SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
21-Aug-12




              Computer Network                                                 พืนฐานระบบเครือข่าย


                                                                                             อนุธดา
                                                                                                 ิ

                                       By…. IS CMRU




        ในระบบเครือข่ายจะเห็ นคําว่า โหนด (Node) เป็ นส่วนใหญ่
ซึงหมายถึง อุปกรณ์แบบใดก็ได ้ทีเชือมต่อเข ้ากับระบบเครือข่ายที           โหนดบนระบบเครือข่ายสามารถทํางานได ้หลายหน ้าที
มีหมายเลขทีอยูบนระบบเครือข่าย (Address) ละสามารถรับ-ส่ง
               ่                                                 คอมพิวเตอร์ททําหน ้าทีเป็ นโหนดสามารถรับข ้อมูล เก็บข ้อมูลนันไว ้
                                                                                ี
ข ้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายได ้ ดังนันตังแต่โทรศัพท์เครืองหนึง   และส่งข ้อมูลนันออกไปทางสายสือสาร โหนดอาจทําหน ้าทีเป็ น
เครืองเทอร์มนอล ฟรอนท์เอนด์ โปรเซลเซอร์ คอนเซ็นเทรเตอร์
             ิ                                                   คอนเซ็นเตอร์ คือรับข ้อมูลเข ้าจากเทอร์มนอลความเร็วตํา(รับ-ส่ง
                                                                                                          ิ
ไปจนถึงเครืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก็สามารถทําหน ้าทีเป็ นโหนด       ข ้อมูลด ้วยความเร็วตํา) หลายตัวเพือนํ าข ้อมูลทังหมดมารวมกันเป็ น
ได ้                                                             บล็อกขนาดใหญ่ แล ้วจึงส่งบล็อกออกทางสายสือสารด ้วยความเร็ว
                                                                 สูงเช่น มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) สามารถนํามาใช ้เชือมต่อ
                                                                 คอมพิวเตอร์หลายเครืองเข ้าด ้วยกันผ่านระบบเครือข่ายได ้




         ระบบเครือข่ายจําเป็ นจะต ้องเชือมต่อโหนดทังหมดเข ้า             อาจมีโหนดอืนแทรกอยู่ตรงกลางก็ได ้ส่วนวงจรสือสาร
 ด ้วยกันจึงจะสามารถทํางานได ้ การเชือมต่อหรือวงจรเชือมต่อที     (Circuit) คือเส ้นทางทีสมบูรณ์ทเชือมต่อผู ้ส่งข ้อมูลเขากับผู ้รับ
                                                                                                   ี                         ้
 ติดตังระหว่างโหนดสองโหนดทีอยูตดกันโดยไม่มโหนดใดๆคันอยู่
                                    ่ ิ          ี               ข ้อมูลซึงเรียกว่าเป็ นการเชือมต่อแบบผู ้ส่งถึงผู ้รับ (End to End)
 ตรงกลาง เรียกว่าเส ้นเชือมหรือลิงค์ (Link) และคําว่า เส ้นทาง   วงจรสือสารอาจเป็ นเส ้นทางทีต ้องผ่านเสนเชือมทีใชสือต่างชนิด
                                                                                                             ้             ้
                                                                                           ้
                                                                 กัน หรืออาจต ้องผ่านเสนทางทีมีผู ้ให ้บริการต่างออกไป
 (path) คือเส ้นเชือมกลุมหนึงซึงเรียงตามลําดับทีถูกต ้องเพือ
                        ่
 เชือมต่อโหนดสองโหนดใดๆเข ้าด ้วยกันโดย




                                                                                                                                              1
21-Aug-12




จุดประสงค์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี
                                                                   4. เพือช่วยให ้สามารถประมวลผลแบบกระจายได ้ ซึงการประมวลผล
                                                                   แบบนีจะช่วยให ้มีการกระจายการทํางานจากคอมพิวเตอร์เครืองใหญ่
1. เพือใช ้ทรัพยากร เช่น ฐานข ้อมูล ตัวประมวลผล ตลอดจน                  ่
                                                                   ไปสูคอมพิวเตอร์เครืองเล็กๆ โดยจะทําการประมวลผล ณ แหล่งกําเนิด
ฮาร์ดดิสก์และเครืองพิมพ์รวมกัน
                          ่
                                                                   ข ้อมูล หรือแหล่งทีต ้องการผลข ้อมูล หรืออาจจะส่งข ้อมูลไป
                                                                   ประมวลผลทีคอมพิวเตอร์ทเหมาะสมกับงานนันๆก็ได ้
                                                                                              ี
2. เพือให ้มีการติดต่อแลกเปลียนข ้อมูลกันได ้ระหว่างผู ้ใช ้หรือ
ระหว่างตัวประมวล
                                                                   5. เพือให ้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากรจากส่วนกลาง(สําหรับ
                                                                                                    ่
                                                                   ในระบบการทํางานแบบกระจาย) ไปสูแต่ละระบบย่อยทีอยูห่างไกลกัน
                                                                                                                    ่
3. เพือเพิมความเชือถือได ้ (Reliability) ของระบบประมวลผล
โดยมีการสํารอง (Backup) ระบบ ตลอดจนความซําซ ้อนของ
                                                                   6. เพือช่วยให ้อุปกรณ์ มีความแตกต่างกัน สามารถใช ้งานร่วนกัน
ระบบ เช่นการมีคอมพิวเตอร์หรือฐานข ้อมูลอยูในทีต่างๆ และมี
                                             ่                     (Compatibility) ได ้
การเชือมโยงระบบคอมพิวเตอร์เหล่านันเข ้าด ้วยกัน




                                                                                    ่
                                                                          เทคนิคการสงข ้อมูลบน
                                                                             ระบบเครือข่าย
                             สุดารัตน์




                                                                           ื
                                                                     การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
      วิธทง่ายทีสุดในการเชือมต่อโดยตรงระหว่าง
           ี ี                                                            (point- to-point link)
  โหนด คือการเชือมต่อแบบจุดต่อจุด (point-to-                       • รูปแบบการเชือมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด (point- to-
  point link) นอกจากจะเป็ นวิธทง่ายแล ้วยั งทํา
                                ี ี
                                                                   pointlink)
  ให ้ผู อนไม่ ส ามารถขั ดขวางการสือสารระหว่า ง
         ้ ื
  โหนดคูนันได ้
             ่                                                              เป็ นการเชือมต่อแบบพืนฐาน โดยต่อจากอุป กรณ์รับ หรือส่ง
                                                                        2 ชุด ใช ้สายสือสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่ จํา กัด
                                                                        เชือมต่อสายสือสารไว ้ตลอดเวลา ซึงสายส่งอาจจะเป็ นชนิดสาย
                                                                        ส่งทางเดีย ว (Simplex) สายส่งกึงทางคู่ (Half-duplex) หรือ
                                                                        สายส่งทางคูแบบสมบู รณ์ (Full-duplex) ก็ไ ด ้ และสามารถส่ง
                                                                                     ่
                                                                        สัญญาณข ้อมูลได ้ทังแบบซิงโครนัสหรือแบบอซิงโครนัส




                                                                                                                                         2
21-Aug-12




                                                        ี
       ลักษณะการเชือมต่อระหว่างเครืองคอมพิว เตอร์พ ีซแต่
ละเครืองมีเพียงสายเพียง 1 สายต่อเชือมโยงกันในการทํา งาน
                                                                           ื
                                                                     การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
หรือ ในเครืองทีทํ า หน า ทีเป็ นเครืองปลายทาง 1 เครือง
                       ้                                                  (point- to-point link)
เชือมต่อกับเครืองเมนเฟรมโดยใช ้สาย 1 เส ้น หรือในอีกกรณี
หนึงเครืองคอมพิวเตอร์ 2 เครืองสือสารกันโดยใช ้การส่งข ้อมู ล         การเชือมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุดมีคุณสมบ ัติ 3 ประการ
ผ่านคลืนไมโครเวฟ ดังรูป
                                                                     • 1. เนืองจากเป็ นการเชือมต่อกันแบบโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์ส อง
                                                                        เครือง แบนด์วดธ์บนสายสือสารทีใช ้งานระหว่างกันจะสามารถใช ้งาน
                                                                                     ิ
                                                                        ได ้อย่างเต็มที โดยไม่มีโหนดอืน ๆ เข ้ามาแชร์การใช ้งาน

                                                                     • 2. มีความยืดหยุนในส่วนของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ท ีใช ้สือสารกั น รวมถึง
                                                                                      ่
                                                                        รูปแบบของแพ็ กเก็ตข ้อมูล

                                                                     • 3. มี ค วามปลอดภั ย และความเป็ นส่ ว นตั ว ในข ้อมู ล ที สื อสารกั น
                                                                        เนืองจากช่องทางการสือสารทีใช ้สือสารกั น ไม่ มี ก ารแชร์เพื อใช ้งาน
                                                                        ร่วมกับโหนดอืน ๆ




      ื
การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
     (point- to-point link)

       ข ้อเสีย ของการเชือมแบบจุ ด ต่อจุด คือ จะส่งผกระทบต่ อ
 ค่า ใช ้จ่า ยทีเพิมขึน เมื อมีอัต ราการเพิ มจํา วนคอมพิว เตอร์บ น
 เครือข่า ย โดยหากมีก ารเพิมจํา นวนคอมพิว เตอร์เพิ มอีกหนึ ง                                     ศุภลักษณ์
 เครืองบน Location 1 จะต ้องเพิมสายจากเดิม ทีมีอยู่ 10 เส ้น
 เป็ น 15 เส ้น




                                                                                 ระบบเครือข่ายแบบสวิทช์
                                                                                   (Switched Network)
                                                                     • แบ่งตามวิธการสับสายออกเป็ น 4 แบบคือ
                                                                                 ี
                                                                          1.แบบวงจรสวิทช์
        ระบบเครือข่ายแบบสวิทช ์                                           2.แบบเมสเซจสวิทช์
         (Switched Network)                                               3.แบบแพ็กเกตสวิทช์
                                                                          4.แบบเซลล์สวิทช์




                                                                                                                                                3
21-Aug-12




         ์
วงจรสวิทช(Circuit Switched)                                    ์
                                                      วงจรสวิทช(Circuit Switched) ต่อ

    "การสวิตช์วงจร" (Circuit Switching) เป็ น               Circuit Switching คือ วิธการต่อสัญญาณ
                                                                                       ี
การเชือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทอาศัย หลัก
                                      ี                จากผู ท ีเริมต ้น ผ่ านชุม สาย ผ่ า นสายไฟจริง ๆ
                                                                ้
พืนฐานทางด ้านการสวิตชิงของระบบโทรศัพท์                จนกร ะทั ง ถึง ที หมา ย และสั ญ ญา ณจ ะอยู่
การเชือมโยงคอมพิวเตอร์ให ้เชือต่อกันในวงจร             จนกระทั งมีก ารยกเลิก การใช ้งาน หลั กการที
ระหว่างจุดไปจุ ด จุดอ่อนของการสวิตช์วงจรที             สํ า คั ญ ของการสวิท ช์ว งจร คือ จะต อ งมี ก าร
                                                                                               ้
เชือมระหว่างสองจุด ทําให ้ใช ้ข ้อมู ลข่าวสารใน        จัดตังเชือมต่อก่อนทีจะมีการส่งข ้อมูลจริง
เครือข่าย ไม่เต็ม ประสิทธิภาพ และมีข ้อยุ่ งยาก
หากต ้องการสือสารกันเป็ นจํานวนมาก




     การจั ด ตังการเชือมต่อนีอาจจะใช ้เวลามาก                                        ้
                                                          เมื อมี ก ารจั ด สร า งเ ส น ทางเรี ย บร อ ยแล ว
                                                                               ้                     ้       ้
บางครัง อาจจะถึง 10 วินาที ขึนอยู่กับระยะทาง           เวลาทีเสีย ไปจะเป็ นเพีย งแค่เ วลาทีสั ญ ญาณ
ยิงเป็ นการเรีย ก (call) แบบทางไกล เช่น การ            ผ่านสายเท่านัน ซึงโดยปกติจะมีค่าประมาณ 3
เรียกข ้ามประเทศก็ อาจจะนานกว่า เวลาทีใช ้นี           msec ต่อระยะทาง 1000 km และหลังจากมี
                                                       การจั ด ตังทางเดิน สัญญาณ แล ้วจะไม่ ม ีปัญหา
เป็ นการค ้นหาเส ้นทางทีสัญญาณจะใช ้ติดต่อจะ           ของความหนาแน่น ของการใช ้ตามมา นั นคือ
เห็ น ว่ า ก่อ นทีจะมีก ารส่ง สั ญ ญาณ ออกไปได ้       หลั ง จ ากต่ อ กั น ได แ ล ว จ ะไม่ มี ท า งจ ะได ย ิ น
                                                                              ้ ้                        ้
คํา สั งร อ งขอ request จะต ้องถูก ส่ง ออกจาก
           ้                                           สัญญาณไม่วาง ถึงแม ้ว่าก่อนหน ้าทีจะต่อสําเร็ จ
                                                                     ่
ตังแต่ผู เ ริมต ้นจนกระทังถึง ทีหมาย และรอให ้
             ้                                         อาจจะได ้ยินบ ้างเพราะชุม สายถูกใช ้งานจนเต็ม
ปลายทาง ตอบรับกลับมายังทีเริมต ้น                      ในขณะนัน




