SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
เนื่องจากภาษาไทยเปนเอกลักษณประจําชาติไทย และเปนสมบัติทางวัฒนธรรมของคน
ไทย ซึ่งควรที่จะอนุรักษไวเพื่อใหชนรุนหลังไดสืบทอด และเห็นถึงความสละสลวยของภาษาไทย
ที่มีมาตั้งแตบรรพบุรุษ แตในปจจุบันคนไทยสวนใหญไมเล็งเห็นถึงคุณคา และความสําคัญ
การศึกษาภาษาไทย โดยเฉพาะสิ่งที่บรรพบุรุษของเราไดถายทอดไวในลักษณะของ คํา ซึ่ง คํา
หมายถึง หนวยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบดวยพยางคหนึ่งคํา หรือ มากกวา ปกติแลว
ในแตละคําจะมีรากศัพทของคําแสดงถึงความหมายและที่มาของคํานั้น โดยการนําคําหลายคํามา
ประกอบกันจะทําใหเกิดวลี หรือ ประโยคซึ่งใชสื่อความหมายใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งภาษาไทย
นับวาเปนสิ่งที่ชวยถายทอดความคิด ความรูสึก เพื่อใหผูพูดและผูฟงเกิดความเขาใจตรงกัน เพราะ
หากผูพูดใชคําที่ไมถูกตอง อาจทําใหเกิดความหมายที่ผิดเพี้ยนไป ทําใหผูพูดและผูฟงนั้นเขาใจไม
ตรงกัน
ภาษาไทยนับวาเปนภาษาที่มีวิวัฒนาการมาอยางยาวนาน มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
ขึ้นอยูกับ สังคม คานิยม และวัฒนธรรมในยุคสมัยนั้น ๆ เปนสําคัญ โดยเฉพาะการศึกษาภาษาไทย
ของนักเรียนตามสถานศึกษาตาง ๆ นั้น ปจจุบันไมไดใหความสําคัญเทาที่ควร ตลอดจนผูใช
ภาษาไทยทั่วไป มีความบกพรองดานการใชภาษาไทยอยูมาก เชน การเขียนผิด การอานผิด ทั้งนี้
เปนเพราะผูใชภาษาไทยไมไดยึดหลักที่ถูกตองตามพจนานุกรม แตใชตามความเคยชินของแตละ
บุคคล คานิยมที่เปลี่ยนแปลงไป และไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ ทําใหเกิดการใชคําที่ไม
ถูกตอง
ทางผูศึกษาไดเล็งเห็นถึงปญหาในดานการอานคําในภาษาไทยที่ไมถูกตอง ซึ่งอาจเปน
เพราะไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ และคานิยมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยจะพบวาบางคนอาน
คําศัพทในภาษาไทยไดไมถูกตอง เชน คําวา ปกติ มักจะอานเปน ปก-กะ-ติ ซึ่งการอานที่ถูกตองนั้น
ควรอานวา ปะ-กะ-ติ เปนตน ดังนั้นทางผูศึกษาจึงไดจัดทําโครงงานเรื่อง “ความสามารถในการอาน
คําภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2550 ของโรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม” ขึ้น เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําภาษาไทยของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนตนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
2
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน
ขอบเขตการศึกษา
ขอบเขตดานประชากร
ประชากรที่จะทําการศึกษาไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 636 คน
ขอบเขตดานเนื้อหา
การศึกษาครั้งนี้ ทางผูศึกษาไดทําการสํารวจความรูของนักเรียนโรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหมเกี่ยวกับการอานคําที่ไมถูกตอง โดยจะจัดทําแบบทดสอบซึ่งจัดเปนหมวดหมู
เพื่อสะดวกในการทําแบบทดสอบโดยคําที่นํามาทดสอบนั้นไดมาจากหนังสือ “คํางายมักใชผิด”
หนา 9-53 โดยการสุมแบบจับฉลาก จํานวน 48 คํา ไดแก
กรณี กลวิธี กุศโลบาย
เกษตรกรรม ขัดสมาธิ เขาสมาธิ
คมนาคม คุณวุฒิ โฆษณา
จิตบําบัด จิตรกร เจตนา
โจรกรรม ชาติภูมิ ดาษดา
ดุลพินิจ ทิฐิ ธารกํานัล
นรเทบ นาวิกโยธิน บาทบงสุ
โบราณคดี ปกติ ประวัติศาสตร
พลการ ภูมิภาค ภูมิลําเนา
มณฑก มณฑป ยุติ
รสนิยม ลลนา ลิขสิทธิ์
วนอุทยาน วิตถาร ศัลยกรรม
สมรรถนะ สังคมวิทยา สัตบุรุษ
สัมโพธิ สาธยาย เสวก
อรดี อาชวะ อุณหภูมิ
อุดมคติ อุปถัมภ เอกฉันท
3
นิยามศัพทเฉพาะ
ความสามารถในการอานคํา หมายถึง ความสามารถในการอานคําตามมาตราตัวสะกด
ตาง ๆ ไดถูกตองตามหลักภาษา ซึ่งวัดจากแบบทดสอบการอานคําที่ผูศึกษาไดสรางขึ้น และผานการ
ตรวจสอบจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงานแลว
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน หมายถึง นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ถึงมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550
ประโยชนที่ไดรับ
จากการทําโครงงานเรื่องความสามารถในการอานคําของนักเรียนโรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะไดรับประโยชนทั้งตอผูจัดทํา และผูที่เกี่ยวของดังนี้
1.ทราบระดับความสามารถในการอานคําของนักเรียนโรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
2.สามารถนําผลจากการศึกษาเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย
3.ฝกการทํางานเปนกลุม
4.เปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน

More Related Content

Similar to บทที่ 1 แก้

ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตGawewat Dechaapinun
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติenoomtoe
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาluckkhana
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 

Similar to บทที่ 1 แก้ (20)

ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
1
11
1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

More from maerimwittayakom school

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอmaerimwittayakom school
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรmaerimwittayakom school
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2maerimwittayakom school
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์maerimwittayakom school
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์maerimwittayakom school
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานmaerimwittayakom school
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาmaerimwittayakom school
 

More from maerimwittayakom school (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอ
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
เสียงของคำ
เสียงของคำเสียงของคำ
เสียงของคำ
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
 

บทที่ 1 แก้

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เนื่องจากภาษาไทยเปนเอกลักษณประจําชาติไทย และเปนสมบัติทางวัฒนธรรมของคน ไทย ซึ่งควรที่จะอนุรักษไวเพื่อใหชนรุนหลังไดสืบทอด และเห็นถึงความสละสลวยของภาษาไทย ที่มีมาตั้งแตบรรพบุรุษ แตในปจจุบันคนไทยสวนใหญไมเล็งเห็นถึงคุณคา และความสําคัญ การศึกษาภาษาไทย โดยเฉพาะสิ่งที่บรรพบุรุษของเราไดถายทอดไวในลักษณะของ คํา ซึ่ง คํา หมายถึง หนวยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบดวยพยางคหนึ่งคํา หรือ มากกวา ปกติแลว ในแตละคําจะมีรากศัพทของคําแสดงถึงความหมายและที่มาของคํานั้น โดยการนําคําหลายคํามา ประกอบกันจะทําใหเกิดวลี หรือ ประโยคซึ่งใชสื่อความหมายใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งภาษาไทย นับวาเปนสิ่งที่ชวยถายทอดความคิด ความรูสึก เพื่อใหผูพูดและผูฟงเกิดความเขาใจตรงกัน เพราะ หากผูพูดใชคําที่ไมถูกตอง อาจทําใหเกิดความหมายที่ผิดเพี้ยนไป ทําใหผูพูดและผูฟงนั้นเขาใจไม ตรงกัน ภาษาไทยนับวาเปนภาษาที่มีวิวัฒนาการมาอยางยาวนาน มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ขึ้นอยูกับ สังคม คานิยม และวัฒนธรรมในยุคสมัยนั้น ๆ เปนสําคัญ โดยเฉพาะการศึกษาภาษาไทย ของนักเรียนตามสถานศึกษาตาง ๆ นั้น ปจจุบันไมไดใหความสําคัญเทาที่ควร ตลอดจนผูใช ภาษาไทยทั่วไป มีความบกพรองดานการใชภาษาไทยอยูมาก เชน การเขียนผิด การอานผิด ทั้งนี้ เปนเพราะผูใชภาษาไทยไมไดยึดหลักที่ถูกตองตามพจนานุกรม แตใชตามความเคยชินของแตละ บุคคล คานิยมที่เปลี่ยนแปลงไป และไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ ทําใหเกิดการใชคําที่ไม ถูกตอง ทางผูศึกษาไดเล็งเห็นถึงปญหาในดานการอานคําในภาษาไทยที่ไมถูกตอง ซึ่งอาจเปน เพราะไดรับอิทธิพลจากภาษาตางประเทศ และคานิยมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยจะพบวาบางคนอาน คําศัพทในภาษาไทยไดไมถูกตอง เชน คําวา ปกติ มักจะอานเปน ปก-กะ-ติ ซึ่งการอานที่ถูกตองนั้น ควรอานวา ปะ-กะ-ติ เปนตน ดังนั้นทางผูศึกษาจึงไดจัดทําโครงงานเรื่อง “ความสามารถในการอาน คําภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2550 ของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม” ขึ้น เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําภาษาไทยของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนตนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 2. 2 วัตถุประสงค เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตดานประชากร ประชากรที่จะทําการศึกษาไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 636 คน ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้ ทางผูศึกษาไดทําการสํารวจความรูของนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหมเกี่ยวกับการอานคําที่ไมถูกตอง โดยจะจัดทําแบบทดสอบซึ่งจัดเปนหมวดหมู เพื่อสะดวกในการทําแบบทดสอบโดยคําที่นํามาทดสอบนั้นไดมาจากหนังสือ “คํางายมักใชผิด” หนา 9-53 โดยการสุมแบบจับฉลาก จํานวน 48 คํา ไดแก กรณี กลวิธี กุศโลบาย เกษตรกรรม ขัดสมาธิ เขาสมาธิ คมนาคม คุณวุฒิ โฆษณา จิตบําบัด จิตรกร เจตนา โจรกรรม ชาติภูมิ ดาษดา ดุลพินิจ ทิฐิ ธารกํานัล นรเทบ นาวิกโยธิน บาทบงสุ โบราณคดี ปกติ ประวัติศาสตร พลการ ภูมิภาค ภูมิลําเนา มณฑก มณฑป ยุติ รสนิยม ลลนา ลิขสิทธิ์ วนอุทยาน วิตถาร ศัลยกรรม สมรรถนะ สังคมวิทยา สัตบุรุษ สัมโพธิ สาธยาย เสวก อรดี อาชวะ อุณหภูมิ อุดมคติ อุปถัมภ เอกฉันท
  • 3. 3 นิยามศัพทเฉพาะ ความสามารถในการอานคํา หมายถึง ความสามารถในการอานคําตามมาตราตัวสะกด ตาง ๆ ไดถูกตองตามหลักภาษา ซึ่งวัดจากแบบทดสอบการอานคําที่ผูศึกษาไดสรางขึ้น และผานการ ตรวจสอบจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงานแลว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน หมายถึง นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 ประโยชนที่ไดรับ จากการทําโครงงานเรื่องความสามารถในการอานคําของนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะไดรับประโยชนทั้งตอผูจัดทํา และผูที่เกี่ยวของดังนี้ 1.ทราบระดับความสามารถในการอานคําของนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.สามารถนําผลจากการศึกษาเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย 3.ฝกการทํางานเปนกลุม 4.เปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน