SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
บทนําการสื อสารข้ อมูลและเครือข่ าย
                                                                                                     (Introduction to Data Communications and Networks)
                                               บทที 1
                                                                                                        -นิยามการสือสารข้ อมูล (Data Communications)
                                                                                                        -องค์ประกอบของการสือสารข้ อมูล (Components)
                บทนําการสื อสารข้ อมูล                                                                  -รู ปแบบข้ อมู ล (Data Representation)
              และเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์                                                                 -ทิศทางการไหลของข้ อมู ล (Data Flow)
                                                                                                        -เครื อข่าย (Networks)
      (Introduction to Data Communications and
                  Computer Networks)


                       BC3033 การสื อสารข้ อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย อาจารย์ บญชัช ธนวรรณธร
                                                                                     ุ




 นิยามการสื อสารข้ อมูล (DATA COMMUNICATIONS)                                                        รูปที 1.1 องค์ประกอบของการสือสารข้ อมูล (Five components of data communication)


Telecommunication หมายถึงการสื อสารระยะไกล
Data หมายถึงสารสนเทศซึ งอยู่ในรู ปแบบที ตกลงกันระหว่างผู้สร้างและผู้รบข้อมู ล
                                                                     ั
การสื อสารข้อมูล (Data Communications) เป็ นการแลกเปลี ยนข้อมูลระหว่างสอง
อุปกรณ์ ผ่านทางตั วกลางหรื อสื อ เช่ น สายเคเบิ ล เป็ นต้ น
รู ปแบบข้ อมูล (Data Representation)                                                                  รูปที 1.1.1 แบบจําลองการสือสารอย่างง่าย

ข้อมูลในปั จจุบั นมีหลายรู ปแบบ เช่น ข้อความ ตั วเลข รู ปภาพ เสียง และวิ ดีโอ
ข้อความ (Text) รู ปแบบการเรี ยงกั นของบิ ต (0 หรื อ 1) แตกต่างกั นทําให้ได้ต ั วอั กขระแตกต่าง
กั น กลุ่ มของตั วอั กขระเรี ยกว่า รหั ส (code) ในปั จจุบั นนิ ยมใช้รหั ส Unicode มี ขนาด 32 บิ ต
โดยมี 127 อั กขระแรกเป็ นรหั ส ASCII
ตั วเลข (Numbers) ประกอบด้วยชุดของบิ ตเรี ยงกันเพื อใช้แทนตั วเลขในรหัสต่างๆ
รู ปภาพ (Images) ประกอบด้วย matrix ของ pixel ความละเอียดของภาพขึนอยู่กับจํ านวน
pixel แต่ละ pixel จะมี รูปแบบของบิ ตแตกต่างกั น สําหรับภาพขาวดําจะใช้ 1 บิ ตแทนระดั บสี
ขาวและสีดํา (0 = black pixel, 1 = white pixel), ภาพสีเทา (gray scale) ใช้ 2 บิ ตแทนระดั บ
ของสี 4 ระดั บ (00 = black pixel, 01 = dark gray pixel, 10 = light gray pixel, 11 = white
pixel) ส่วนภาพสีจะใช้วิธีผสมสีแบบ RGB หรื อ YCM เพื อให้เกิ ดความเข้มของสีต่างๆกัน แล้ว
กําหนดรู ปแบบของบิ ตให้กั บแต่ละ pixel
เสียง (Audio) เป็ นข้อมูลที เป็ นเสียงเพลงหรื อเสียงดนตรี ลั กษณะข้อมูลเป็ นแบบต่อเนื อง
วิ ดีโอ (Video) เป็ นข้อมูลที มีล ั กษณะเป็ นภาพหรื อภาพยนตร์ สามารถสร้างได้จากกล้องถ่าย
วิ ดีโอหรื อภาพนิ งเรี ยงต่อเนื องกันเพื อให้เกิ ดเป็ นภาพเคลื อนไหว



