2564
บทคัดย่อ
ชื่อโครงงานเรื่องปลาบู่ทอง
ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง
2. เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย
3. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ ปลาบู่ทอง
คือวรรณคดีไทยเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ เป็นผลงานเขียนที่เกิดขึ้นก่อนสมัยรัชกาลที่
7ชายหาปลาคนหนึ่งมีเมีย 2 คน เมียหลวงมีลูกสาวชื่อเอื้อย เมียน้อยมีลูกสาวชื่ออ้าย และอี่
วันหนึ่งชายหาปลาจับได้ปลาบู่ทอง เมียหลวงถูกสามีฆ่าตาย
ไปเกิดเป็นปลาบู่ทองหามาเอื้อยลูกสาวของตน แต่ก็ถูกเมียน้อย และลูก ๆกลั่นแกล้งจับมากิน
เอื้อยได้เกล็ดปลาไปปลูกเป็นต้นมะเขือก็ถูกถอนไปกินอีก
จึงนาเม็ดมะเขือมาปลูกเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง
ท้าวพรหมทัตเสด็จมาพบและได้พบกับเอื้อยทรงพอพระทัยนางมากจึงแต่งตั้งให้เป็นมเหสี
ต่อมาถูกฆ่าตายไปเกิดเป็นนกแขกเต้าฤาษีได้ช่วยไว้และชุบให้เกิดเป็นดังเดิม
เอื้อยจึงได้กลับเข้ามาอยู่ในวังหลวง ส่วนอ้ายซึ่งปลอมตัวเป็นเอื้อยถูกสั่งให้ประหารชีวิต
4. ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๗ ค่า ปีกุน ตรงกับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐
มีพระนามเดิมตามหนังสือราชวงศ์สกุลว่า ฉิม
เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและสมเด็จพระอมรินทราและบรมร
าชินี
ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราช
บุรี นามเดิมว่า ทองด้วง พระองค์ทรงพระราชสมภพ ณ บ้านสวนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพ ตั้งพระนครหลวงยกเมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแล้ว
ได้เชิญให้หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีมาปฏิบัติราชการในตาแหน่งที่ราชฐานันดรเป็นพระราชวริ
นทร์เจ้ากรมพระตารวจนอกขวามีนิวาสสถานอยู่ใต้วัดระฆังโฆสิตาราม
จนได้รับการเลื่อนยศบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์
กิตติกรรมประกาศ
โครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท22101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีจุดประสงค์
เพื่อศึกษาว่าเพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี
และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ
ทางผู้จัดทาต้องขอขอบคุณอาจารย์ นีรมล ดาบเงินที่คอยให้คาปรึกษา
แนะนาแนวทางแล้วให้ความใรการค้นคว้า และการจัดทารายงานฉบับนี้
สุดท้ายนี้ข่าวผู้จัดการทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้
และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน
ผู้จัดทา นาย เทพทัตร คงเนียม
สารบัญ หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 การศึกษาวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง 4
2.2 ความหมานของปลาบู่ทอง 4
2.3 ประวัติผู้แต่งเรื่อง ปลาบู่ทอง 5
2.4 ลักษณะคาประพันธ์ 6
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
3.1 วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 7
3.2 วิธีการดาเนินงาน 7
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
4.1 ผลการดาเนินงาน 8
4.2 การนาไปใช้ 8
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล
5.1 สรุปผล 9
5.2 อภิปราย 9
5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 10
บทที่1
บทนำ
1.แนวคิดที่มำของโคลงงำน
เป็นนิทานพื้นบ้าน ที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่หลาย
ปรากฏทั้งรูปแบบที่เป็นมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์ที่มีการบันทึกในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยกรอง
เป็นเรื่องของความอิจฉาริษยาอาฆาตระหว่างเมียหลวงเมียน้อย เมียหลวงตายไปเกิดเป็นปลาบู่ทอง
และต่อมาเกิดเป็นต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทอง
นางเอื้อยผู้เป็นนางเอกถูกแม่เลี้ยงกลั่นแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจนตกทุกข์ได้ยาก แต่เมื่อกษัตริย์ประพาสป่า
นางเอื้อยเป็นผู้ถอนต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทองได้ จึงได้เป็นมเหสีของกษัติย์
แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เลี้ยงจนตายไปและเกิดเป็นนกแขกเต้า จนฤาษีต้องมาช่วยชุบชีวิตคืนมา
ตอนท้ายเรื่องสะท้อนให้เห็นว่าคนดีย่อมตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว ปลาบู่ทอง
เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี
จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์
ในโครงงานเรื่องนี้ต้องดารสารวจตัวละครในเรื่องปลาบู่ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่องปลาบู่ทองมากขึ้น
เข้าใจในตัวละคร ว่ามีลักษณะ นิสัย หรือรูปลักษณ์ อย่างไร และยังสืบสานอยู่คู่คนไทย ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน
ได้อ่านนิทานหรือรับชมนิทาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ในแต่ละตอนจะสอดแทรกเนื้อหา หรือข้อคิด คติสอนใจไว้ด้วย
2.วัตถุประสงค์ของโคลงงาน
1. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง
2.เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย
3.เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ
ขอบเขตการเขตการศึกษา ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระยะเวลาในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม
พ.ศ 2565ถึงวันที่ 17มีนาคม พ.ศ 2565 ขอบเขตด้านประชาการ ศึกษารวบรวมเนื้อเรื่อง ปลาบู่ทอง
จากอินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่างๆ
นิยามศัพท์เฉพาะ
1 ประวัติของปลาบู่ทอง
1. ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้าน ที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่หลาย
ปรากฏทั้งรูปแบบที่เป็นมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์ที่มีการบันทึกในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยก
รอง เป็นเรื่องของความอิจฉาริษยาอาฆาตระหว่างเมีย
2. หลวงเมียน้อย เมียหลวงตายไปเกิดเป็นปลาบู่ทอง และต่อมาเกิดเป็นต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทอง
นางเอื้อยผู้เป็นนางเอกถูกแม่เลี้ยงกลั่นแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจนตกทุกข์ได้ยาก
แต่เมื่อกษัตริย์ประพาสป่า นางเอื้อยเป็นผู้ถอนต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทองได้ จึงได้เป็นมเหสีของกษัติย์
แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เลี้ยงจนตายไปและเกิดเป็นนกแขกเต้า จนฤาษีต้องมาช่วยชุบชีวิตคืนมา
ตอนท้ายเรื่องสะท้อนให้เห็นว่าคนดีย่อมตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว ปลาบู่ทอง
เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี
จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับตัวละครในเรื่อง ปลาบู่ทอง และเข้าใจถึงเนื้อเรื่อง
2. ผู้ศึกษาเข้าใจในเรื่องนิสัยของตัวละคร ที่ถูกต้อง 3.
โครงงานเรื่องนี้สามารถนาไปเผยแพร่เพื่อให้ผู้อื่นศึกษาได้ต่อ สมมติฐาน ความน่าสนใจ
ในเรื่องปลาบู่ทอง ว่าตัวละครมีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร
แนะนาไปเสนอกับผู้ที่สนใจในตัวละครปลาบู่ทอง
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษาในเรื่อง ปลาบู่ทอง ผู้ศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
1. ความหมายของปลาบู่ทอง
2. ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง
3. ลักษณะคาประพันธ์ของเรื่องปลาบู่ทอง
4. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาจึงกลายเป็นปลาบู่ทอง
5. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นต้นมะเขือเปราะ
6. เพื่อศึกษาว่าทาไมเศรษฐีทารกกับนางขนิษฐีและลูกสาวถึงเกลียดชังเอื้อย
ความหมายของปลาบู่ทอง วรรณคดีไทยเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์