                                                       ซึงแบ่งขันตอนการทํ างานออกเป็ น 3
                                                                  ขันตอนดังนี
    ในระบบเครือข่า ยทีใช ้วิธ ีการส่งข ้อมู ล แบบ          ขั น ต อ น 1 คื อ ก า ร จั ด ตั ง ว ง จ ร สื อ ส า ร
วงจรสวิทช์ (Circuit-Switching Network)                 (Establishing Circuit) ซึงเป็ นการเชือมต่อแบบผู ้
    จะกํ า หนดวงจรสือสารระหว่ า งโหนดสอง               ส่ง-ถึง-ผู ้รับ (End-to-End Connection)
โหนดขึนมาเป็ นการเฉพาะ ซึงอาจจะมีโ หนด                     ขันตอนที 2 คือ ขันตอนทีเกิดการแลกเปลียน
จํานวนหนึงอยู่ตรงกลางก็ตาม                             ข ้อมูล (Data Transfer) ถ ้าเป็ นระบบเครือ ข่า ย
    การสือสารระหว่างสองโหนดนีจะเกิดขึนได ้ก็                                          ้
                                                       โทรศัพท์ หมายถึงช่วงทีผู ้ใชกําลังสนทนากัน
ต่อ เมื อวงจรสือสารจะต ้องถู ก จั ด ให ้เรีย บร อ ย
                                                ้          ขันตอนสุดท ้าย คือ การขอยกเลิกวงจรสือสาร
ตลอดเส ้นทาง                                           (Circuit Disconnect) เกิดขึนเมือผู ้ใช ้ต ้องการ
                                                       ยกเลิกการสือสารระหว่างกัน




                                                                                                                   4
21-Aug-12




 แสดงผูใช ้ X ติดต่อผูใช ้ Y ในเครือข่าย
       ้              ้
              วงจรสวิทช ์



                                                                              วิสดา
                                                                                 ุ




                                                             เทคนิคการส่งข ้อมูลแบบเมสเซจสวิทช์
     การสงข้อมูลแบบเมสเซจสวิทช ์
         ่                                              (Message-Switching Network) ได ้รับการ
        (Message-Switching                              พัฒนาขึนมาใช ้งานแทนแบบวงจรสวิทช์เพือเพิม
             Network)                                   ประสิทธิภาพการใช ้งาน




         วิธการคือมุ่งเน ้นไปทีการนําส่งตัวข่าวสารไป
            ี
ยังผู ้รับ ข ้อมูลจะถูกส่งออกไปโดยไม่ต ้องมีการ                 การนําวิธการเก็บและการส่งติดต่อข ้อมูล
                                                                          ี
จัดเตรียมวงจรสือสารไว ้ล่วงหน ้า                         มาใช ้ นันจําเป็ นจะต ้องให ้ทุกโหนดทีเกียวข ้อง
         ดังนันข ้อมูลจึงอาจถูกส่งออกไปแม ้ว่าผู ้รับ    เป็ นเครืองคอมพิวเตอร์ทงหมด
                                                                                   ั
อาจยังไม่พร ้อมทีจะรับข ้อมูลก็ตาม ข ้อมูลก็จะไม่
สูญหายไปไหนเนืองจากโหนดทีมีข ้อมูลนันจะต ้อง
เก็บข ้อมูลไว ้จนกว่าผู ้รับจะพร ้อม จึงจะส่งไปให ้
กระบวนการนีจึงเรียกว่า การเก็บและการส่งผ่าน
ข้อมูล (Store and Forward )




                                                                                                                   5
21-Aug-12




                                                           ค ้นหาโหนดต่อในลําดับทีเหมาะสม
                                                    (Intermediate Node) ซึงจะต ้องอยู่ในเส ้นทางที
                                                    จะไปยังโหนดผู ้รับ (Receiver Node)
     โหนดจะรับข ้อมูล (Message) เข ้ามาจากระบบ
                                                    ข ้อมูลแต่ละชุดต ้องบันทึกหมายเลขทีอยู่บน
เครือข่าย จัดการเก็บข ้อมูลนันไว ้ในหน่วยความจํา    เครือข่าย (Address) ของโหนด ผู ้รับไว ้ด ้วย
ชัวคราว                                             โหนดทีรับข ้อมูลจะใช ้หมายเลขในการค ้นหา
                                                    โหนดทีจะส่งข ้อมูลนันต่อไป




                                                         ข ้อดีคอ เป็ นแบบวงจรทีมีประสิทธิภาพในการ
                                                                ื
                                                   ใช ้งานสูง เพราะแบ่งการใช ้งานสายส่งได ้เต็มที
        ต ัวอย่างการส่งข้อมูลแบบเมสเซจ
                                                   ตลอดเวลา
    สวิทช ์ ได้แก่ ระบบอีเมล์

                                                         ข ้อเสียคือ วงจรไม่มการเชือมต่อตลอดเวลา
                                                                             ี
                                                   จึงไม่สามารถให ้บริการแบบทีต ้องการการโต ้ตอบ
                                                   ทันทีทันใดได ้(Interactive Mode)
                                                   และ มีคาหน่วงเวลาสูง เนืองจากข ้อมูลทีส่งไป
                                                             ่
                                                   ระหว่างทางนัน จะถูกจัดเก็บไว ้ชัวคราว ซึงอุปกรณ์
                                                   ในการจัดเก็บนันมีการประมวลผลช ้า




                                                              แพกเกตสวิตชง   ิ
                   ณั ฎฐนันท์                               ( packet switching )




                                                                                                        6
21-Aug-12




      แพกเกตสวิตชิง (packet switching )ใช ้ในการติดต่อสือสาร       •  การส่งข ้อมูลแบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching Network)
ผ่านระบบเครือข่ายดิจตอลความเร็วสูง แพกเกตสวิตชิง เป็ นเทคนิค
                        ิ                                            นํ าข ้อดีของ วิธการส่งข ้อมูลแบบเมสเซจสวิทช์(Message-
                                                                                      ี
              ้
ในการหาเสนทางให ้กับแต่ละ แพกเกตทีมีจดหมายปลายทาง
                                             ุ                       SwitchingNetwork) และแบบวงจรสวิทช์(Circuit-Switching
ต่างกัน ปลายทาง คือ DTE( Data Terminal Equipment )                   Network) มารวมกัน
อุปกรณ์ทช่วยถ่ายทอดข่าวสารคือ DCE ( Data Communication
            ี                                                      • พยายามลดข ้อเสียลงไป แบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet-
Equipment )                                                          SwitchingNetwork) แบ่งข ้อมูลออกเป็ นชุดเหมือนกับแบบเมส
      การส่งข ้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็ กเก็จสวิตชิงนัน ขนาดของของ       เซจสวิทช์(MessageSwitching Network) แต่มความยาวไม่
                                                                                                                   ี
ข ้อมูลถูกจํากัดขนาด จึงต ้องแบ่งบล็อกข ้อมูลออกเป็ นแพ็ กเก็จ       เท่ากัน
(Packet) ทังนีเพือให ้มีขนาดเล็กลง และให ้สถานี สวิตช์สามารถ       • แบบเมสเซจสวิทช์(Message-Switching Network) ข ้อมูลแต่
เก็บกักข ้อมูลไว ้ในหน่วยความจํา (Buffer) ชัวคราวได ้โดยไม่ต ้อง     ละชุดมีความยาวไม่เท่ากัน ซึงอาจมีความยาวหลายพันไบต์ก็ได ้
ใช ้ดิสก์สํารอง




• แพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching Network) แบ่งข ้อมูล
ออกเป็ นส่วนเล็ก ๆ ทีมีขนาดเท่ากันทังหมด เรียกว่า แพ็ กเกต
   (Packet)
• ขนาดของแพ็ กเกต (Packet) ในระบบต่างชนิดกันอาจยาวไม่
เท่ากันก็ได ้ขนาดทีนิยมใช ้โดยทัวไปคือ 128, 256, 512 และ
1,024 บิต
• แพ็ กเกตในระบบเดียวกันจะต ้องมีขนาดเท่ากันเสมอ ความ
   แตกต่างนีช่วยให ้ระบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching
   Network) มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงกว่า


                                                                   แสดงข่าวสารถูกแบ่งออกเป็ นหลายส่วนบนระบบเครือข่ายแบบแพ็กเกตสวิทช์




• ในปั จจุบันระบบเครือข่ายแบบสวิทชิงจึงนิยมใช ้การส่งข ้อมูล
  แบบนี
• การส่งข ้อมูลโดยวิธนมีเทคนิคพิเศษอย่างหนึงเรียกว่า
                     ี ี
  Pipelining ซึงจะรับประกันการจัดส่งแพ็ กเกต (Packet) ไปยัง
  เป้ าหมายให ้ในทันทีทสายสือสารว่าง
                         ี




                                                                                  แสดงเทคนิค Pipelining




                                                                                                                                         7
21-Aug-12




              เทคโนโลยีของ Packet Switching                                                          ประโยชน์ของ Packet Switching

                                                                                    • รับส่งข ้อมูลได ้ด ้วยความเร็วสูง และใช ้เวลาในการส่งน ้อยเหมาะ
• Time Domain Multiplexing ระบบ TDM เป็ นการมัลติเพล็กซ์ท ี                           สําหรับการเชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย LAN
  แต่ละช่องสัญญาณมีแบนด์วดธ์แบบคงที (Fixed Bandwidth)
                              ิ                                                       หลายๆ เครือข่ายเข ้าดวยกันเช่น WAN
                                                                                                               ้
  ซีงจะใช ้ งานไดดีมากสําหรับการรับส่งทีต ้องการอัตราบิตที
                  ้
  ต่อเนือง (Continous Bit Rate : CBR) เช่น traditional voice                        • มีความผิดพลาดในการรับส่งข ้อมูลน ้อยมากๆ
  and video แต่ถ ้าจะใช ้งานกับข ้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ที                         • สามารถลดคอมพิวเตอร์ให ้มีขนาดเล็กลง และสามารถกระจาย
  มีทราฟฟิ กเป็ นแบบ bursty traffic (ทราฟฟิ กทีมีขนาดไม่คงที                          ศูนย์กลาง ประมวลผลได ้
  คืออาจจะมีการเปลียนแปลงขนาดอย่างฉับพลัน)                                          • สามารถรองรับการเชือมต่อกับเครือข่ายทีองค์กรใช ้งาน เช่น
                                                                                      ICP/IP
                                                                                    • ควบคุมค่าใช ้จ่ายได ้คงทีแน่นอน
                                                                                    • รับประกันความรวดเร็วในการส่งข ้อมูล (Committed
                                                                                      Information Rate – CIR)




                                                                                                           แบบเซลล์สวิทช์ (Cell Switching)


                                                                                              ระบบเครือข่ายแบบเซลล์สวิทช์ มีหลักการทํางานคล ้ายกันกับแบบแพ็กเกต
                                                                                    สวิทช์ แต่แบ่งข ้อมูลออกเป็ นชุดๆ ในรู ปแพ็กเกตทีมีความยาวเท่ากัน คือ 57 ไบท์
                                                                                                                                                         ้
                                                                                    ประกอบด ้วย ข ้อมูลจริง 53 ไบท์ และข ้อมูลควบคุม 4ไบท์ และนํามาใชกับระบบเครือข่าย
                                                                                    ใหม่ทชือว่า Asynchronous Transfer Mode : (ATM) เพือช่วยเพิมประสิทธิภาพในการ
                                                                                          ี
                                                                                    สือสารมากขึน

                                   วันเพ็ญ




                          Asynchronous Transfer
                               Mode (ATM)
                                                                                               การออกแบบใหเซลข ้อมูลมีขนาดสันก็เพือความเหมาะสมทีจะประยุกต์ใชงาน
                                                                                                               ้                                                         ้
                                                                                                                        ้
                                                                                    ต่าง ๆ ได ้อย่างกว ้างขวางขึนคือ ใชรั บส่งข ้อมูล เสียง ภาพหรือข ้อมูลต่าง ๆ ทีต ้องการ
                                          ้
          ATM เป็ นระบบสือสารข ้อมูล ทีใชรู ปแบบการสือสารเป็ นแบบ แพ็กเก็จ เหมือน   ส่งผ่านกันและกันด ้วยความเร็วสูง
เช่นในเครือข่าย X.25 (เป็ นเครือข่ายสาธารณะ สําหรับการส่ งข ้อมูลดิจตอลทางไกล)
                                                                    ิ
หรือระบบ LANอืน ๆ เช่น อีเทอร์เน็ตโทเกินริง แต่การสือสารเป็ นแบบอะซิงโครนัส                                              ้
                                                                                             การรับส่งสัญญาณ ATM จึงใชช่องสือสารทีมีความเร็วต่าง ๆ ได ้ซึงผิดกับ LAN
                            ้           ิ
กล่าวคือ ตัวรับและตัวส่งใชสัญญาณนาฬกาแยกจากกันไม่เ กียวข ้องกัน                                       ้                          ้
                                                                                    เช่นอีเทอร์เน็ต ใชความเร็ว 10 Mbps แต่ ATM ใชกับ ความเร็วได ้ตังแต่ 64 Kbps,
                                                                                    45Mbps, 155 Mbps, 622 Mbps หรือ สูงกว่าก็ได ้
           สิงที ATM แตกต่างจากระบบ แพ็กเก็จสวิตชิงอืน ๆ คือ ATM ส่งข ้อมูลด ้วย
ขนาดของแพ็กเก็จทีทุกแพ็กเก็จมีจํานวนข ้อมูลเท่ากันเสมอ แพ็กเก็จของ ATM มีขนาด
53 ไบต์ โดยให ้ 5 ไบต์แรกเป็ นส่วนหัว ทีจะบอกรายละเอียดของแอดเดรสและมี
ส่วนข ้อมูลข่าวสารอีก 48ไบต์ตามมา เราเรียกแพ็กเก็จของ ATM ว่า " เซล "