รูปที 1.1.2 แบบจําลองการสือสารอย่างง่าย                                                              งานของการสื อสาร (COMMUNICATIONS TASKS)
                                                                                                    การใช้ ระบบส่งข้ อมูล                          การกําหนดหมายเลขทีอยู่ในการรับส่งข้ อมูล
                                                                                                    (Transmission system utilization)              (Addressing)
                                                                                                    การเชือมประสาน (Interfacing)                   การค้ นหาเส้ นทางในการส่งข้ อมูล (Routing)
                                                                                                    การสร้ างสัญญาณ (Signal generation)            การกู้ ข้ อมูล(Recovery)


                                                                                                    ประสานจังหวะการรับส่งสัญญาณ                    จัดการรูปแบบข้ อมูล (Message formatting)
                                                                                                    (Synchronization)
                                                                                                    จัดการแลกเปลียนข้ อมูล (Exchange management) การรักษาความปลอดภัยในการส่งข้ อมูล (Security)

                                                                                                    ควบคุ มและแก้ ไขความผิดพลาด                    การจัดการเครื อข่าย (Network management)
                                                                                                    (Error detection and correction)
                                                                                                    ควบคุมการไหลของข้ อมูล (Flow control)
รูปที 1.2 ทิศทางการไหลของข้ อมู ล (Data flow)                                            เครื อข่ าย (NETWORKS)
                                                                                         เครื อข่าย (Networks) เป็ นกลุ่ มของอุ ปกรณ์ (โหนด: nodes) เชือมต่อกันโดย
                                                                                         สายสั ญญาณสือสาร (communication links)
                                                                                         โหนด สามารถเป็ นได้ ท ั งคอมพิวเตอร์ เครื องพิมพ์ หรื ออุ ปกรณ์ ใดๆ ทีสามารถส่งและ/หรื อ
                                                                                         รับข้ อมูลทีสร้ างโดยโหนดอืนในเครื อข่ายได้

                                                                                         หัวข้ อทีเกียวข้ องกับเครื อข่าย
                                                                                         Distributed Processing
                                                                                         Network Criteria
                                                                                         Physical Structures
                                                                                         Network Models
                                                                                         Categories of Networks
                                                                                         Interconnection of Networks: Internetwork



การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing)                                            บรรทัดฐานเครื อข่ าย (Network Criteria)


                                                                                         ประกอบด้ วย
เครื อข่ายส่วนใหญ่ใช้ การประมวลผลแบบกระจาย ซึงงานถูกแบ่งให้ กับคอมพิวเตอร์ หลายเครื อง   •ประสิทธิภาพ (Performance) สามารถวัดได้ จากเวลาทีใช้ ส่งผ่าน และเวลาทีตอบสนอง
ช่วยกันทํา แทนทีจะใช้ คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่เครื องเดียวรับผิดชอบงานทุกอย่าง               (transit time and response time) ขึ นอยู่กับจํานวนผู ้ ใ,ช้ ประเภทของสือ, ความสามารถของ
                                                                                         อุปกรณ์เชือมต่อ, ประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ การประเมินผลประสิทธิภาพพิจารณาจาก
                                                                                         throughput และ delay ซึงแปรผกผันกันในเครื อข่าย
                                                                                         •ความน่าเชือถือ (Reliability) วัดได้ จากจํานวนครั งทีล้ มเหลว การกู้ คืนจากความล้ มเหลว, และ
                                                                                                                                                      ,
                                                                                         ความแข็งแรงของเครื อข่ายในสถานการณ์ทีเลวร้ าย (frequency of failure, recovery from
                                                                                         failure, network’s robustness in a catastrophe)
                                                                                         •ความปลอดภั ย (Security) เช่น การปกปองข้ อมู ลจากการเข้ าถึงโดยผู้ ไม่ได้ รับอนุ ญาต การ
                                                                                                                                     ้                                         ,
                                                                                         ปกปองข้ อมูลจากความเสียหายและการเปลียนแปลง, นโยบายการใช้ ข้อมูลและขั นตอนการกู ้ คืน
                                                                                              ้                                        ยนแปลง,
                                                                                         จากการถูกขโมยข้ อมูลและข้ อมู ลสูญหาย
โครงสร้ างทางกายภาพ (Physical Structures)              รูปที 1.3 ประเภทการเชือมต่อ (Types of connections)

•ประเภทการเชือมต่อ (Type of Connection)
    •Point-to-Point
    •Multipoint

•รูปลักษณ์การเชือมต่อ (Physical Topology)
     •Mesh
     •Star
     •Bus
     •Ring