เป็นผลงานเขียนที่เกิดขึ้นก่อนสมัยรัชกาลที่ 7ชายหาปลาคนหนึ่งมีเมีย 2 คน เมียหลวงมีลูกสาวชื่อเอื้อย
เมียน้อยมีลูกสาวชื่ออ้าย และอี่ วันหนึ่งชายหาปลาจับได้ปลาบู่ทอง เมียหลวงถูกสามีฆ่าตาย
ไปเกิดเป็นปลาบู่ทองหามาเอื้อยลูกสาวของตน แต่ก็ถูกเมียน้อย และลูก ๆกลั่นแกล้งจับมากิน
เอื้อยได้เกล็ดปลาไปปลูกเป็นต้นมะเขือก็ถูกถอนไปกินอีก จึงนาเม็ดมะเขือมาปลูกเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง
ท้าวพรหมทัตเสด็จมาพบและได้พบกับเอื้อยทรงพอพระทัยนางมากจึงแต่งตั้งให้เป็นมเหสี
ต่อมาถูกฆ่าตายไปเกิดเป็นนกแขกเต้าฤาษีได้ช่วยไว้และชุบให้เกิดเป็นดังเดิม
เอื้อยจึงได้กลับเข้ามาอยู่ในวังหลวง ส่วนอ้ายซึ่งปลอมตัวเป็นเอื้อยถูกสั่งให้ประหารชีวิต
ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน ๔
ขึ้น ๗ ค่า ปีกุน ตรงกับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ มีพระนามเดิมตามหนังสือราชวงศ์สกุลว่า ฉิม
เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและสมเด็จพระอมรินทราและบรมราชินี
ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี
นามเดิมว่า ทองด้วง พระองค์ทรงพระราชสมภพ ณ บ้านสวนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพ ตั้งพระนครหลวงยกเมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแล้ว
ได้เชิญให้หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีมาปฏิบัติราชการในตาแหน่งที่ราชฐานันดรเป็นพระราชวรินทร์เจ้ากรม
พระตารวจนอกขวามีนิวาสสถานอยู่ใต้วัดระฆังโฆสิตาราม
จนได้รับการเลื่อนยศบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตามเสด็จพระราชบิดาไปในการศึกสงครามตั้งแต่มีพระชนมายุเพีย
ง ๘ ชันษา เมื่อพระชนมายุได้ ๑๓ ชันษาสมเด็จพระราชบิดาให้ทาพิธีโสกันต์ (โกนจุก)
แล้วนาไปฝากมอบไว้กับสมเด็จพระวันรัต (ทองอยู่) ที่วัดระฆังโฆสิตารามหรือวัดบางหว้าใหญ่
ได้ศึกษาอักษรศาสตร์จากที่นั่นและได้ตามเสด็จไปในการสงครามหลายครั้ง พ.ศ. ๒๓๒๔ กรุงธนบุรีเกิดยุคเข็ญ
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ
ได้เสด็จปราบดาภิเษกเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีวงศ์และทรงย้ายพระนครหลวงมายั้งอยู่ฝั่งตะวันออ
กของกรุงธนบุรี พระราชทานนามว่า กรุงเทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์ฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕
และโปรดให้สถาปนาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีสมเด็จพระสังฆราช (สี)
วัดระฆังเป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วเสด็จไปประทับที่วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส)
จนกระทั่งออกพรรษาเมื่อกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท
พระอนุชาธิราชของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคตแล้ว
ทรงได้รับพระอิสริยยศเป็นพระมหาอุปราชา ผู้รับรัชทายาทโปรดให้มีการตั้งพระราชพิธีอุปราชาภิเษก เมื่อ พ.ศ.
๒๓๔๙ พ.ศ. ๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต
พระองค์ก็เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ขณะมีพระชนมายุ ๔๒พรรษา แล้งเสด็จประทับ ณ พระบรมมหาราชวัง
ทรงพระบรมนามาภิไธยว่า พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จดารงอยู่ในสิริราชสมบัติตลอดเวลา ๑๕ ปี สวรรคตเมื่อวันพุธ แรม
๑๑ ค่า เดือน ๘ ปีวอก ตรงกับวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ น.
ตามพระราชพงศาวดาร
ลักษณะคาประพันธ์ของ เรื่อง ปลาบู่ทอง ลักษณะคาประพันธ์แบบ บทร้อยแก้ว ประเภทนิทาน
มีการลาดับเหตุการณ์ก่อนหลัง "นางขนิษฐาจึงกลายเป็นปลาบู่ทอง"
วันหนึ่งเศรษฐีทารกพาขนิษฐาไปจับปลาในคลอง
ไม่ว่าจะเหวี่ยงแหไปกี่ครั้งก็ได้มาเพียงปลาบู่ทองที่ตั้งท้องตัวเดียวเท่านั้น
จนกระทั่งพลบค่าเศรษฐีก็ตัดสินใจที่จะเอาปลาบู่ทองที่จับได้เพียงตัวเดียวกลับบ้าน
ทว่าขนิษฐาผู้เป็นภรรยาเกิดความสงสารปลาบู่ ขอให้เศรษฐีปล่อยปลาไป