                                                                                                                                                                                 8
21-Aug-12




                                                                                    รูปที 1 เปรียบเทียบเครือข่าย ATM ก ับระบบอีเทอร์เน็ ต


            เครือข่าย ATM เป็ นเครือข่ายทีประยุกต์ได ้หลายรูปแบบ ทังแบบ LAN หรือ
WAN ใชกับ ตัวกลางได ้ทังแบบลวดทองแดงหรือเส ้นใยแสง แต่โ ครงสร ้างการเชือมโยง
          ้
ข ้อมูลระหว่างโหนดเป็ นแบบสวิตซ์ทเรียกว่า ATM Switch การส่งผ่านข ้อมูลแต่ละเซลจึง
                                      ี
ขึนกับแอดเดรสทีกําหนด




                                                                                             รูปที 2 เครือข่าย ATM แบบ WAN


         จากโครงสร ้างการผ่านข ้อมูลแบบสวิตซ์ด ้วยเซลข ้อมูลขนาดเล็กของ ATM จึง
ทําใหเหมาะกั บเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ WAN ด ้วย โดยเฉพาะอย่า งยิงกั บงานที
      ้
          ้                                                               ้
ต ้องการใชความเร็วข ้อมูลสูง เครือข่าย WAN ก็เป็ นอีกรูปแบบหนึงทีสามารถใชเทคนิค
ของ ATM ได ้เช่นกันรูป




         นางสาววันเพ็ญ อํารุงพนาลัย
           52122352 สท 52 ศ4.1                                                                           เมสิยา




                                                                                                                                                   9
21-Aug-12




                                                                                               ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว
                                                                                                  (Broadcast Network)
   ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว
                                                                                     • จัดการในการส่งข ้อมูลเป็ นลักษณะเดียวกันกับการส่ง
           (Broadcast Network)                                                         สัญญาณคลืนวิทยุและคลืนโทรทัศน์

                                                                                     • ใช ้คลืนสัญญาณเป็ นพาหะในการส่งข ้อมูลออกทางอากาศ
                                                                                       แทนทีจะส่งออกทางสายสัญญาณ เรียกว่า ระบบเครือข่าย
                                                                                       สัญญาณวิทยุ (Packet Radio Network)
                                                                                       หรือ สือประเภทไร ้สาย (Wireless)




                   ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว                                         เครือข่าย Broadcast แบ่งออกเป็ น 2 จําพวก
                      (Broadcast Network)
                                                                                  1. เครือข่ายสาธารณะ (Public Network)

   - อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายสัญญาณวิทยุจําเป็ นต ้องใช ้โมเด็ม
                                                                                          เป็ นเครือข่ายการสือสารข ้อมูลสาธารณะแบบง่ายและสะดวกทีสุด
   ชนิดพิเศษสําหรับการรับส่งข ้อมูลผ่านสัญญาณวิทยุ

                                                                                          การรับส่งข่าวสารข ้อมูลจะผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะของ
   • โพรโทคอลทีใช ้ก็เป็ นการนํ า                                                         องค์การโทรศั พท์แห่ง ประเทศไทย (หรื อเครือข่า ยการโทรศั พ ท์
     โพรโทคอล X.25 มาดัดแปลงเป็ น AX.25 ทําให ้สามารถส่ง                                  สาธารณะในท ้องถินนั นๆ) โดยจะให ้บริการในท ้องถินทางไกล
     ข ้อมูลได ้ทีความเร็ว ตังแต่ 1,200 bps ไปจนถึง 19,200 bps




                      เครือข่าย Broadcast                                                              ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุ
                                                                                 มีอยู ่ 2 แบบคือ แบบรวมศูนย์ และแบบกระจาย
2. เครือข่ายส่วนบุคคล (Private Network)
                                                                                 1. ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุแบบรวมศูนย์ (Centralized Packet
     เป็ นระบบเครือข่ายทีจัดตังขึนไว ้สําหรับหน่วยงานหรือองค์กรทีเป็ นเจ ้าของ   Radio Network)
     และมีการใช ้ทรัพยากรร่วมกัน ซึงทรัพยากรและการสือสารต่างๆ ทีมีอยูใน     ่
     เครือข่ายจะมีไว ้เฉพาะบุคคลใน องค์กรเท่านั นทีมีส ิทธิเข ้ามาใช ้               • มีอปกรณ์การรับและส่งสัญญาณว ิทยุอยูทเครืองคอมพิวเตอร์ทศูนย์กลาง
                                                                                          ุ                               ่ ี                ี


                                                                                     • โหนดทังหมดในระบบจะติดต่อกับศูนย์กลางเท่านั น อุปกรณ์รับ-ส่ง
                                                                                                         ่
                                                                                     สัญญาณจะต ้องมีชองสัญญาณ 2ช่อง คือ สําหรับการส่งข ้อมูล 1ช่อง และ
                                                                                     สําหรับการรับข ้อมูลอีก 1 ช่อง

                                                                                     • การทํางานของระบบนีจึงคล ้ายกับการทํางานในระบบสายสัญญาณแบบ
                                                                                     เชือมต่อหลายจุด (Multipoint Line) ซึงมีสถานีหลักเพียงสถานีเดียวและ
                                                                                     มีสถานีรองหลายแห่ง




                                                                                                                                                               10
21-Aug-12




                 ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุ                                ต ัวอย่าง

 2. ระบบเครือข่ายสัญญาณวิทยุแบบกระจาย (Decentralized Packet Radio         การสือสารระบบนี ได ้แก่ เครือข่ายว ิทยุสมัครเล่น
 Network)

  • ใช ้ช่องสัญญาณว ิทยุเพียงช่องเดียวสําหรับการส่งและการรับข ้อมูล


  • การทํางานในระบบนีคล ้ายกับการทํางานในระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ
  ทัวไป


  • โพรโทคอล AX.25 ซึงอยูในชันสือสารเชือมต่อข ้อมูล(data link network)
                             ่
  ได ้รับการพัฒนาขึนมาสําหรับระบบเครือข่ายชนิดนี




                                                                              6.3 การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูล
                               มณฑิรา




       เส้นทางเดินข้อมูล (Path or Route) บนระบ
   เครือข่ายถูกกําหนดขึนมาโดยประเภทของระบบ
   เครือข่ายและซอฟต์แวร์ทนํ ามาใช ้ควบคุม
                          ี                                                    ส่วนใหญ่แล ้วข ้อมูลเส ้นทางจะถูกเก็บไว ้ใน
                                                                          ตารางเส้นทาง (Routing Table) ซึงจะบันทึก
                                                                          ข ้อมูลเกียวกับทีอยูของโหนดและเส ้นทางทีจะไปยัง
                                                                                              ่
     ต ้องมีโปรแกรมทีทําหน ้าทีในการค้นหาเส้นทางเดิน                      โหนดนัน ๆ
  ข้อมูล (Routing) โดยเฉพาะ


      การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูลเกิดขึนได ้ 2 ลักษณะ                          Routing Table เป็ นตารางข ้อมูลของเส ้นทางการ
  คือ                                                                    ส่งผ่านข ้อมูลเพือใช ้พิจารณาการส่งผ่านข ้อมูลซึงในการ
1.การค ้นหาโหนดศูนย์กลาง                                                 ได ้มาของ Routing table มีอยูด ้วยกัน 2 วิธ ี คือ Static
                                                                                                       ่
                                                                         Route และDynamic Route
2.การค ้นหาทีตัวโหนดเอง




                                                                                                                                    11
21-Aug-12




      เช่น เส ้นทางเลือกในกรณีทเส ้นทางหลักใช ้ไม่ได ้
                               ี                                การค้นหาเส้นทางจากโหนดศูนย์กลาง
และความเร็วในการส่งข ้อมูลของเส ้นทางนันเชือมต่อ                      (Centralized Routing)
ระหว่างโหนดต่างๆ

                                                                 จะกําหนดให ้โหนด ซึงทําหน ้าทีในการเลือก
                                                          เส ้นทางเดินข ้อมูลให ้กับโหนดอืนในระบบเครือข่าย


                                                                   โหนดนีจะทําหน ้าทีเป็ นผู ้จัดการบริหารเครือข่าย
                                                             การค ้นหาเส ้นทาง ซึงจะต ้องเก็บตารางเส ้นทางเดิน
                                                             ข ้อมูลและจัดการปรับปรุงข ้อมูลข่าวสารทังหมดที
                                                             เกิดขึนตลอดเวลา


                แสดงการค้ นหาเส้ นทางบนระบบเครือข่ าย




                                                         ข้อด้อยทีสําค ัญของการทํางานแบบศูนย์กลางคือ
                                                                ถ ้าตําแหน่ง (สถานทีทีตังทีใช ้งานจริง) ของโหนด
        โหนดอืนทีเหลือจะต ้องรายงานข่าวเกียวกับ            ศูนย์กลางไม่อยูตรงกลางระบบแล ้ว ข ้อมูลเกียวกับ
                                                                            ่
   สถานะการทํางานของตนเอง เช่น ปริมาณข ้อมูลที             เส ้นทางและสถานะการทํางานของโหนดทีอยูอกฟาก    ่ ี
   รับเข ้ามา ปริมาณข ้อมูลทีส่งออกไปและกระบวนการ
   ต่าง ๆ ทีเกิดขึนให ้แก่โหนดศูนย์กลางเป็ นระยะ           หนึงจะต ้องใช ้เวลาพอสมควรกว่าทีจะเดินทางมาถึง
                                                           โหนดศูนย์กลาง


                                                                 ระยะเวลาทีช ้าเกินไปนีอาจทําให ้ข ้อมูลในตาราง
ดังนัน…                                                    เส ้นทางไม่สอดคล ้องกับความเป็ นจริงทีเกิดขึนอยูใน
                                                                                                            ่
       โหนดศูนย์กลางจึงเป็ นทีรวบรวมข ้อมูลสถานะการ        ขณะนัน
   ทํางานทังหมดทีเกิดขึนบนระบบเครือข่าย จึงทราบว่า
   ส่วนใดในระบบเครือข่ายทีมีการใช ้งานมากหรือน ้อย              และอีกปัญหา คือ ถ ้าโหนดศูนย์กลางเกิดหยุด
   เพียงใด
                                                           ทํางาน โหนดอืนในระบบจะไม่สามารถค ้นหาเส ้นทางได ้




                                                                                 พิชามญชุ์




                                                                                                                        12
21-Aug-12




                                                                                                          ้
                                                                                                การค้นหาเสนทางทีต ัวโหนดเอง (Distributed Routing)

                                                                                                          กําหนดให ้แต่ละโหนดจัดการเก็บ ตารางเส ้นทางไว ้ โดยแต่ละโหนดมี

            ้
 การค้นหาเสนทางทีต ัวโหนดเอง                                                                    หน ้าทีส่งข ้อมูลสถานะการทํางาน (เช่น เดีย วกับแบบศูน ย์กลาง) ไปยั ง โหนด
                                                                                                ข ้างเคีย งของตนเองทุ กโหนด ข อมู ล ในตารางเส ้นทางจึง เป็ นเพีย งข ้อมู ล
                                                                                                                                   ้
                                                                                                สถานะการทํางานย่อย และเนืองจากจํานวนโหนดข ้างเคียงจะมีอยูไม่มากนักทํา่
    (Distributed Routing)                                                                       ให ้แต่ละโหนดสามารถปรับปรุง ข ้อมู ล ให ้มี ค วามทั น สมั ย อยู่ต ลอดเวลา การที
                                                                                                โหนดหนึงหยุดทํา งานก็จะไม่มีผลต่อการค ้นหาเส ้นทางของโหนดอืน ในระบบนี
                                                                                                แม ้ว่าจะมีปริมาณข ้อมูลเพิมขึน (เพือแจ ้งสถานะการทํางาน) แต่ประสิทธิภาพที
                                                                                                สูงขึน ก็ถอการเลือกเส ้นทางของ Interior Routing Protocol นั นจะมีการเลือก
                                                                                                           ื
                                                                                                เส ้นทางอยูสองกรณีด ้วยกัน ซึงล ้วนแล ้วแต่มี ค วามสํ า คั ญ ต่อการทํ า งานต่า งๆ
                                                                                                             ่
                                                                                                แทบทังสิน




                                                                  นางสาวพิช ามญชุ ์ แซ่ เติน
                                                                         รห ัส 52122347




                         ประเภทของ Distributed Routing                                                        ข้อดีและข้อเสีย ของ Static Routing Protocol

   Static Routing Protocol                                                                     ข้อดีของการทํา Static routing
- การเลือกเส ้นทางแบบ Static เป็ นวิธการเลือกเส ้นทางทีราบเรียบและง่ายต่อความ
                                      ี                                                                1. มีความปลอดภัยในข ้อมูลสงกว่า เนืองจากเป็ นการระบุเส ้นทางแบบตายตัว
                                                                                                                                   ่ ู
เข ้าใจ รวมทังยังสามารถจัดตังค่าการทํางานบน router ได ้โดยง่าย โดยเฉพาะกับ                     ทําให ้ router ไม่ต ้องไปหาเส ้นทางอืน ที อาจจะก่อให ้เก ิดความเสียงต่าง ๆ ได ้
เครือข่ายทีมีขนาดเล็ก ซึงทําให ้การทํางานบนเครือข่ายโดยรวมมีประสิทธิภาพสูง                            2. router ไม่ต ้องใช ้ประสิทธิภาพการทํางานของ CPU ทีสูงมากนั ก เพราะไม่
มากกว่าการใช ้ Dynamic routing protocol                                                        ต ้องตัดสินใจเลือกเส ้นทางของ packet
                                                                                                      3. ทําให ้ประสิทธิภาพของ network โดยรวมดีมาก เพราะ router แต่ละตัว  ่
- Routing Protocol ประเภทนีจะมันจะทําการหาเส ้นทางตามทีเรากําหนดและไม่มี                       ไม่ตอ ้งประมวลผลการเลือกหาเส ้นทาง
การเรียนรู ้เส ้นทาง ทีเป็ นแบบออโตเมติคนั ก ซึงจะเป็ นผลเสียต่อระบบมาก
                                                                                               ข้อเสีย ของ Static routing
                                                                                                     1. เมือมีการเพิม router เข ้าไป จะต ้องมา config ทุก ๆ router ใหม่ ทําให ้
                                                                                               เก ิดความล่าช ้า หรือ เสียเวลามาก
                                                                                                     2. จะต ้องมีความเข ้าใจระบบเครือข่ายโดนรวม และเข ้าใจถึงการเชือมต่อของ
                                                                                               router ทุกตัวบนทุก ๆ interface




                 ประเภทของ Distributed Routing

       Dynamic Routing Protocol                                                                                    ข้อดีและข้อเสีย ของ Dynamic routing
        - Routing Protocol ประเภทนีจะมันจะทําการหาเส ้นทางตามทีเรากําหนด
และช่วยจัดการอํานวยความสะดวกเกียวกับการสร ้าง Routing Table โดยมั นมีหน ้าที                      ข้อดีของการทํา Dynamic routing
หลักอยู่ 2 อย่างด ้วยกันคือ หาเส ้นทางทีดีทสุดในการส่งข ้อมูลไปยังปลายทาง และ
                                            ี                                                        1. เหมาะกับ Network ขนาดใหญ่ๆ
กระจาย Routing Information ไปยังเครืองอืนๆ ในเครือข่าย                                               2.ไม่ต ้องมีความเข ้าใจของระบบ Network ทังหมด
       - การเลือกเส ้นทางแบบ Dynamic ค ้นหา remote network, จัดการ up-to-                            3. ไม่ต ้องมา Config ใหม่เมือมีการเพิม อุปกรณ์เข ้าไปใน Network
date ข ้อมูลของเส ้นทาง, เลือกเส ้นทางทีดีทสุดทีไปยัง destination network,
                                              ี
สามารถหาเส ้นทางใหม่แทนทีเส ้นทางทีใช ้ไม่ได ้แล ้วDynamic Routing Protocol                       ข้อเสีย ของ Dynamic routing
Operation                                                                                             1.เปลือง CPU ของอุปกรณ์ ซึงอาจทําให ้ประสิทธิภาพของ network
1. Router รับและส่งข ้อมูลของเส ้นทางผ่าน interface ของมั น                                       โดยรวมไม่ดนัก
                                                                                                              ี
2. Router มีการ share ข ้อมูลของเส ้นทางและmessage กับrouter อืน ทีใช ้                               2. อาจโดนดักอ่านข ้อมูลได ้
routing protocol เดียวกัน
3. Router แลกเปลียน ข ้อมูลของเส ้นทางในการเรียนรู ้เกียวกับ remote networks
4. เมือ router รับรู ้ว่ามีการเปลียนแปลง topology แล ้ว routing protocol สามารถ
ทีจะกระจายข่าวไปยัง router อืนได ้




                                                                                                                                                                                     13
21-Aug-12




                                                                                        ้
                                                                           วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล
                                                                              ี

                                                                    • เส ้นทางเดินข ้อมูลจากโหนดหนึงไปยังอีกโหนดหนึง อาจเปน  ็
                                                                          ้
                                                                      เสนทางเด ิมเสมอ หรืออาจเปลยนแปลง  ยนแปลงไปตามสถานะของ
                                                                                                        ี
                                                                      ระบบเครือข่ายในขณะทีส่งข ้อมูล
                                                                    • ถ ้าใช้เส้นทางเดิมทุกครังทีส่งข ้อมูลไปยังโหนดเดิม แสดงว่า
                                                                          ใช้
                          เปรมฤทัย                                    ระบบเครือข่ายใช้วธการค้นหาเส้นทางแบบสถิตย์ (Static
                                                                                           ิ ี
                                                                      Routing)
                                                                    • อย่างไรก็ตามถ ้าส่วนหนึงของเส ้นทางทีกําหนดไวใน ตารางไม่
                                                                                                                        ้
                                                                      สามารถใช ้การได ้ ก็จะทําให ้ไม่สามารถส่งข ้อมูลได ้




   ี         ้
วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ)                                                ้
                                                                    วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ)
                                                                       ี
          ี              ้
       วิธการค ้นหาเสนทาง (Route) ทีข ้อมูลเดินทางจากผู ้ส่ง                            ้
                                                                         วิธการค ้นหาเสนทางเดินข ้อมูล แบ่งออกเป็ นสองวิธคอ
                                                                             ี                                           ี ื
 ข ้อมูลไปยังผู ้รับข ้อมูลเป็ นหน ้าทีหลักของโปรแกรมในชันสือสาร     - การค ้นหาเส ้นทางแบบสถิต (Static Routing)
 นี เส ้นทางดังกล่าว มีความหมายเหมือนกับการคนหาเสนทาง้    ้
                                                                     - การค ้นหาเส ้นทางแบบพลวัต (Adaptive or Dynamic
 จากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง เช่น จากกรุงเทพฯ ไปยังหนองคาย             Routing)
 ซึงอาจหมายถึงการใช ้ถนนเพียงเส ้นเดียวก็สามารถ ไปถึง
 จุดหมายได ้ หรืออาจต ้องใช ้ถนนหลายเสนกว่าทีจะไปถึง
                                              ้
 จุดหมายได ้ ปั ญหาทีอาจเกิดขึนได ้นันมากมาย เช่น ถนนเดิมที
 เคยใช ้เดินทางอาจถูกนํ าท่วมหรือเกิดอุบัตเหตุทําให ้ไม่สามารถ
                                                ิ
 ใช ้เส ้นทางนีได ้ ก็จําเป็ นจะต ้องหาเส ้นทางอืนทีสามารถเดินทาง
 ไปยังจุดหมายได ้เหมือนเดิม




             ้
วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ)
   ี
                ้
 การค้นหาเสนทางแบบสถิต (Static Routing)
                     ้
 จะทําการค ้นหาเสนทางส่งข ้อมูลไปยัง เป้ าหมายและบันทึกไว ้
 เป็ นการถาวร การส่งข ้อมูลไปยังเป้ าหมายเดิมก็จะใช ้ข ้อมูลนี
 เหมือนกันทุกครัง แต่ถ ้าเส ้นทางทีเคยใช ้ถูกปิ ดกันก็จะไม่
 สามารถส่งข ้อมูลไปยังเป้ าหมายได ้เลย วิธนทําให ้การคนหา
                                            ี ี          ้
 เส ้นทางง่ายไม่ซบซ ้อน แต่ก็ไม่มความคล่องตัว คือจะทํางาน
                   ั             ี                                                          นัทธีวรรณ
 เหมือนรถโดยสารประจําทางทีจะต ้องใช ้ เส ้นทางเดิมเสมอ
 แม ้ว่าการจราจรในเส ้นทางนันจะหนาแน่นหรือติดขัดมากก็ตาม
 หนทางแก ้ปั ญหาทางหนึงคือ การจัดทําตารางเส ้นทางข ้อมูล
 เรียกว่า Dynamic Routing Table ทีมีการตรวจสอบสภาพความ
 เป็ นจริงทีเกิดขึนในขณะนันอยู่เสมอ




                                                                                                                                     14
21-Aug-12




                                                                            ี   ้    ้
                                                                         วิธการคนหาเสนทางเดินแบบพลวัต



                                                              • วิธค ้นหาเส ้นทางแบบพลวัต (Adaptive or
                                                                    ี
         การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูลบน                         Dynamic Routing) หมายถึง การส่งข ้อมูลทีไม่
                 ระบบเครือข่าย                                  จําเป็ นต ้องส่งไปยังเส ้นทางเดิมเสมอ หรือ มี
                                                                เส ้นทางเผือเลือกในการส่งข ้อมูล




                                                                       ในปั จจุ บั น ระบบเครือ ข่ า ยเกือ บทั งหมด
                                                                 เ ลื อ ก ใ ช ้ว ิ ธ ี ค ้น ห า เ ส ้น ท า ง แ บ บ พ ล ว ั ต
                                                                 (Adaptive or Dynamic Routing) ซึงจะเลือก            เลื
• วิธนีจะค ้นหาเส ้นทางไปยั งเป้ าหมายทุกครั งที
      ี                                                              ้
                                                                 เส น ทางเมือมีผู ้ต อ งการส่ง ข้อ มู ล เกิด ขึน
                                                                                              ้
  ต ้องการส่งข ้อมูล ดังนั นจึง ไม่ ม ีปัญหาใด ๆ ถ ้า            ก่อ นเท่ า น น จึง สามารถกํ า หนดเงือนไขที
                                                                                 ั
  เส ้นทางทีเคยใช ้ถูกปิ ดกันระบบทีใช ้วิธการนีจะ  ี             ต ้องการให ้สอดคล ้องกับผู ้ใช ้ในขณะนันได ้
                         ้
  ทํ า ก า ร ค น ห า เ ส น ท า ง อื น ท ด แท น ใ น ทั น ที
               ้
                                           ้
  อย่ า งไร ก็ ต า ม วิธ ี ก า ร นี ซั บ ซ อ นม า กจ ะต อ ง
                                                        ้     เช่น ต ้องการใช ้เส ้นทางทีสันทีสุด เสีย
  เสียเวลาในการค ้นหาข ้อมูลทุกครังทีจะส่งข ้อมูล              ค่าใช ้จ่ายน ้อยทีสุด หรือเส ้นทางทีเร็วทีสุด




    การค ้นหาการทางเดิน
   ข ้อมูลอาจเปรียบเหมือน                                     ข้อดี วิธีการพลวัต คือ นําข้อมูลทีเกิดขึนในขณะนันมาใช้ซึงเป็ น
                                                               ข้
                                                               ลักษณะของระบบเครื อข่ายทัวไป คือมีการเปลียนแปลงเกิดขึน
          การใช ้ถนน                                           ตลอดเวลา

                                                               ดังนันจึงสามารถหลีกเลียงเส้ นทางทีใช้ การไม่ ได้ และสามารถค้นหา
                                                                เส้ นทางทีดีทสุดได้ เสมอ
                                                                             ี

                                                               ข้ อเสีย คือ จะต้ องเสียเวลาในการค้ นหาเส้ นทางก่ อนการส่ งข้อมูลทุก
                                                                ครังแม้ ว่าจะส่ งข้อมูลไปยังโหนดเดิม
                                                                    งแม้




                                                                                                                                             15
21-Aug-12




             จบการนําเสนอ                                                นวพร




                                              • การค ้นหาเส ้นทางการกระจายข่าว (Broadcast
                                                Routing) ใช ้วิธส่งข่าวไปยังโหนดทุกโหนดในระบบ
                                                                 ส่
                                                                 ี
                                                เครือข่าย
                                              • ตัวอย่างเช่น โพรโทคอล CSMA/CD ทีใช ้ในระบบ
                                                เครือข่ายเฉพาะบริเวณ
          ้
การค้นหาเสนทางการกระจายข่าว                   • ข ้อมูลจะถูกส่งออกไปในสายสือสารทีเชือมต่อโหนด
    (Broadcast Routing)                         ทังหมดเข ้าด ้วยกัน ดังนันทุกโหนดจึงได ้รับข ้อมูลชุดนี
                                                เหมือนกัน แต่จะมีโหนดทีเป็ นผู ้รับทีแท ้จริงเท่านันทีจะ
                                                นํ าข ้อมูลนีไปใช ้
                                              • วิธการส่งข่าวแบบกระจายอีกแบบหนึงเรียกว่า วิธฟ
                                                    ี                                              ี
                                                ลัดดิง (Flooding) ข ้อมูลจะถูกส่งไปยังโหนดข ้างเคียง
                                                ทุกโหนดพร ้อมกัน




                                                                        นนธิยา




    แสดงการส่ งข้ อมูลกระจายข่ าวแบบฟลัดดิง




                                                                                                             16
21-Aug-12




          ระบบเครือข่ายสาธารณะ                              เครือข่ายสาธารณะ
           (Public Network)
                                                  • เครือข่ายสาธารณะ (PDNs) หรือทีบางครัง
                                                    เรียกว่า เครือข่ายมูลค่าเพิม (Value Assed)
                                                    เป็ นระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN) ซึงองค์กร
                                                    ทีได ้รับสัมปทานทําการจัดตังขึน เพือให ้บุคคล
                                                    ทัวไปหรือองค์กรอืน ๆ ทีไม่ต ้องการวาง
                                                    เครือข่ายเองสามารถแบ่งกันเช่าใช ้งานได ้ โดย
                                                    การจัดตังอาจทําการวางโครงข่ายช่องทางการ
                                                    สือสารเอง หรือเช่าใช ้ช่องทางการสือสาร
                                                    สาธารณะก็ได ้