รูปที 1.4 ประเภทของโทโพโลยี (Categories of topology)   รูปที 1.5 การเชือมต่อแบบสมบูรณ์ (Mesh topology)
รูปที 1.6 การเชือมต่อแบบดาว (A star topology)       รูปที 1.7 การเชือมต่อแบบบัส (A bus topology)




                                                    รูปที 1.9 การเชือมต่อแบบผสม
รูปที 1. 8 การเชือมต่อแบบวงแหวน (A ring topology)   (A hybrid topology: a star backbone with three bus networks)
แบบจําลองเครื อข่ าย (Network Models)                                                       ประเภทของเครื อข่ าย (Categories of Networks)

                                                                                            ประเภทเครื อข่ายโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
มาตรฐานเป็ นสิงจําเป็ นสําหรับการเชือมต่อเครื อข่ายแตกต่างกันให้ สามารถติดต่อสือสารกันได้   •เครือข่ายแบบแลน (LAN) ครอบคลุมพื นทีไม่เกิน3 กิโลเมตร
มีแบบจําลองมาตรฐาน 2 แบบทีรู ้ จักกันดี                                                     •เครือข่ายแบบแวน (WAN) ครอบคลุมพื นทีทัวโลก
•แบบจําลองมาตรฐาน OSI (OSI Model) ประกอบด้ วย 7 เลเยอร์                                     •เครือข่ายแบบแมน (MAN) มีขนาดอยู่ระหว่างแลนและแวน
•แบบจําลองอินเตอร์ เน็ต (Internet Model) ประกอบด้ วย 5 เลเยอร์




รูปที 1.10 เครื อข่ายแบบแลนเชือมต่อ 12 คอมพิวเตอร์ ผ่านฮับ                                  รูปที 1.11 เครื อข่ายแบบแวน
(An isolated LAN connecting 12 computers to a hub in a closet)                              (WANs: a switched WAN and a point-to-point WAN)
รูปที 1.12 เครื อข่ายแบบผสม
การเชื อมต่ อระหว่ างเครือข่ าย (Interconnection of Networks)                         (A heterogeneous network made of four WANs and two LANs)




        การเชือมต่อเครื อข่ายแลน, แมน, แวน ตั งแต่2 เครื อข่ายเข้ า
                     ด้ วยกัน เรี ยกว่า Internetwork