เศรษฐีทารกเกิดบันดาลโทสะจึงฟาดนางขนิษฐาจนตายและทิ้งศพลงคลอง เมื่อกลับถึงบ้านเอื้อยก็ถามหาแม่
เศรษฐีจึงตอบ หลังจากนั้น นางขนิษฐีและลูกสาวเห็นเอื้อยมีความสุขขึ้น เมื่อถูกกลั่นแกล้งก็อดทนไม่ปริ
ปากบ่นจึงสืบจนพบว่า นางขนิษฐาได้มาเกิดเป็นปลาบู่ทอง และได้พบกับเอื้อยทุกวัน
ดังนั้นเมื่อเอื้อยกาลังทางานนางขนิษฐีก็จับปลาบู่ทองมาทาอาหาร "นางขนิษฐาถึงกลายเป็นต้นมะเขือเปราะ"
เอื้อยได้พบเกล็ดปลาบู่ทองก็เศร้าใจเป็นอย่างมาก
จึงนาเกล็ดปลาบู่ไปฝังดินและอธิษฐานขอให้แม่มาเกิดเป็นต้นมะเขือ
เอื้อยมารดน้าให้ต้นมะเขือทุกวันจนงอกงาม เมื่นางขนิษฐีทราบเรื่องเข้าก็โค่นต้นมะเขือ
และนาลูกมะเขือไปจิ้มน้าพริกกิน "เศรษฐีทารกกับนางขนิษฐีและลูกสาวถึงเกลียดชังเอื้อย"
เพราะเศรษฐีทารกโดนมนต์ของนางขนิษฐี จึงทาให้เศรษฐีทารกเกลียดชังเอื้อยกับนางขนิษฐา
ส่วนนางขนิษฐาศรีและลูกสาว เกลียดชังเอื้อยเพราะ เอื้อยจะได้สมบัติของเศรษฐีทารกทั้งหมด
และจะได้ครองคู่กับเจ้าชายพรหมทัต จึงเกิดความอิจฉาริษยาเอื้อย
บทที่ 3
วิธีดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ผู้ศึกษามี วิธีการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้
3.1 วิธีการดาเนินโครงงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา
3.2.2 ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจ และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บต่างๆ
3.2.3 จัดทาโครงร่าง เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา
บทที่ 4
ผลของการดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ได้รับผลของการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้
4.1 ผลการดาเนินงาน
1. ทราบเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องปลาบู่ทอง
2. รู้จักตัวละครที่ปรากฏในเรื่องปลาบู่ทอง
3. ได้ข้อคิดจากเรื่องปลาบู่ทอง
4.2 การนาไปใช้
1. ส่งเสริมด้านศิลปะ
2. ส่งเสริมด้านเนื้อหา
3. ส่งเสริมด้านบทละคร
4.ส่งเสริมด้านสังคม
5. ส่งเสริมด้านแง่คิดในการใช้ชีวิต
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลและข้อเสนอแนะนา
ในการศึกษาโครงงานเรื่อง ปลาบู่ทอง ทางผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
จากเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต โดยจะขอสรุปผลการดาเนินงานไว้ดังนี้ สรุปผล
ในการทาโครงงานเรื่อง ปลาบู่ทอง ต้องการสารวจตัวละครในเรื่องปลาบู่ทอง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่อง
ปลาบู่ทอง มาขึ้น และยังสืบสานละครไทยให้อยู่คู่บ้านคู่เมือง ไปสู่คนรุ่นหลัง
โดยอ่านหรือรับชมละครเรื่องปลาบู่ทองได้ อภิปรายผล ปลาบู่ทอง
เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี
จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ข้อคิดต่างๆจากเรื่องปลาบู่ทอง
2. ได้รู้จักตัวละครมากขึ้น
3. ได้รู้ถึงความเป็นมาของละครเรื่องปลาบู่ทอง
4. โครงงานเรื่องนี้สามารถให้ความรู้กับบุคคลอื่นได้

More Related Content

What's hot

ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นtommy
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...wirarat
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 

What's hot (20)

ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 

Similar to 5675575757575555755555555555555555555555

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfKrapom Jiraporn
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ปราบมาร ภาค 2
ปราบมาร ภาค 2ปราบมาร ภาค 2
ปราบมาร ภาค 2Touch Thanaboramat
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูดareemarketing
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 

Similar to 5675575757575555755555555555555555555555 (20)

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
History
HistoryHistory