• ระบบเครือข่ายสาธารณะ จะนิยมใช ้ในการ            • ระบบเครือข่ายสาธารณะ เป็ นระบบทีอยู่ในความ
  เชือมต่อระบบเครือข่ายแบบ WAN กันมาก               ดูแลของผู ้ให ้บริการสาธารณะ (Common
  เนืองจากมีคาใช ้จ่ายตํากว่าการจัดตังเครือข่าย
               ่                                    Carrier ) และประชาชนทัวไปสามารถเข ้าใช ้
  ส่วนตัว สามารถใช ้งานได ้ทันทีโดยไม่ต ้อง         บริการได ้ เช่น ระบบเครือข่ายโทรศัพท์มองค์กรี
  เสียเวลาในการจัดตังเครือข่ายใหม่ รวมทังมี         การโทรศัพท์เป็ นผู ้ดูแล หรือผู ้ให ้บริการไอเอสพี
  บริการให ้เลือกอย่างหลาย ๆ ซึงแตกต่างกันไป        (Internet Service Provider ; ISP)
  ทังในส่วนของราคา ความเร็ว ขอบเขตพืนที
  บริการ และความเหมาะสมกับงานแบบต่าง ๆ




                                                          ระบบเครือข่ายสาธารณะ
• เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) 1.              ข้อดี คือมีขอบเขตทีกว ้างขวาง ซึงสร ้างระบบ
  เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (Public Switched         เครือข่ายส่วนตัวอาจไม่สามารถทําได ้ หรือต ้อง
  Telephone Network , PSTN) เป็ นเครือข่าย          ใช ้เงินลงทุนสูงมาก เช่น การวางเครือข่าย
  การสือสารข ้อมูลสาธารณะแบบง่ายและสะดวก            สือสารไปยังต่างประเทศสามารถใช ้บริการสาย
  ทีสุดการรับส่งข่าวสารข ้อมูลจะผ่านทาง
  เครือข่ายโทรศัพท์ สาธารณะของ                      สือสารเช่าจากองค์กรโทรศัพท์ได ้ในราคาทีถูก
  องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (หรือ                กว่าการวางสายสือสารเอง นอกจากนีระบบ
  เครือข่ายการโทรศัพท์สาธารณะในท ้องถิน             เครือข่ายสาธารณะยังใช ้สายสือสารได ้คุ ้มค่า
  นันๆ) โดยจะให ้บริการใน                           มากกว่าสายสือสารส่วนบุคคลมาก
  ท ้องถินทางไกล




                                                                                                          17
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network
Computer network

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
Intro netwrok
Intro netwrokIntro netwrok
Intro netwrokbyowen
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switch
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switchการจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switch
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switchNattawut Pornonsung
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Obigo Cast Gaming
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Intro netwrok
Intro netwrokIntro netwrok
Intro netwrok
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switch
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switchการจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switch
การจัดการระบบเครือข่ายด้วย Management switch
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 

Viewers also liked (9)

Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 
Introduction to computer hardware
Introduction to computer hardwareIntroduction to computer hardware
Introduction to computer hardware
 

Similar to Computer network

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Kin Kanin
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Chatman's Silver Rose
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Networkchukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Similar to Computer network (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
Ch23
Ch23Ch23
Ch23
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 

More from Nittaya Intarat

More from Nittaya Intarat (20)

Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Media
MediaMedia
Media
 
Database architecture
Database architectureDatabase architecture
Database architecture
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศ
 
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศCh2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
Db architecture
Db architectureDb architecture
Db architecture
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Media
MediaMedia
Media
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 