เครื อข่ ายอินเตอร์ เน็ต (THE INTERNET)                                              ประวัติของอินเตอร์ เน็ต (A Brief History of Internet)
                                                                                     ช่วงกลางปี ค.ศ. 1960 คอมพิ วเตอร์ เมนเฟรมในหน่วยงานวิจั ยเป็ นแบบ stand-alone คอมพิ วเตอร์ จากต่ างผู้ ผลิต
                                                                                                                                                        stand-
                                                                                     ไม่ สามารถติดต่ อกั นได้ ARPA หน่วยงานของ DoD ต้ องการหาวิธีการเชือมต่อคอมิพวเตอร์ เหล่านี เพือให้ นักวิจัย
                                                                                     สามารถแบ่งปั นข้ อมู ล ลดค่าใช้ จ่ายและลดความซํ าซ้ อนของงานวิจัย
   อินเตอร์ เน็ตได้ เข้ ามาเกียวข้ องกับชีวิตประจําวันของคนในหลายแง่มุม ทั งแนวทาง   ค.ศ. 1967 ทีประชุม AMC ได้ มีการนําเสนอแนวคิดสําหรั บ ARPANET สําหรับเชือมต่อคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย
   การดําเนิ นธุรกิจ และการใช้ เวลาว่างของคน อินเตอร์ เน็ตเป็ นระบบสือสารซึงได้      ขนาดเล็ ก โดยแต่ละโฮสทีอาจมาจากต่างผู ้ ผลิตจะเชือมต่อกันผ่านคอมพิวเตอร์ เฉพาะเรียกว่ า interface message
                                                                                                                                                                ฉพาะเรี
                                                                                     processor (IMP) และแต่ ละ IMP สามารถเชือมต่อกันได้
   นําเอาความอุดมสมบูรณ์ของสารสนเทศมาอยู่แค่ปลายนิ วสัมผัสซึงอยู่ใรู ปแบบ  นู
                                                                           ร         ค.ศ. 1969 เกิ ดเครื อข่าย ARPANET ขึ นโดยเป็ นการเชือมต่อกันของ 4 โหนดจาก UCLA, UCSB, SRI, และ
   ทีเราสามารถนํามาใช้ ได้                                                           มหาวิทยาลั ย Utah ผ่าน IMP และมีซอฟต์แวร์ ทีทําหน้ าทีติดต่อสือสารระหว่างโหนด เรี ยกว่า Network Control
                                                                                     Protocol (NCP)
                                                                                     ค.ศ. 1972 Vint Cert และ Bob Hahn เป็ นแกนหลั กของกลุ่ ม ARPANET ในการรวบรวม Internetting Project
                                                                                     บุคคลทั งสองได้ คิดค้ นโครงร่ างสําคัญในปี 1973 สําหรับโปรโตคอลทีใช้ ส่งแพ็กเก็ตแบบ end-to-end เอกสาร
                                                                                                                                                                            end- to-
                                                                                     เกียวกับ Transmission Control Protocol (TCP) ได้ รวมแนวคิดเกียวกับ encapsulation, datagram, และฟั งก์ชัน
                                                                                     ของ gateway
                                                                                     หลังจากนั นไม่นาน หน่วยงานทีรับผิดชอบตัดสินใจแยก TCP เป็ น 2 โปรโตคอล คือ Transmission Control
                                                                                     Protocol (TCP) และ Internetworking Protocol (IP) โดย IP จะจัดการเกียวกับเส้ นทางในการส่ง datagram ส่ วน
                                                                                     TCP จะรับผิดชอบเกียวกับฟั งก์ชันในระดับทีสูงขึ นไปเช่น การแยก segment (segmentation), การรวม segment
                                                                                     (reassembly), และตรวจจั บความผิ ดพลาด ในเวลาต่ อมา internetworking protocol ก็คือ TCP/IP
ผู ้ ให้ บริการเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต (ISP)…1                                               ผู ้ ให้ บริการเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต (ISP)…2

ปั จจุบ ันนี อินเตอร์ เน็ตมีควาซับซ้ อนและประกอบด้ วยแวนและแลนจํานวนมา เชือมต่อกัน
                                                                             กเชื
                                                                             ก               International Internet Service Providers เป็ น ISP ระดับบนสุดซึงทําหน้ าทีเชือมต่อ
ผ่านอุ ปกรณ์ และสวิตช์ จํานวนมาก             ในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีการเปลียนแปลงอยู่    อินเตอร์ เน็ตระหว่างประเทศ
ตลอดเวลา เช่น มีการเชือมต่อเครื อข่ายใหม่ๆ เข้ ามา เครื อข่ายทีมีอยู่เดิมก็มีการเพิม         National Internet Service Providers เป็ นโครงข่ายแกนหลั ก (backbone networks) ของ
แอดเดรสมากขึ น เครื อข่ายทีใช้ งานไม่ได้ ก็ถูกนําออกจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ผู้ ใช้ งาน   เครื อข่าย เช่น การสือสารแห่งประเทศไทย โครงข่ายแกนหลักเชือมต่อกันผ่านสวิตช์ทีมี
ส่วนใหญ่สามารถเชือมต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ โดยผ่านบริ การของ ISP ซึงมีหลาย          ความซั บซ้ อนจํานวนมาก เรี ยกว่า network access points (NAPs) การเชือมโยงระหว่าง
ระดับดังนี ISP ระดั บสากล (international service providers), ISP ระดั บประเทศ                ISP ระดั บประเทศผ่านอุ ปกรณ์ สวิตช์ ส่วนตั ว เรี ยกว่า peering points ซึงปกติทํางานที
(national service providers), ISP ระดั บภู มิภาค (regional service providers), ISP           อั ตราเร็ วสู งถึง 600 Mbps
ระดับท้ องถิน (local service providers)                                                      Regional Internet Service Providers ทําหน้ าทีเชือมต่อกับ national ISP โดยมากเป็ น
                                                                                             บริ ษัทเอกชนทัวไปซึงมีขนาดและอัตราเร็วน้ อยกว่า national ISP
                                                                                             Local Internet Service Providers ให้ บริ การโดยตรงแก่ผ้ ู ใช้ local ISP สามารถเชือมต่อ
                                                                                             กั บ regional ISP หรื อเชือมต่อโดยตรงกับ national ISP