History
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
File
FileFile
File
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
ปราบมาร ภาค 2
ปราบมาร ภาค 2ปราบมาร ภาค 2
ปราบมาร ภาค 2
 
m3thai51
m3thai51m3thai51
m3thai51
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 

5675575757575555755555555555555555555555

  • 1. การสารวจตัวละครในเรื่อง ปลาบู่ทอง โครงงานประเภทสารวจและ รวบรวมข้อมูล จัดทาโดย นาย เทพทัต คงเนียม เลขที่ 1 โครงงายนี้เป็นส่วนของรายวิชา ภาษไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2564กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ภาษไทย โรงเรียนวัดบางใบไม้ อ.เมือง จ สุราษฎร์ธานี
  • 2. ชื่อ นายเทพทัต คงเนียม เลขที่1 ชื่อโคลง ปลาบู่ทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ท33102 สถานศึก โรงเรียนวัดบางใบไม้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสาว มีรมล ดาบเงิน ปีการศึกษา2564 บทคัดย่อ ชื่อโครงงานเรื่องปลาบู่ทอง ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง 2. เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย 3. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ ปลาบู่ทอง คือวรรณคดีไทยเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ เป็นผลงานเขียนที่เกิดขึ้นก่อนสมัยรัชกาลที่ 7ชายหาปลาคนหนึ่งมีเมีย 2 คน เมียหลวงมีลูกสาวชื่อเอื้อย เมียน้อยมีลูกสาวชื่ออ้าย และอี่ วันหนึ่งชายหาปลาจับได้ปลาบู่ทอง เมียหลวงถูกสามีฆ่าตาย ไปเกิดเป็นปลาบู่ทองหามาเอื้อยลูกสาวของตน แต่ก็ถูกเมียน้อย และลูก ๆกลั่นแกล้งจับมากิน เอื้อยได้เกล็ดปลาไปปลูกเป็นต้นมะเขือก็ถูกถอนไปกินอีก จึงนาเม็ดมะเขือมาปลูกเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง ท้าวพรหมทัตเสด็จมาพบและได้พบกับเอื้อยทรงพอพระทัยนางมากจึงแต่งตั้งให้เป็นมเหสี
  • 3. ต่อมาถูกฆ่าตายไปเกิดเป็นนกแขกเต้าฤาษีได้ช่วยไว้และชุบให้เกิดเป็นดังเดิม เอื้อยจึงได้กลับเข้ามาอยู่ในวังหลวง ส่วนอ้ายซึ่งปลอมตัวเป็นเอื้อยถูกสั่งให้ประหารชีวิต 4. ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๗ ค่า ปีกุน ตรงกับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ มีพระนามเดิมตามหนังสือราชวงศ์สกุลว่า ฉิม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและสมเด็จพระอมรินทราและบรมร าชินี ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราช บุรี นามเดิมว่า ทองด้วง พระองค์ทรงพระราชสมภพ ณ บ้านสวนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพ ตั้งพระนครหลวงยกเมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแล้ว ได้เชิญให้หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีมาปฏิบัติราชการในตาแหน่งที่ราชฐานันดรเป็นพระราชวริ นทร์เจ้ากรมพระตารวจนอกขวามีนิวาสสถานอยู่ใต้วัดระฆังโฆสิตาราม จนได้รับการเลื่อนยศบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ กิตติกรรมประกาศ โครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาว่าเพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ ทางผู้จัดทาต้องขอขอบคุณอาจารย์ นีรมล ดาบเงินที่คอยให้คาปรึกษา แนะนาแนวทางแล้วให้ความใรการค้นคว้า และการจัดทารายงานฉบับนี้ สุดท้ายนี้ข่าวผู้จัดการทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ฉบับนี้จะสามารถให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน ผู้จัดทา นาย เทพทัตร คงเนียม สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค
  • 4. บทที่1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 การศึกษาวรรณคดีเรื่องปลาบู่ทอง 4 2.2 ความหมานของปลาบู่ทอง 4 2.3 ประวัติผู้แต่งเรื่อง ปลาบู่ทอง 5 2.4 ลักษณะคาประพันธ์ 6 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 3.1 วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 7 3.2 วิธีการดาเนินงาน 7 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 ผลการดาเนินงาน 8 4.2 การนาไปใช้ 8 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 5.1 สรุปผล 9 5.2 อภิปราย 9 5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 10