Computer network

  • 1. 21-Aug-12 Computer Network พืนฐานระบบเครือข่าย อนุธดา ิ By…. IS CMRU ในระบบเครือข่ายจะเห็ นคําว่า โหนด (Node) เป็ นส่วนใหญ่ ซึงหมายถึง อุปกรณ์แบบใดก็ได ้ทีเชือมต่อเข ้ากับระบบเครือข่ายที โหนดบนระบบเครือข่ายสามารถทํางานได ้หลายหน ้าที มีหมายเลขทีอยูบนระบบเครือข่าย (Address) ละสามารถรับ-ส่ง ่ คอมพิวเตอร์ททําหน ้าทีเป็ นโหนดสามารถรับข ้อมูล เก็บข ้อมูลนันไว ้ ี ข ้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายได ้ ดังนันตังแต่โทรศัพท์เครืองหนึง และส่งข ้อมูลนันออกไปทางสายสือสาร โหนดอาจทําหน ้าทีเป็ น เครืองเทอร์มนอล ฟรอนท์เอนด์ โปรเซลเซอร์ คอนเซ็นเทรเตอร์ ิ คอนเซ็นเตอร์ คือรับข ้อมูลเข ้าจากเทอร์มนอลความเร็วตํา(รับ-ส่ง ิ ไปจนถึงเครืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก็สามารถทําหน ้าทีเป็ นโหนด ข ้อมูลด ้วยความเร็วตํา) หลายตัวเพือนํ าข ้อมูลทังหมดมารวมกันเป็ น ได ้ บล็อกขนาดใหญ่ แล ้วจึงส่งบล็อกออกทางสายสือสารด ้วยความเร็ว สูงเช่น มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) สามารถนํามาใช ้เชือมต่อ คอมพิวเตอร์หลายเครืองเข ้าด ้วยกันผ่านระบบเครือข่ายได ้ ระบบเครือข่ายจําเป็ นจะต ้องเชือมต่อโหนดทังหมดเข ้า อาจมีโหนดอืนแทรกอยู่ตรงกลางก็ได ้ส่วนวงจรสือสาร ด ้วยกันจึงจะสามารถทํางานได ้ การเชือมต่อหรือวงจรเชือมต่อที (Circuit) คือเส ้นทางทีสมบูรณ์ทเชือมต่อผู ้ส่งข ้อมูลเขากับผู ้รับ ี ้ ติดตังระหว่างโหนดสองโหนดทีอยูตดกันโดยไม่มโหนดใดๆคันอยู่ ่ ิ ี ข ้อมูลซึงเรียกว่าเป็ นการเชือมต่อแบบผู ้ส่งถึงผู ้รับ (End to End) ตรงกลาง เรียกว่าเส ้นเชือมหรือลิงค์ (Link) และคําว่า เส ้นทาง วงจรสือสารอาจเป็ นเส ้นทางทีต ้องผ่านเสนเชือมทีใชสือต่างชนิด ้ ้ ้ กัน หรืออาจต ้องผ่านเสนทางทีมีผู ้ให ้บริการต่างออกไป (path) คือเส ้นเชือมกลุมหนึงซึงเรียงตามลําดับทีถูกต ้องเพือ ่ เชือมต่อโหนดสองโหนดใดๆเข ้าด ้วยกันโดย 1
  • 2. 21-Aug-12 จุดประสงค์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี 4. เพือช่วยให ้สามารถประมวลผลแบบกระจายได ้ ซึงการประมวลผล แบบนีจะช่วยให ้มีการกระจายการทํางานจากคอมพิวเตอร์เครืองใหญ่ 1. เพือใช ้ทรัพยากร เช่น ฐานข ้อมูล ตัวประมวลผล ตลอดจน ่ ไปสูคอมพิวเตอร์เครืองเล็กๆ โดยจะทําการประมวลผล ณ แหล่งกําเนิด ฮาร์ดดิสก์และเครืองพิมพ์รวมกัน ่ ข ้อมูล หรือแหล่งทีต ้องการผลข ้อมูล หรืออาจจะส่งข ้อมูลไป ประมวลผลทีคอมพิวเตอร์ทเหมาะสมกับงานนันๆก็ได ้ ี 2. เพือให ้มีการติดต่อแลกเปลียนข ้อมูลกันได ้ระหว่างผู ้ใช ้หรือ ระหว่างตัวประมวล 5. เพือให ้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากรจากส่วนกลาง(สําหรับ ่ ในระบบการทํางานแบบกระจาย) ไปสูแต่ละระบบย่อยทีอยูห่างไกลกัน ่ 3. เพือเพิมความเชือถือได ้ (Reliability) ของระบบประมวลผล โดยมีการสํารอง (Backup) ระบบ ตลอดจนความซําซ ้อนของ 6. เพือช่วยให ้อุปกรณ์ มีความแตกต่างกัน สามารถใช ้งานร่วนกัน ระบบ เช่นการมีคอมพิวเตอร์หรือฐานข ้อมูลอยูในทีต่างๆ และมี ่ (Compatibility) ได ้ การเชือมโยงระบบคอมพิวเตอร์เหล่านันเข ้าด ้วยกัน ่ เทคนิคการสงข ้อมูลบน ระบบเครือข่าย สุดารัตน์ ื การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด วิธทง่ายทีสุดในการเชือมต่อโดยตรงระหว่าง ี ี (point- to-point link) โหนด คือการเชือมต่อแบบจุดต่อจุด (point-to- • รูปแบบการเชือมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด (point- to- point link) นอกจากจะเป็ นวิธทง่ายแล ้วยั งทํา ี ี pointlink) ให ้ผู อนไม่ ส ามารถขั ดขวางการสือสารระหว่า ง ้ ื โหนดคูนันได ้ ่ เป็ นการเชือมต่อแบบพืนฐาน โดยต่อจากอุป กรณ์รับ หรือส่ง 2 ชุด ใช ้สายสือสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่ จํา กัด เชือมต่อสายสือสารไว ้ตลอดเวลา ซึงสายส่งอาจจะเป็ นชนิดสาย ส่งทางเดีย ว (Simplex) สายส่งกึงทางคู่ (Half-duplex) หรือ สายส่งทางคูแบบสมบู รณ์ (Full-duplex) ก็ไ ด ้ และสามารถส่ง ่ สัญญาณข ้อมูลได ้ทังแบบซิงโครนัสหรือแบบอซิงโครนัส 2
  • 3. 21-Aug-12 ี ลักษณะการเชือมต่อระหว่างเครืองคอมพิว เตอร์พ ีซแต่ ละเครืองมีเพียงสายเพียง 1 สายต่อเชือมโยงกันในการทํา งาน ื การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด หรือ ในเครืองทีทํ า หน า ทีเป็ นเครืองปลายทาง 1 เครือง ้ (point- to-point link) เชือมต่อกับเครืองเมนเฟรมโดยใช ้สาย 1 เส ้น หรือในอีกกรณี หนึงเครืองคอมพิวเตอร์ 2 เครืองสือสารกันโดยใช ้การส่งข ้อมู ล การเชือมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุดมีคุณสมบ ัติ 3 ประการ ผ่านคลืนไมโครเวฟ ดังรูป • 1. เนืองจากเป็ นการเชือมต่อกันแบบโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์ส อง เครือง แบนด์วดธ์บนสายสือสารทีใช ้งานระหว่างกันจะสามารถใช ้งาน ิ ได ้อย่างเต็มที โดยไม่มีโหนดอืน ๆ เข ้ามาแชร์การใช ้งาน • 2. มีความยืดหยุนในส่วนของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ท ีใช ้สือสารกั น รวมถึง ่ รูปแบบของแพ็ กเก็ตข ้อมูล • 3. มี ค วามปลอดภั ย และความเป็ นส่ ว นตั ว ในข ้อมู ล ที สื อสารกั น เนืองจากช่องทางการสือสารทีใช ้สือสารกั น ไม่ มี ก ารแชร์เพื อใช ้งาน ร่วมกับโหนดอืน ๆ ื การเชอมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด (point- to-point link) ข ้อเสีย ของการเชือมแบบจุ ด ต่อจุด คือ จะส่งผกระทบต่ อ ค่า ใช ้จ่า ยทีเพิมขึน เมื อมีอัต ราการเพิ มจํา วนคอมพิว เตอร์บ น เครือข่า ย โดยหากมีก ารเพิมจํา นวนคอมพิว เตอร์เพิ มอีกหนึ ง ศุภลักษณ์ เครืองบน Location 1 จะต ้องเพิมสายจากเดิม ทีมีอยู่ 10 เส ้น เป็ น 15 เส ้น ระบบเครือข่ายแบบสวิทช์ (Switched Network) • แบ่งตามวิธการสับสายออกเป็ น 4 แบบคือ ี 1.แบบวงจรสวิทช์ ระบบเครือข่ายแบบสวิทช ์ 2.แบบเมสเซจสวิทช์ (Switched Network) 3.แบบแพ็กเกตสวิทช์ 4.แบบเซลล์สวิทช์ 3
  • 4. 21-Aug-12 ์ วงจรสวิทช(Circuit Switched) ์ วงจรสวิทช(Circuit Switched) ต่อ "การสวิตช์วงจร" (Circuit Switching) เป็ น Circuit Switching คือ วิธการต่อสัญญาณ ี การเชือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทอาศัย หลัก ี จากผู ท ีเริมต ้น ผ่ านชุม สาย ผ่ า นสายไฟจริง ๆ ้ พืนฐานทางด ้านการสวิตชิงของระบบโทรศัพท์ จนกร ะทั ง ถึง ที หมา ย และสั ญ ญา ณจ ะอยู่ การเชือมโยงคอมพิวเตอร์ให ้เชือต่อกันในวงจร จนกระทั งมีก ารยกเลิก การใช ้งาน หลั กการที ระหว่างจุดไปจุ ด จุดอ่อนของการสวิตช์วงจรที สํ า คั ญ ของการสวิท ช์ว งจร คือ จะต อ งมี ก าร ้ เชือมระหว่างสองจุด ทําให ้ใช ้ข ้อมู ลข่าวสารใน จัดตังเชือมต่อก่อนทีจะมีการส่งข ้อมูลจริง เครือข่าย ไม่เต็ม ประสิทธิภาพ และมีข ้อยุ่ งยาก หากต ้องการสือสารกันเป็ นจํานวนมาก การจั ด ตังการเชือมต่อนีอาจจะใช ้เวลามาก ้ เมื อมี ก ารจั ด สร า งเ ส น ทางเรี ย บร อ ยแล ว ้ ้ ้ บางครัง อาจจะถึง 10 วินาที ขึนอยู่กับระยะทาง เวลาทีเสีย ไปจะเป็ นเพีย งแค่เ วลาทีสั ญ ญาณ ยิงเป็ นการเรีย ก (call) แบบทางไกล เช่น การ ผ่านสายเท่านัน ซึงโดยปกติจะมีค่าประมาณ 3 เรียกข ้ามประเทศก็ อาจจะนานกว่า เวลาทีใช ้นี msec ต่อระยะทาง 1000 km และหลังจากมี การจั ด ตังทางเดิน สัญญาณ แล ้วจะไม่ ม ีปัญหา เป็ นการค ้นหาเส ้นทางทีสัญญาณจะใช ้ติดต่อจะ ของความหนาแน่น ของการใช ้ตามมา นั นคือ เห็ น ว่ า ก่อ นทีจะมีก ารส่ง สั ญ ญาณ ออกไปได ้ หลั ง จ ากต่ อ กั น ได แ ล ว จ ะไม่ มี ท า งจ ะได ย ิ น ้ ้ ้ คํา สั งร อ งขอ request จะต ้องถูก ส่ง ออกจาก ้ สัญญาณไม่วาง ถึงแม ้ว่าก่อนหน ้าทีจะต่อสําเร็ จ ่ ตังแต่ผู เ ริมต ้นจนกระทังถึง ทีหมาย และรอให ้ ้ อาจจะได ้ยินบ ้างเพราะชุม สายถูกใช ้งานจนเต็ม ปลายทาง ตอบรับกลับมายังทีเริมต ้น ในขณะนัน ซึงแบ่งขันตอนการทํ างานออกเป็ น 3 ขันตอนดังนี ในระบบเครือข่า ยทีใช ้วิธ ีการส่งข ้อมู ล แบบ ขั น ต อ น 1 คื อ ก า ร จั ด ตั ง ว ง จ ร สื อ ส า ร วงจรสวิทช์ (Circuit-Switching Network) (Establishing Circuit) ซึงเป็ นการเชือมต่อแบบผู ้ จะกํ า หนดวงจรสือสารระหว่ า งโหนดสอง ส่ง-ถึง-ผู ้รับ (End-to-End Connection) โหนดขึนมาเป็ นการเฉพาะ ซึงอาจจะมีโ หนด ขันตอนที 2 คือ ขันตอนทีเกิดการแลกเปลียน จํานวนหนึงอยู่ตรงกลางก็ตาม ข ้อมูล (Data Transfer) ถ ้าเป็ นระบบเครือ ข่า ย การสือสารระหว่างสองโหนดนีจะเกิดขึนได ้ก็ ้ โทรศัพท์ หมายถึงช่วงทีผู ้ใชกําลังสนทนากัน ต่อ เมื อวงจรสือสารจะต ้องถู ก จั ด ให ้เรีย บร อ ย ้ ขันตอนสุดท ้าย คือ การขอยกเลิกวงจรสือสาร ตลอดเส ้นทาง (Circuit Disconnect) เกิดขึนเมือผู ้ใช ้ต ้องการ ยกเลิกการสือสารระหว่างกัน 4
  • 5. 21-Aug-12 แสดงผูใช ้ X ติดต่อผูใช ้ Y ในเครือข่าย ้ ้ วงจรสวิทช ์ วิสดา ุ เทคนิคการส่งข ้อมูลแบบเมสเซจสวิทช์ การสงข้อมูลแบบเมสเซจสวิทช ์ ่ (Message-Switching Network) ได ้รับการ (Message-Switching พัฒนาขึนมาใช ้งานแทนแบบวงจรสวิทช์เพือเพิม Network) ประสิทธิภาพการใช ้งาน วิธการคือมุ่งเน ้นไปทีการนําส่งตัวข่าวสารไป ี ยังผู ้รับ ข ้อมูลจะถูกส่งออกไปโดยไม่ต ้องมีการ การนําวิธการเก็บและการส่งติดต่อข ้อมูล ี จัดเตรียมวงจรสือสารไว ้ล่วงหน ้า มาใช ้ นันจําเป็ นจะต ้องให ้ทุกโหนดทีเกียวข ้อง ดังนันข ้อมูลจึงอาจถูกส่งออกไปแม ้ว่าผู ้รับ เป็ นเครืองคอมพิวเตอร์ทงหมด ั อาจยังไม่พร ้อมทีจะรับข ้อมูลก็ตาม ข ้อมูลก็จะไม่ สูญหายไปไหนเนืองจากโหนดทีมีข ้อมูลนันจะต ้อง เก็บข ้อมูลไว ้จนกว่าผู ้รับจะพร ้อม จึงจะส่งไปให ้ กระบวนการนีจึงเรียกว่า การเก็บและการส่งผ่าน ข้อมูล (Store and Forward ) 5
  • 6. 21-Aug-12 ค ้นหาโหนดต่อในลําดับทีเหมาะสม (Intermediate Node) ซึงจะต ้องอยู่ในเส ้นทางที จะไปยังโหนดผู ้รับ (Receiver Node) โหนดจะรับข ้อมูล (Message) เข ้ามาจากระบบ ข ้อมูลแต่ละชุดต ้องบันทึกหมายเลขทีอยู่บน เครือข่าย จัดการเก็บข ้อมูลนันไว ้ในหน่วยความจํา เครือข่าย (Address) ของโหนด ผู ้รับไว ้ด ้วย ชัวคราว โหนดทีรับข ้อมูลจะใช ้หมายเลขในการค ้นหา โหนดทีจะส่งข ้อมูลนันต่อไป ข ้อดีคอ เป็ นแบบวงจรทีมีประสิทธิภาพในการ ื ใช ้งานสูง เพราะแบ่งการใช ้งานสายส่งได ้เต็มที ต ัวอย่างการส่งข้อมูลแบบเมสเซจ ตลอดเวลา สวิทช ์ ได้แก่ ระบบอีเมล์ ข ้อเสียคือ วงจรไม่มการเชือมต่อตลอดเวลา ี จึงไม่สามารถให ้บริการแบบทีต ้องการการโต ้ตอบ ทันทีทันใดได ้(Interactive Mode) และ มีคาหน่วงเวลาสูง เนืองจากข ้อมูลทีส่งไป ่ ระหว่างทางนัน จะถูกจัดเก็บไว ้ชัวคราว ซึงอุปกรณ์ ในการจัดเก็บนันมีการประมวลผลช ้า แพกเกตสวิตชง ิ ณั ฎฐนันท์ ( packet switching ) 6
  • 7. 21-Aug-12 แพกเกตสวิตชิง (packet switching )ใช ้ในการติดต่อสือสาร • การส่งข ้อมูลแบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching Network) ผ่านระบบเครือข่ายดิจตอลความเร็วสูง แพกเกตสวิตชิง เป็ นเทคนิค ิ นํ าข ้อดีของ วิธการส่งข ้อมูลแบบเมสเซจสวิทช์(Message- ี ้ ในการหาเสนทางให ้กับแต่ละ แพกเกตทีมีจดหมายปลายทาง ุ SwitchingNetwork) และแบบวงจรสวิทช์(Circuit-Switching ต่างกัน ปลายทาง คือ DTE( Data Terminal Equipment ) Network) มารวมกัน อุปกรณ์ทช่วยถ่ายทอดข่าวสารคือ DCE ( Data Communication ี • พยายามลดข ้อเสียลงไป แบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet- Equipment ) SwitchingNetwork) แบ่งข ้อมูลออกเป็ นชุดเหมือนกับแบบเมส การส่งข ้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็ กเก็จสวิตชิงนัน ขนาดของของ เซจสวิทช์(MessageSwitching Network) แต่มความยาวไม่ ี ข ้อมูลถูกจํากัดขนาด จึงต ้องแบ่งบล็อกข ้อมูลออกเป็ นแพ็ กเก็จ เท่ากัน (Packet) ทังนีเพือให ้มีขนาดเล็กลง และให ้สถานี สวิตช์สามารถ • แบบเมสเซจสวิทช์(Message-Switching Network) ข ้อมูลแต่ เก็บกักข ้อมูลไว ้ในหน่วยความจํา (Buffer) ชัวคราวได ้โดยไม่ต ้อง ละชุดมีความยาวไม่เท่ากัน ซึงอาจมีความยาวหลายพันไบต์ก็ได ้ ใช ้ดิสก์สํารอง • แพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching Network) แบ่งข ้อมูล ออกเป็ นส่วนเล็ก ๆ ทีมีขนาดเท่ากันทังหมด เรียกว่า แพ็ กเกต (Packet) • ขนาดของแพ็ กเกต (Packet) ในระบบต่างชนิดกันอาจยาวไม่ เท่ากันก็ได ้ขนาดทีนิยมใช ้โดยทัวไปคือ 128, 256, 512 และ 1,024 บิต • แพ็ กเกตในระบบเดียวกันจะต ้องมีขนาดเท่ากันเสมอ ความ แตกต่างนีช่วยให ้ระบบแพ็ กเกตสวิทช์(Packet-Switching Network) มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงกว่า แสดงข่าวสารถูกแบ่งออกเป็ นหลายส่วนบนระบบเครือข่ายแบบแพ็กเกตสวิทช์ • ในปั จจุบันระบบเครือข่ายแบบสวิทชิงจึงนิยมใช ้การส่งข ้อมูล แบบนี • การส่งข ้อมูลโดยวิธนมีเทคนิคพิเศษอย่างหนึงเรียกว่า ี ี Pipelining ซึงจะรับประกันการจัดส่งแพ็ กเกต (Packet) ไปยัง เป้ าหมายให ้ในทันทีทสายสือสารว่าง ี แสดงเทคนิค Pipelining 7
  • 8. 21-Aug-12 เทคโนโลยีของ Packet Switching ประโยชน์ของ Packet Switching • รับส่งข ้อมูลได ้ด ้วยความเร็วสูง และใช ้เวลาในการส่งน ้อยเหมาะ • Time Domain Multiplexing ระบบ TDM เป็ นการมัลติเพล็กซ์ท ี สําหรับการเชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย LAN แต่ละช่องสัญญาณมีแบนด์วดธ์แบบคงที (Fixed Bandwidth) ิ หลายๆ เครือข่ายเข ้าดวยกันเช่น WAN ้ ซีงจะใช ้ งานไดดีมากสําหรับการรับส่งทีต ้องการอัตราบิตที ้ ต่อเนือง (Continous Bit Rate : CBR) เช่น traditional voice • มีความผิดพลาดในการรับส่งข ้อมูลน ้อยมากๆ and video แต่ถ ้าจะใช ้งานกับข ้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ที • สามารถลดคอมพิวเตอร์ให ้มีขนาดเล็กลง และสามารถกระจาย มีทราฟฟิ กเป็ นแบบ bursty traffic (ทราฟฟิ กทีมีขนาดไม่คงที ศูนย์กลาง ประมวลผลได ้ คืออาจจะมีการเปลียนแปลงขนาดอย่างฉับพลัน) • สามารถรองรับการเชือมต่อกับเครือข่ายทีองค์กรใช ้งาน เช่น ICP/IP • ควบคุมค่าใช ้จ่ายได ้คงทีแน่นอน • รับประกันความรวดเร็วในการส่งข ้อมูล (Committed Information Rate – CIR) แบบเซลล์สวิทช์ (Cell Switching) ระบบเครือข่ายแบบเซลล์สวิทช์ มีหลักการทํางานคล ้ายกันกับแบบแพ็กเกต สวิทช์ แต่แบ่งข ้อมูลออกเป็ นชุดๆ ในรู ปแพ็กเกตทีมีความยาวเท่ากัน คือ 57 ไบท์ ้ ประกอบด ้วย ข ้อมูลจริง 53 ไบท์ และข ้อมูลควบคุม 4ไบท์ และนํามาใชกับระบบเครือข่าย ใหม่ทชือว่า Asynchronous Transfer Mode : (ATM) เพือช่วยเพิมประสิทธิภาพในการ ี สือสารมากขึน วันเพ็ญ Asynchronous Transfer Mode (ATM) การออกแบบใหเซลข ้อมูลมีขนาดสันก็เพือความเหมาะสมทีจะประยุกต์ใชงาน ้ ้ ้ ต่าง ๆ ได ้อย่างกว ้างขวางขึนคือ ใชรั บส่งข ้อมูล เสียง ภาพหรือข ้อมูลต่าง ๆ ทีต ้องการ ้ ATM เป็ นระบบสือสารข ้อมูล ทีใชรู ปแบบการสือสารเป็ นแบบ แพ็กเก็จ เหมือน ส่งผ่านกันและกันด ้วยความเร็วสูง เช่นในเครือข่าย X.25 (เป็ นเครือข่ายสาธารณะ สําหรับการส่ งข ้อมูลดิจตอลทางไกล) ิ หรือระบบ LANอืน ๆ เช่น อีเทอร์เน็ตโทเกินริง แต่การสือสารเป็ นแบบอะซิงโครนัส ้ การรับส่งสัญญาณ ATM จึงใชช่องสือสารทีมีความเร็วต่าง ๆ ได ้ซึงผิดกับ LAN ้ ิ กล่าวคือ ตัวรับและตัวส่งใชสัญญาณนาฬกาแยกจากกันไม่เ กียวข ้องกัน ้ ้ เช่นอีเทอร์เน็ต ใชความเร็ว 10 Mbps แต่ ATM ใชกับ ความเร็วได ้ตังแต่ 64 Kbps, 45Mbps, 155 Mbps, 622 Mbps หรือ สูงกว่าก็ได ้ สิงที ATM แตกต่างจากระบบ แพ็กเก็จสวิตชิงอืน ๆ คือ ATM ส่งข ้อมูลด ้วย ขนาดของแพ็กเก็จทีทุกแพ็กเก็จมีจํานวนข ้อมูลเท่ากันเสมอ แพ็กเก็จของ ATM มีขนาด 53 ไบต์ โดยให ้ 5 ไบต์แรกเป็ นส่วนหัว ทีจะบอกรายละเอียดของแอดเดรสและมี ส่วนข ้อมูลข่าวสารอีก 48ไบต์ตามมา เราเรียกแพ็กเก็จของ ATM ว่า " เซล " 8
  • 9. 21-Aug-12 รูปที 1 เปรียบเทียบเครือข่าย ATM ก ับระบบอีเทอร์เน็ ต เครือข่าย ATM เป็ นเครือข่ายทีประยุกต์ได ้หลายรูปแบบ ทังแบบ LAN หรือ WAN ใชกับ ตัวกลางได ้ทังแบบลวดทองแดงหรือเส ้นใยแสง แต่โ ครงสร ้างการเชือมโยง ้ ข ้อมูลระหว่างโหนดเป็ นแบบสวิตซ์ทเรียกว่า ATM Switch การส่งผ่านข ้อมูลแต่ละเซลจึง ี ขึนกับแอดเดรสทีกําหนด รูปที 2 เครือข่าย ATM แบบ WAN จากโครงสร ้างการผ่านข ้อมูลแบบสวิตซ์ด ้วยเซลข ้อมูลขนาดเล็กของ ATM จึง ทําใหเหมาะกั บเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ WAN ด ้วย โดยเฉพาะอย่า งยิงกั บงานที ้ ้ ้ ต ้องการใชความเร็วข ้อมูลสูง เครือข่าย WAN ก็เป็ นอีกรูปแบบหนึงทีสามารถใชเทคนิค ของ ATM ได ้เช่นกันรูป นางสาววันเพ็ญ อํารุงพนาลัย 52122352 สท 52 ศ4.1 เมสิยา 9
  • 10. 21-Aug-12 ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว (Broadcast Network) ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว • จัดการในการส่งข ้อมูลเป็ นลักษณะเดียวกันกับการส่ง (Broadcast Network) สัญญาณคลืนวิทยุและคลืนโทรทัศน์ • ใช ้คลืนสัญญาณเป็ นพาหะในการส่งข ้อมูลออกทางอากาศ แทนทีจะส่งออกทางสายสัญญาณ เรียกว่า ระบบเครือข่าย สัญญาณวิทยุ (Packet Radio Network) หรือ สือประเภทไร ้สาย (Wireless) ระบบเครือข่ายแบบกระจายข่าว เครือข่าย Broadcast แบ่งออกเป็ น 2 จําพวก (Broadcast Network) 1. เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) - อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายสัญญาณวิทยุจําเป็ นต ้องใช ้โมเด็ม เป็ นเครือข่ายการสือสารข ้อมูลสาธารณะแบบง่ายและสะดวกทีสุด ชนิดพิเศษสําหรับการรับส่งข ้อมูลผ่านสัญญาณวิทยุ การรับส่งข่าวสารข ้อมูลจะผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะของ • โพรโทคอลทีใช ้ก็เป็ นการนํ า องค์การโทรศั พท์แห่ง ประเทศไทย (หรื อเครือข่า ยการโทรศั พ ท์ โพรโทคอล X.25 มาดัดแปลงเป็ น AX.25 ทําให ้สามารถส่ง สาธารณะในท ้องถินนั นๆ) โดยจะให ้บริการในท ้องถินทางไกล ข ้อมูลได ้ทีความเร็ว ตังแต่ 1,200 bps ไปจนถึง 19,200 bps เครือข่าย Broadcast ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุ มีอยู ่ 2 แบบคือ แบบรวมศูนย์ และแบบกระจาย 2. เครือข่ายส่วนบุคคล (Private Network) 1. ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุแบบรวมศูนย์ (Centralized Packet เป็ นระบบเครือข่ายทีจัดตังขึนไว ้สําหรับหน่วยงานหรือองค์กรทีเป็ นเจ ้าของ Radio Network) และมีการใช ้ทรัพยากรร่วมกัน ซึงทรัพยากรและการสือสารต่างๆ ทีมีอยูใน ่ เครือข่ายจะมีไว ้เฉพาะบุคคลใน องค์กรเท่านั นทีมีส ิทธิเข ้ามาใช ้ • มีอปกรณ์การรับและส่งสัญญาณว ิทยุอยูทเครืองคอมพิวเตอร์ทศูนย์กลาง ุ ่ ี ี • โหนดทังหมดในระบบจะติดต่อกับศูนย์กลางเท่านั น อุปกรณ์รับ-ส่ง ่ สัญญาณจะต ้องมีชองสัญญาณ 2ช่อง คือ สําหรับการส่งข ้อมูล 1ช่อง และ สําหรับการรับข ้อมูลอีก 1 ช่อง • การทํางานของระบบนีจึงคล ้ายกับการทํางานในระบบสายสัญญาณแบบ เชือมต่อหลายจุด (Multipoint Line) ซึงมีสถานีหลักเพียงสถานีเดียวและ มีสถานีรองหลายแห่ง 10
  • 11. 21-Aug-12 ระบบเครือข่ายส ัญญาณวิทยุ ต ัวอย่าง 2. ระบบเครือข่ายสัญญาณวิทยุแบบกระจาย (Decentralized Packet Radio การสือสารระบบนี ได ้แก่ เครือข่ายว ิทยุสมัครเล่น Network) • ใช ้ช่องสัญญาณว ิทยุเพียงช่องเดียวสําหรับการส่งและการรับข ้อมูล • การทํางานในระบบนีคล ้ายกับการทํางานในระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ ทัวไป • โพรโทคอล AX.25 ซึงอยูในชันสือสารเชือมต่อข ้อมูล(data link network) ่ ได ้รับการพัฒนาขึนมาสําหรับระบบเครือข่ายชนิดนี 6.3 การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูล มณฑิรา เส้นทางเดินข้อมูล (Path or Route) บนระบ เครือข่ายถูกกําหนดขึนมาโดยประเภทของระบบ เครือข่ายและซอฟต์แวร์ทนํ ามาใช ้ควบคุม ี ส่วนใหญ่แล ้วข ้อมูลเส ้นทางจะถูกเก็บไว ้ใน ตารางเส้นทาง (Routing Table) ซึงจะบันทึก ข ้อมูลเกียวกับทีอยูของโหนดและเส ้นทางทีจะไปยัง ่ ต ้องมีโปรแกรมทีทําหน ้าทีในการค้นหาเส้นทางเดิน โหนดนัน ๆ ข้อมูล (Routing) โดยเฉพาะ การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูลเกิดขึนได ้ 2 ลักษณะ Routing Table เป็ นตารางข ้อมูลของเส ้นทางการ คือ ส่งผ่านข ้อมูลเพือใช ้พิจารณาการส่งผ่านข ้อมูลซึงในการ 1.การค ้นหาโหนดศูนย์กลาง ได ้มาของ Routing table มีอยูด ้วยกัน 2 วิธ ี คือ Static ่ Route และDynamic Route 2.การค ้นหาทีตัวโหนดเอง 11
  • 12. 21-Aug-12 เช่น เส ้นทางเลือกในกรณีทเส ้นทางหลักใช ้ไม่ได ้ ี การค้นหาเส้นทางจากโหนดศูนย์กลาง และความเร็วในการส่งข ้อมูลของเส ้นทางนันเชือมต่อ (Centralized Routing) ระหว่างโหนดต่างๆ จะกําหนดให ้โหนด ซึงทําหน ้าทีในการเลือก เส ้นทางเดินข ้อมูลให ้กับโหนดอืนในระบบเครือข่าย โหนดนีจะทําหน ้าทีเป็ นผู ้จัดการบริหารเครือข่าย การค ้นหาเส ้นทาง ซึงจะต ้องเก็บตารางเส ้นทางเดิน ข ้อมูลและจัดการปรับปรุงข ้อมูลข่าวสารทังหมดที เกิดขึนตลอดเวลา แสดงการค้ นหาเส้ นทางบนระบบเครือข่ าย ข้อด้อยทีสําค ัญของการทํางานแบบศูนย์กลางคือ ถ ้าตําแหน่ง (สถานทีทีตังทีใช ้งานจริง) ของโหนด โหนดอืนทีเหลือจะต ้องรายงานข่าวเกียวกับ ศูนย์กลางไม่อยูตรงกลางระบบแล ้ว ข ้อมูลเกียวกับ ่ สถานะการทํางานของตนเอง เช่น ปริมาณข ้อมูลที เส ้นทางและสถานะการทํางานของโหนดทีอยูอกฟาก ่ ี รับเข ้ามา ปริมาณข ้อมูลทีส่งออกไปและกระบวนการ ต่าง ๆ ทีเกิดขึนให ้แก่โหนดศูนย์กลางเป็ นระยะ หนึงจะต ้องใช ้เวลาพอสมควรกว่าทีจะเดินทางมาถึง โหนดศูนย์กลาง ระยะเวลาทีช ้าเกินไปนีอาจทําให ้ข ้อมูลในตาราง ดังนัน… เส ้นทางไม่สอดคล ้องกับความเป็ นจริงทีเกิดขึนอยูใน ่ โหนดศูนย์กลางจึงเป็ นทีรวบรวมข ้อมูลสถานะการ ขณะนัน ทํางานทังหมดทีเกิดขึนบนระบบเครือข่าย จึงทราบว่า ส่วนใดในระบบเครือข่ายทีมีการใช ้งานมากหรือน ้อย และอีกปัญหา คือ ถ ้าโหนดศูนย์กลางเกิดหยุด เพียงใด ทํางาน โหนดอืนในระบบจะไม่สามารถค ้นหาเส ้นทางได ้ พิชามญชุ์ 12
  • 13. 21-Aug-12 ้ การค้นหาเสนทางทีต ัวโหนดเอง (Distributed Routing) กําหนดให ้แต่ละโหนดจัดการเก็บ ตารางเส ้นทางไว ้ โดยแต่ละโหนดมี ้ การค้นหาเสนทางทีต ัวโหนดเอง หน ้าทีส่งข ้อมูลสถานะการทํางาน (เช่น เดีย วกับแบบศูน ย์กลาง) ไปยั ง โหนด ข ้างเคีย งของตนเองทุ กโหนด ข อมู ล ในตารางเส ้นทางจึง เป็ นเพีย งข ้อมู ล ้ สถานะการทํางานย่อย และเนืองจากจํานวนโหนดข ้างเคียงจะมีอยูไม่มากนักทํา่ (Distributed Routing) ให ้แต่ละโหนดสามารถปรับปรุง ข ้อมู ล ให ้มี ค วามทั น สมั ย อยู่ต ลอดเวลา การที โหนดหนึงหยุดทํา งานก็จะไม่มีผลต่อการค ้นหาเส ้นทางของโหนดอืน ในระบบนี แม ้ว่าจะมีปริมาณข ้อมูลเพิมขึน (เพือแจ ้งสถานะการทํางาน) แต่ประสิทธิภาพที สูงขึน ก็ถอการเลือกเส ้นทางของ Interior Routing Protocol นั นจะมีการเลือก ื เส ้นทางอยูสองกรณีด ้วยกัน ซึงล ้วนแล ้วแต่มี ค วามสํ า คั ญ ต่อการทํ า งานต่า งๆ ่ แทบทังสิน นางสาวพิช ามญชุ ์ แซ่ เติน รห ัส 52122347 ประเภทของ Distributed Routing ข้อดีและข้อเสีย ของ Static Routing Protocol Static Routing Protocol ข้อดีของการทํา Static routing - การเลือกเส ้นทางแบบ Static เป็ นวิธการเลือกเส ้นทางทีราบเรียบและง่ายต่อความ ี 1. มีความปลอดภัยในข ้อมูลสงกว่า เนืองจากเป็ นการระบุเส ้นทางแบบตายตัว ่ ู เข ้าใจ รวมทังยังสามารถจัดตังค่าการทํางานบน router ได ้โดยง่าย โดยเฉพาะกับ ทําให ้ router ไม่ต ้องไปหาเส ้นทางอืน ที อาจจะก่อให ้เก ิดความเสียงต่าง ๆ ได ้ เครือข่ายทีมีขนาดเล็ก ซึงทําให ้การทํางานบนเครือข่ายโดยรวมมีประสิทธิภาพสูง 2. router ไม่ต ้องใช ้ประสิทธิภาพการทํางานของ CPU ทีสูงมากนั ก เพราะไม่ มากกว่าการใช ้ Dynamic routing protocol ต ้องตัดสินใจเลือกเส ้นทางของ packet 3. ทําให ้ประสิทธิภาพของ network โดยรวมดีมาก เพราะ router แต่ละตัว ่ - Routing Protocol ประเภทนีจะมันจะทําการหาเส ้นทางตามทีเรากําหนดและไม่มี ไม่ตอ ้งประมวลผลการเลือกหาเส ้นทาง การเรียนรู ้เส ้นทาง ทีเป็ นแบบออโตเมติคนั ก ซึงจะเป็ นผลเสียต่อระบบมาก ข้อเสีย ของ Static routing 1. เมือมีการเพิม router เข ้าไป จะต ้องมา config ทุก ๆ router ใหม่ ทําให ้ เก ิดความล่าช ้า หรือ เสียเวลามาก 2. จะต ้องมีความเข ้าใจระบบเครือข่ายโดนรวม และเข ้าใจถึงการเชือมต่อของ router ทุกตัวบนทุก ๆ interface ประเภทของ Distributed Routing Dynamic Routing Protocol ข้อดีและข้อเสีย ของ Dynamic routing - Routing Protocol ประเภทนีจะมันจะทําการหาเส ้นทางตามทีเรากําหนด และช่วยจัดการอํานวยความสะดวกเกียวกับการสร ้าง Routing Table โดยมั นมีหน ้าที ข้อดีของการทํา Dynamic routing หลักอยู่ 2 อย่างด ้วยกันคือ หาเส ้นทางทีดีทสุดในการส่งข ้อมูลไปยังปลายทาง และ ี 1. เหมาะกับ Network ขนาดใหญ่ๆ กระจาย Routing Information ไปยังเครืองอืนๆ ในเครือข่าย 2.ไม่ต ้องมีความเข ้าใจของระบบ Network ทังหมด - การเลือกเส ้นทางแบบ Dynamic ค ้นหา remote network, จัดการ up-to- 3. ไม่ต ้องมา Config ใหม่เมือมีการเพิม อุปกรณ์เข ้าไปใน Network date ข ้อมูลของเส ้นทาง, เลือกเส ้นทางทีดีทสุดทีไปยัง destination network, ี สามารถหาเส ้นทางใหม่แทนทีเส ้นทางทีใช ้ไม่ได ้แล ้วDynamic Routing Protocol ข้อเสีย ของ Dynamic routing Operation 1.เปลือง CPU ของอุปกรณ์ ซึงอาจทําให ้ประสิทธิภาพของ network 1. Router รับและส่งข ้อมูลของเส ้นทางผ่าน interface ของมั น โดยรวมไม่ดนัก ี 2. Router มีการ share ข ้อมูลของเส ้นทางและmessage กับrouter อืน ทีใช ้ 2. อาจโดนดักอ่านข ้อมูลได ้ routing protocol เดียวกัน 3. Router แลกเปลียน ข ้อมูลของเส ้นทางในการเรียนรู ้เกียวกับ remote networks 4. เมือ router รับรู ้ว่ามีการเปลียนแปลง topology แล ้ว routing protocol สามารถ ทีจะกระจายข่าวไปยัง router อืนได ้ 13
  • 14. 21-Aug-12 ้ วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล ี • เส ้นทางเดินข ้อมูลจากโหนดหนึงไปยังอีกโหนดหนึง อาจเปน ็ ้ เสนทางเด ิมเสมอ หรืออาจเปลยนแปลง ยนแปลงไปตามสถานะของ ี ระบบเครือข่ายในขณะทีส่งข ้อมูล • ถ ้าใช้เส้นทางเดิมทุกครังทีส่งข ้อมูลไปยังโหนดเดิม แสดงว่า ใช้ เปรมฤทัย ระบบเครือข่ายใช้วธการค้นหาเส้นทางแบบสถิตย์ (Static ิ ี Routing) • อย่างไรก็ตามถ ้าส่วนหนึงของเส ้นทางทีกําหนดไวใน ตารางไม่ ้ สามารถใช ้การได ้ ก็จะทําให ้ไม่สามารถส่งข ้อมูลได ้ ี ้ วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ) ้ วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ) ี ี ้ วิธการค ้นหาเสนทาง (Route) ทีข ้อมูลเดินทางจากผู ้ส่ง ้ วิธการค ้นหาเสนทางเดินข ้อมูล แบ่งออกเป็ นสองวิธคอ ี ี ื ข ้อมูลไปยังผู ้รับข ้อมูลเป็ นหน ้าทีหลักของโปรแกรมในชันสือสาร - การค ้นหาเส ้นทางแบบสถิต (Static Routing) นี เส ้นทางดังกล่าว มีความหมายเหมือนกับการคนหาเสนทาง้ ้ - การค ้นหาเส ้นทางแบบพลวัต (Adaptive or Dynamic จากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง เช่น จากกรุงเทพฯ ไปยังหนองคาย Routing) ซึงอาจหมายถึงการใช ้ถนนเพียงเส ้นเดียวก็สามารถ ไปถึง จุดหมายได ้ หรืออาจต ้องใช ้ถนนหลายเสนกว่าทีจะไปถึง ้ จุดหมายได ้ ปั ญหาทีอาจเกิดขึนได ้นันมากมาย เช่น ถนนเดิมที เคยใช ้เดินทางอาจถูกนํ าท่วมหรือเกิดอุบัตเหตุทําให ้ไม่สามารถ ิ ใช ้เส ้นทางนีได ้ ก็จําเป็ นจะต ้องหาเส ้นทางอืนทีสามารถเดินทาง ไปยังจุดหมายได ้เหมือนเดิม ้ วิธการค้นหาเสนทางเดินข้อมูล (ต่อ) ี ้ การค้นหาเสนทางแบบสถิต (Static Routing) ้ จะทําการค ้นหาเสนทางส่งข ้อมูลไปยัง เป้ าหมายและบันทึกไว ้ เป็ นการถาวร การส่งข ้อมูลไปยังเป้ าหมายเดิมก็จะใช ้ข ้อมูลนี เหมือนกันทุกครัง แต่ถ ้าเส ้นทางทีเคยใช ้ถูกปิ ดกันก็จะไม่ สามารถส่งข ้อมูลไปยังเป้ าหมายได ้เลย วิธนทําให ้การคนหา ี ี ้ เส ้นทางง่ายไม่ซบซ ้อน แต่ก็ไม่มความคล่องตัว คือจะทํางาน ั ี นัทธีวรรณ เหมือนรถโดยสารประจําทางทีจะต ้องใช ้ เส ้นทางเดิมเสมอ แม ้ว่าการจราจรในเส ้นทางนันจะหนาแน่นหรือติดขัดมากก็ตาม หนทางแก ้ปั ญหาทางหนึงคือ การจัดทําตารางเส ้นทางข ้อมูล เรียกว่า Dynamic Routing Table ทีมีการตรวจสอบสภาพความ เป็ นจริงทีเกิดขึนในขณะนันอยู่เสมอ 14
  • 15. 21-Aug-12 ี ้ ้ วิธการคนหาเสนทางเดินแบบพลวัต • วิธค ้นหาเส ้นทางแบบพลวัต (Adaptive or ี การค ้นหาเส ้นทางเดินข ้อมูลบน Dynamic Routing) หมายถึง การส่งข ้อมูลทีไม่ ระบบเครือข่าย จําเป็ นต ้องส่งไปยังเส ้นทางเดิมเสมอ หรือ มี เส ้นทางเผือเลือกในการส่งข ้อมูล ในปั จจุ บั น ระบบเครือ ข่ า ยเกือ บทั งหมด เ ลื อ ก ใ ช ้ว ิ ธ ี ค ้น ห า เ ส ้น ท า ง แ บ บ พ ล ว ั ต (Adaptive or Dynamic Routing) ซึงจะเลือก เลื • วิธนีจะค ้นหาเส ้นทางไปยั งเป้ าหมายทุกครั งที ี ้ เส น ทางเมือมีผู ้ต อ งการส่ง ข้อ มู ล เกิด ขึน ้ ต ้องการส่งข ้อมูล ดังนั นจึง ไม่ ม ีปัญหาใด ๆ ถ ้า ก่อ นเท่ า น น จึง สามารถกํ า หนดเงือนไขที ั เส ้นทางทีเคยใช ้ถูกปิ ดกันระบบทีใช ้วิธการนีจะ ี ต ้องการให ้สอดคล ้องกับผู ้ใช ้ในขณะนันได ้ ้ ทํ า ก า ร ค น ห า เ ส น ท า ง อื น ท ด แท น ใ น ทั น ที ้ ้ อย่ า งไร ก็ ต า ม วิธ ี ก า ร นี ซั บ ซ อ นม า กจ ะต อ ง ้ เช่น ต ้องการใช ้เส ้นทางทีสันทีสุด เสีย เสียเวลาในการค ้นหาข ้อมูลทุกครังทีจะส่งข ้อมูล ค่าใช ้จ่ายน ้อยทีสุด หรือเส ้นทางทีเร็วทีสุด การค ้นหาการทางเดิน ข ้อมูลอาจเปรียบเหมือน ข้อดี วิธีการพลวัต คือ นําข้อมูลทีเกิดขึนในขณะนันมาใช้ซึงเป็ น ข้ ลักษณะของระบบเครื อข่ายทัวไป คือมีการเปลียนแปลงเกิดขึน การใช ้ถนน ตลอดเวลา  ดังนันจึงสามารถหลีกเลียงเส้ นทางทีใช้ การไม่ ได้ และสามารถค้นหา เส้ นทางทีดีทสุดได้ เสมอ ี  ข้ อเสีย คือ จะต้ องเสียเวลาในการค้ นหาเส้ นทางก่ อนการส่ งข้อมูลทุก ครังแม้ ว่าจะส่ งข้อมูลไปยังโหนดเดิม งแม้ 15
  • 16. 21-Aug-12 จบการนําเสนอ นวพร • การค ้นหาเส ้นทางการกระจายข่าว (Broadcast Routing) ใช ้วิธส่งข่าวไปยังโหนดทุกโหนดในระบบ ส่ ี เครือข่าย • ตัวอย่างเช่น โพรโทคอล CSMA/CD ทีใช ้ในระบบ เครือข่ายเฉพาะบริเวณ ้ การค้นหาเสนทางการกระจายข่าว • ข ้อมูลจะถูกส่งออกไปในสายสือสารทีเชือมต่อโหนด (Broadcast Routing) ทังหมดเข ้าด ้วยกัน ดังนันทุกโหนดจึงได ้รับข ้อมูลชุดนี เหมือนกัน แต่จะมีโหนดทีเป็ นผู ้รับทีแท ้จริงเท่านันทีจะ นํ าข ้อมูลนีไปใช ้ • วิธการส่งข่าวแบบกระจายอีกแบบหนึงเรียกว่า วิธฟ ี ี ลัดดิง (Flooding) ข ้อมูลจะถูกส่งไปยังโหนดข ้างเคียง ทุกโหนดพร ้อมกัน นนธิยา แสดงการส่ งข้ อมูลกระจายข่ าวแบบฟลัดดิง 16
  • 17. 21-Aug-12 ระบบเครือข่ายสาธารณะ เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) • เครือข่ายสาธารณะ (PDNs) หรือทีบางครัง เรียกว่า เครือข่ายมูลค่าเพิม (Value Assed) เป็ นระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN) ซึงองค์กร ทีได ้รับสัมปทานทําการจัดตังขึน เพือให ้บุคคล ทัวไปหรือองค์กรอืน ๆ ทีไม่ต ้องการวาง เครือข่ายเองสามารถแบ่งกันเช่าใช ้งานได ้ โดย การจัดตังอาจทําการวางโครงข่ายช่องทางการ สือสารเอง หรือเช่าใช ้ช่องทางการสือสาร สาธารณะก็ได ้ • ระบบเครือข่ายสาธารณะ จะนิยมใช ้ในการ • ระบบเครือข่ายสาธารณะ เป็ นระบบทีอยู่ในความ เชือมต่อระบบเครือข่ายแบบ WAN กันมาก ดูแลของผู ้ให ้บริการสาธารณะ (Common เนืองจากมีคาใช ้จ่ายตํากว่าการจัดตังเครือข่าย ่ Carrier ) และประชาชนทัวไปสามารถเข ้าใช ้ ส่วนตัว สามารถใช ้งานได ้ทันทีโดยไม่ต ้อง บริการได ้ เช่น ระบบเครือข่ายโทรศัพท์มองค์กรี เสียเวลาในการจัดตังเครือข่ายใหม่ รวมทังมี การโทรศัพท์เป็ นผู ้ดูแล หรือผู ้ให ้บริการไอเอสพี บริการให ้เลือกอย่างหลาย ๆ ซึงแตกต่างกันไป (Internet Service Provider ; ISP) ทังในส่วนของราคา ความเร็ว ขอบเขตพืนที บริการ และความเหมาะสมกับงานแบบต่าง ๆ ระบบเครือข่ายสาธารณะ • เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) 1. ข้อดี คือมีขอบเขตทีกว ้างขวาง ซึงสร ้างระบบ เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (Public Switched เครือข่ายส่วนตัวอาจไม่สามารถทําได ้ หรือต ้อง Telephone Network , PSTN) เป็ นเครือข่าย ใช ้เงินลงทุนสูงมาก เช่น การวางเครือข่าย การสือสารข ้อมูลสาธารณะแบบง่ายและสะดวก สือสารไปยังต่างประเทศสามารถใช ้บริการสาย ทีสุดการรับส่งข่าวสารข ้อมูลจะผ่านทาง เครือข่ายโทรศัพท์ สาธารณะของ สือสารเช่าจากองค์กรโทรศัพท์ได ้ในราคาทีถูก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (หรือ กว่าการวางสายสือสารเอง นอกจากนีระบบ เครือข่ายการโทรศัพท์สาธารณะในท ้องถิน เครือข่ายสาธารณะยังใช ้สายสือสารได ้คุ ้มค่า นันๆ) โดยจะให ้บริการใน มากกว่าสายสือสารส่วนบุคคลมาก ท ้องถินทางไกล 17