  • 5. บทที่1 บทนำ 1.แนวคิดที่มำของโคลงงำน เป็นนิทานพื้นบ้าน ที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่หลาย ปรากฏทั้งรูปแบบที่เป็นมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์ที่มีการบันทึกในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นเรื่องของความอิจฉาริษยาอาฆาตระหว่างเมียหลวงเมียน้อย เมียหลวงตายไปเกิดเป็นปลาบู่ทอง และต่อมาเกิดเป็นต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทอง นางเอื้อยผู้เป็นนางเอกถูกแม่เลี้ยงกลั่นแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจนตกทุกข์ได้ยาก แต่เมื่อกษัตริย์ประพาสป่า นางเอื้อยเป็นผู้ถอนต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทองได้ จึงได้เป็นมเหสีของกษัติย์ แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เลี้ยงจนตายไปและเกิดเป็นนกแขกเต้า จนฤาษีต้องมาช่วยชุบชีวิตคืนมา ตอนท้ายเรื่องสะท้อนให้เห็นว่าคนดีย่อมตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว ปลาบู่ทอง เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ ในโครงงานเรื่องนี้ต้องดารสารวจตัวละครในเรื่องปลาบู่ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่องปลาบู่ทองมากขึ้น เข้าใจในตัวละคร ว่ามีลักษณะ นิสัย หรือรูปลักษณ์ อย่างไร และยังสืบสานอยู่คู่คนไทย ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน ได้อ่านนิทานหรือรับชมนิทาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ในแต่ละตอนจะสอดแทรกเนื้อหา หรือข้อคิด คติสอนใจไว้ด้วย 2.วัตถุประสงค์ของโคลงงาน 1. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นปลาบู่ทอง 2.เพื่อศึกษาว่าทาไมทารกกับนางขนิษฐี และลูกสาว ถึงเกลียดชังเอื้อย 3.เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นจนมะเขือเปราะ ขอบเขตการเขตการศึกษา ขอบเขตด้านระยะเวลา
  • 6. ระยะเวลาในการทาโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ 2565ถึงวันที่ 17มีนาคม พ.ศ 2565 ขอบเขตด้านประชาการ ศึกษารวบรวมเนื้อเรื่อง ปลาบู่ทอง จากอินเตอร์เน็ต คือ เว็บไซต์ต่างๆ นิยามศัพท์เฉพาะ 1 ประวัติของปลาบู่ทอง 1. ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้าน ที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่หลาย ปรากฏทั้งรูปแบบที่เป็นมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์ที่มีการบันทึกในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยก รอง เป็นเรื่องของความอิจฉาริษยาอาฆาตระหว่างเมีย 2. หลวงเมียน้อย เมียหลวงตายไปเกิดเป็นปลาบู่ทอง และต่อมาเกิดเป็นต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทอง นางเอื้อยผู้เป็นนางเอกถูกแม่เลี้ยงกลั่นแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจนตกทุกข์ได้ยาก แต่เมื่อกษัตริย์ประพาสป่า นางเอื้อยเป็นผู้ถอนต้นโพิธิ์เงินโพธิ์ทองได้ จึงได้เป็นมเหสีของกษัติย์ แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เลี้ยงจนตายไปและเกิดเป็นนกแขกเต้า จนฤาษีต้องมาช่วยชุบชีวิตคืนมา ตอนท้ายเรื่องสะท้อนให้เห็นว่าคนดีย่อมตกน้าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว ปลาบู่ทอง เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับตัวละครในเรื่อง ปลาบู่ทอง และเข้าใจถึงเนื้อเรื่อง 2. ผู้ศึกษาเข้าใจในเรื่องนิสัยของตัวละคร ที่ถูกต้อง 3. โครงงานเรื่องนี้สามารถนาไปเผยแพร่เพื่อให้ผู้อื่นศึกษาได้ต่อ สมมติฐาน ความน่าสนใจ ในเรื่องปลาบู่ทอง ว่าตัวละครมีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร แนะนาไปเสนอกับผู้ที่สนใจในตัวละครปลาบู่ทอง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษาในเรื่อง ปลาบู่ทอง ผู้ศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. ความหมายของปลาบู่ทอง 2. ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง 3. ลักษณะคาประพันธ์ของเรื่องปลาบู่ทอง 4. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาจึงกลายเป็นปลาบู่ทอง
  • 7. 5. เพื่อศึกษาว่าทาไมนางขนิษฐาถึงกลายเป็นต้นมะเขือเปราะ 6. เพื่อศึกษาว่าทาไมเศรษฐีทารกกับนางขนิษฐีและลูกสาวถึงเกลียดชังเอื้อย ความหมายของปลาบู่ทอง วรรณคดีไทยเป็นผลงานที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ เป็นผลงานเขียนที่เกิดขึ้นก่อนสมัยรัชกาลที่ 7ชายหาปลาคนหนึ่งมีเมีย 2 คน เมียหลวงมีลูกสาวชื่อเอื้อย เมียน้อยมีลูกสาวชื่ออ้าย และอี่ วันหนึ่งชายหาปลาจับได้ปลาบู่ทอง เมียหลวงถูกสามีฆ่าตาย ไปเกิดเป็นปลาบู่ทองหามาเอื้อยลูกสาวของตน แต่ก็ถูกเมียน้อย และลูก ๆกลั่นแกล้งจับมากิน เอื้อยได้เกล็ดปลาไปปลูกเป็นต้นมะเขือก็ถูกถอนไปกินอีก จึงนาเม็ดมะเขือมาปลูกเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง ท้าวพรหมทัตเสด็จมาพบและได้พบกับเอื้อยทรงพอพระทัยนางมากจึงแต่งตั้งให้เป็นมเหสี ต่อมาถูกฆ่าตายไปเกิดเป็นนกแขกเต้าฤาษีได้ช่วยไว้และชุบให้เกิดเป็นดังเดิม เอื้อยจึงได้กลับเข้ามาอยู่ในวังหลวง ส่วนอ้ายซึ่งปลอมตัวเป็นเอื้อยถูกสั่งให้ประหารชีวิต ประวัติผู้แต่งเรื่องปลาบู่ทอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน ๔ ขึ้น ๗ ค่า ปีกุน ตรงกับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ มีพระนามเดิมตามหนังสือราชวงศ์สกุลว่า ฉิม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและสมเด็จพระอมรินทราและบรมราชินี ในเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี นามเดิมว่า ทองด้วง พระองค์ทรงพระราชสมภพ ณ บ้านสวนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกู้อิสรภาพ ตั้งพระนครหลวงยกเมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีแล้ว ได้เชิญให้หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรีมาปฏิบัติราชการในตาแหน่งที่ราชฐานันดรเป็นพระราชวรินทร์เจ้ากรม พระตารวจนอกขวามีนิวาสสถานอยู่ใต้วัดระฆังโฆสิตาราม จนได้รับการเลื่อนยศบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตามเสด็จพระราชบิดาไปในการศึกสงครามตั้งแต่มีพระชนมายุเพีย ง ๘ ชันษา เมื่อพระชนมายุได้ ๑๓ ชันษาสมเด็จพระราชบิดาให้ทาพิธีโสกันต์ (โกนจุก) แล้วนาไปฝากมอบไว้กับสมเด็จพระวันรัต (ทองอยู่) ที่วัดระฆังโฆสิตารามหรือวัดบางหว้าใหญ่ ได้ศึกษาอักษรศาสตร์จากที่นั่นและได้ตามเสด็จไปในการสงครามหลายครั้ง พ.ศ. ๒๓๒๔ กรุงธนบุรีเกิดยุคเข็ญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ ได้เสด็จปราบดาภิเษกเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีวงศ์และทรงย้ายพระนครหลวงมายั้งอยู่ฝั่งตะวันออ กของกรุงธนบุรี พระราชทานนามว่า กรุงเทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์ฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ และโปรดให้สถาปนาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
  • 8. เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีสมเด็จพระสังฆราช (สี) วัดระฆังเป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วเสด็จไปประทับที่วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส) จนกระทั่งออกพรรษาเมื่อกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระอนุชาธิราชของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคตแล้ว ทรงได้รับพระอิสริยยศเป็นพระมหาอุปราชา ผู้รับรัชทายาทโปรดให้มีการตั้งพระราชพิธีอุปราชาภิเษก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๙ พ.ศ. ๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต พระองค์ก็เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ขณะมีพระชนมายุ ๔๒พรรษา แล้งเสด็จประทับ ณ พระบรมมหาราชวัง ทรงพระบรมนามาภิไธยว่า พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จดารงอยู่ในสิริราชสมบัติตลอดเวลา ๑๕ ปี สวรรคตเมื่อวันพุธ แรม ๑๑ ค่า เดือน ๘ ปีวอก ตรงกับวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ น. ตามพระราชพงศาวดาร ลักษณะคาประพันธ์ของ เรื่อง ปลาบู่ทอง ลักษณะคาประพันธ์แบบ บทร้อยแก้ว ประเภทนิทาน มีการลาดับเหตุการณ์ก่อนหลัง "นางขนิษฐาจึงกลายเป็นปลาบู่ทอง" วันหนึ่งเศรษฐีทารกพาขนิษฐาไปจับปลาในคลอง ไม่ว่าจะเหวี่ยงแหไปกี่ครั้งก็ได้มาเพียงปลาบู่ทองที่ตั้งท้องตัวเดียวเท่านั้น จนกระทั่งพลบค่าเศรษฐีก็ตัดสินใจที่จะเอาปลาบู่ทองที่จับได้เพียงตัวเดียวกลับบ้าน ทว่าขนิษฐาผู้เป็นภรรยาเกิดความสงสารปลาบู่ ขอให้เศรษฐีปล่อยปลาไป เศรษฐีทารกเกิดบันดาลโทสะจึงฟาดนางขนิษฐาจนตายและทิ้งศพลงคลอง เมื่อกลับถึงบ้านเอื้อยก็ถามหาแม่ เศรษฐีจึงตอบ หลังจากนั้น นางขนิษฐีและลูกสาวเห็นเอื้อยมีความสุขขึ้น เมื่อถูกกลั่นแกล้งก็อดทนไม่ปริ ปากบ่นจึงสืบจนพบว่า นางขนิษฐาได้มาเกิดเป็นปลาบู่ทอง และได้พบกับเอื้อยทุกวัน ดังนั้นเมื่อเอื้อยกาลังทางานนางขนิษฐีก็จับปลาบู่ทองมาทาอาหาร "นางขนิษฐาถึงกลายเป็นต้นมะเขือเปราะ" เอื้อยได้พบเกล็ดปลาบู่ทองก็เศร้าใจเป็นอย่างมาก จึงนาเกล็ดปลาบู่ไปฝังดินและอธิษฐานขอให้แม่มาเกิดเป็นต้นมะเขือ เอื้อยมารดน้าให้ต้นมะเขือทุกวันจนงอกงาม เมื่นางขนิษฐีทราบเรื่องเข้าก็โค่นต้นมะเขือ และนาลูกมะเขือไปจิ้มน้าพริกกิน "เศรษฐีทารกกับนางขนิษฐีและลูกสาวถึงเกลียดชังเอื้อย" เพราะเศรษฐีทารกโดนมนต์ของนางขนิษฐี จึงทาให้เศรษฐีทารกเกลียดชังเอื้อยกับนางขนิษฐา ส่วนนางขนิษฐาศรีและลูกสาว เกลียดชังเอื้อยเพราะ เอื้อยจะได้สมบัติของเศรษฐีทารกทั้งหมด และจะได้ครองคู่กับเจ้าชายพรหมทัต จึงเกิดความอิจฉาริษยาเอื้อย
  • 9. บทที่ 3 วิธีดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ผู้ศึกษามี วิธีการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้ 3.1 วิธีการดาเนินโครงงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา 3.2.2 ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจ และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บต่างๆ 3.2.3 จัดทาโครงร่าง เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา บทที่ 4 ผลของการดาเนินโครงงาน ในการทาโครงงาน เรื่อง ปลาบู่ทอง ได้รับผลของการดาเนินโครงงานดังต่อไปนี้ 4.1 ผลการดาเนินงาน 1. ทราบเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องปลาบู่ทอง 2. รู้จักตัวละครที่ปรากฏในเรื่องปลาบู่ทอง 3. ได้ข้อคิดจากเรื่องปลาบู่ทอง 4.2 การนาไปใช้ 1. ส่งเสริมด้านศิลปะ 2. ส่งเสริมด้านเนื้อหา 3. ส่งเสริมด้านบทละคร 4.ส่งเสริมด้านสังคม 5. ส่งเสริมด้านแง่คิดในการใช้ชีวิต บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลและข้อเสนอแนะนา ในการศึกษาโครงงานเรื่อง ปลาบู่ทอง ทางผู้จัดทาได้ทาการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล จากเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต โดยจะขอสรุปผลการดาเนินงานไว้ดังนี้ สรุปผล
  • 10. ในการทาโครงงานเรื่อง ปลาบู่ทอง ต้องการสารวจตัวละครในเรื่องปลาบู่ทอง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่อง ปลาบู่ทอง มาขึ้น และยังสืบสานละครไทยให้อยู่คู่บ้านคู่เมือง ไปสู่คนรุ่นหลัง โดยอ่านหรือรับชมละครเรื่องปลาบู่ทองได้ อภิปรายผล ปลาบู่ทอง เป็นนิทานที่มีคติสอนใจในเรื่องกฎแห่งกรรมและให้คนยึดมั่นในการทาความดี จึงได้มีการนามาใช้เป็นหนังสือนิทานสาหรับเด็กและมีการสร้างเป็นบทภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้ข้อคิดต่างๆจากเรื่องปลาบู่ทอง 2. ได้รู้จักตัวละครมากขึ้น 3. ได้รู้ถึงความเป็นมาของละครเรื่องปลาบู่ทอง 4. โครงงานเรื่องนี้สามารถให้ความรู้กับบุคคลอื่นได้