รูปที 1.13 การจัดลําดับชั นของอินเตอร์ เน็ต(Hierarchical organization of the Internet)
                                                                                             โปรโตคอลและมาตรฐาน
                                                                                             (PROTOCOLS AND STANDARDS)



                                                                                                            โปรโตคอล (Protocol) หมายถึงกฎ (Rule)
                                                                                                มาตรฐาน (Standards) หมายถึงข้ อตกลงตามกฎ (agreed-upon rules)
โปรโตคอล (PROTOCOLS)                                                                                  มาตรฐาน (STANDARDS)

โปรโตคอล หมายถึงกลุ่มของกฎหรื อข้ อตกลงทีใช้ ในการสือสารข้ อมูล เพือบอกให้ รู ้ ว่า                   มาตรฐานเป็ นสิงจําเป็ นและเป็ นแนวทางให้ ผู ้ ผลิต ผู้ ขาย หน่วยงานราชการ และผู้
•สือสารอะไร                                                                                           ให้ บริ การอืนๆ มันใจได้ ว่าอุปกรณ์ต่างๆสามารถเชือมต่อกันได้
•สือสารอย่างไร                                                                                        มาตรฐานการสือสารข้ อมูลแบ่งเป็ น 2 กลุ่ ม
•สือสารเมือไร                                                                                         •De facto เป็ นมาตรฐานทีไม่ได้ รับการอนุมัติโดยองค์กรมาตรฐาน แต่ได้ มีการนํามาใช้
                                                                                                      อย่างแพรหลาย ปกติมาตรฐาน de facto เริ มแรกสร้ างโดยโรงงานผู ้ ผลิตอุปกรณ์ซึง
องค์ประกอบหลั กของโปรโตคอล (The key elements of a protocol)                                           ต้ องการสร้ างฟั งก์ชันของผลิตภัณฑ์หรื อเทคโนโลยีใหม่ๆ
•รู ปแบบ (Syntax) หมายถึงโครงสร้ างหรื อรู ปแบบของข้ อมู ล เช่น 8 บิตแรกเป็ นทีอยู่ของผู ้            •De jure เป็ นมาตรฐานทีได้ มีการจดทะเบียนโดยองค์กรมาตรฐาน
ส่ง 8 บิตถัดไปเป็ นทีอยู่ของผู ้ รับและส่วนทีเหลือเป็ นข้ อมูล
•ความหมาย (Semantics) คือความหมายของแต่ละส่ วนของบิตข้ อมู ล และต้ องทําอะไร
เช่น ส่วนของทีอยู่หมายถึงหมายเลขของเส้ นทางหรื อทีอยู่ปลายทางของข้ อมูล
•เวลา (Timing) หมายถึง ข้ อมูลต้ องถูกส่งเมือไร และส่งด้ วยความเร็ วเท่าไร




องค์ กรมาตรฐาน (Standard Organizations)                                                               มาตรฐานอินเตอร์ เน็ต (Internet Standards)

  มาตรฐานถูกพัฒนาขึ นผ่านทางความร่วมมือของcommittees, forums, และหน่วยงานราชการ
                                                                                                      มาตรฐานอินเตอร์ เน็ตจะผ่านการทดสอบอย่างสมบูรณ์ซึงเป็ นประโยชน์และยึดถือเป็ นมาตรฐาน
  Standards Creation Committees ประกอบด้ วย                                                           โดยผู้ ใช้ งานอินเตอร์ เน็ต ขั นตอนการอนุมัติมาตรฐานอินเตอร์ เน็ตเป็ นดังนี
  •International Organization for Standardization (ISO)                                               •เริ มต้ นจาก Internet draft เป็ น working document (a work in progress) ซึงยังไม่มีสถานะ
  •International Telecommunication Union-Telecommunication Standards Sector (ITU-T)
                                     Union-                                 (ITU-                     เป็ นทางการมีอายุ 6 เดือน
  •American National Standards Institute (ANSI)                                                       •หลั งจากผ่านการแนะนําต่างๆจาก Internet authorities เอกสารฉบับร่างจะได้ รับการตีพิมพ์เป็ น
  •Electronic Industries Association (EIA)                                                            Request for Comment (RFC)
                                                                                                      •แต่ละ RFC จะได้ รับการแก้ ไข กําหนดหมายเลข และส่งให้ กับผู ้ สนใจทัวไป
  Forums: เป็ นกลุ่มคนทีสนใจในหัวข้ อเดียวกัน ซึงจะทํางานร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆและผู ้ ใช้ เพือทํา
                                                                                                      •เมือ RFC อยู่ในระดับคงทีจะถูกจัดให้ อยู่ในกลุ่มตามระดับทีต้ องการ
  หน้ าทีทดสอบ ประเมินผล และกําหนดมาตรฐานเทคโนโลยีใหม่ๆ ดังนั นforums จะสามารถรับและใช้
  เทคโนโลยีเหล่านี ได้ เร็ วในสังคมของการสือสารและสามารถสรุปผลให้ กับองค์กรมาตรฐานได้

  Regulatory Agencies: ทําหน้ าทีรับรองมาตรฐาน เช่น Federal Communications Commission
  (FCC)

More Related Content

What's hot

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
Bebearjang1
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
Tum WinNing
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
Tharathep Chumchuen
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
Puangkaew Kingkaew
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sirinat Sansom
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
Tharathep Chumchuen
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
Nidzy Krajangpat
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อยู่ไหน เหงา
 

What's hot (17)

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to Intro netwrok

การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์
Namfon Phenpit
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
nuchanad
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
Worapon Masee
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
Anisra Roya
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01
Kin Kanin
 
อิน
อินอิน
อิน
inlek07
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
peter dontoom
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Obigo Cast Gaming
 

Similar to Intro netwrok (20)

Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01
 
อิน
อินอิน
อิน
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
9789740329770
97897403297709789740329770
9789740329770
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Intro netwrok

  • 1. บทนําการสื อสารข้ อมูลและเครือข่ าย (Introduction to Data Communications and Networks) บทที 1 -นิยามการสือสารข้ อมูล (Data Communications) -องค์ประกอบของการสือสารข้ อมูล (Components) บทนําการสื อสารข้ อมูล -รู ปแบบข้ อมู ล (Data Representation) และเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ -ทิศทางการไหลของข้ อมู ล (Data Flow) -เครื อข่าย (Networks) (Introduction to Data Communications and Computer Networks) BC3033 การสื อสารข้ อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย อาจารย์ บญชัช ธนวรรณธร ุ นิยามการสื อสารข้ อมูล (DATA COMMUNICATIONS) รูปที 1.1 องค์ประกอบของการสือสารข้ อมูล (Five components of data communication) Telecommunication หมายถึงการสื อสารระยะไกล Data หมายถึงสารสนเทศซึ งอยู่ในรู ปแบบที ตกลงกันระหว่างผู้สร้างและผู้รบข้อมู ล ั การสื อสารข้อมูล (Data Communications) เป็ นการแลกเปลี ยนข้อมูลระหว่างสอง อุปกรณ์ ผ่านทางตั วกลางหรื อสื อ เช่ น สายเคเบิ ล เป็ นต้ น
  • 2. รู ปแบบข้ อมูล (Data Representation) รูปที 1.1.1 แบบจําลองการสือสารอย่างง่าย ข้อมูลในปั จจุบั นมีหลายรู ปแบบ เช่น ข้อความ ตั วเลข รู ปภาพ เสียง และวิ ดีโอ ข้อความ (Text) รู ปแบบการเรี ยงกั นของบิ ต (0 หรื อ 1) แตกต่างกั นทําให้ได้ต ั วอั กขระแตกต่าง กั น กลุ่ มของตั วอั กขระเรี ยกว่า รหั ส (code) ในปั จจุบั นนิ ยมใช้รหั ส Unicode มี ขนาด 32 บิ ต โดยมี 127 อั กขระแรกเป็ นรหั ส ASCII ตั วเลข (Numbers) ประกอบด้วยชุดของบิ ตเรี ยงกันเพื อใช้แทนตั วเลขในรหัสต่างๆ รู ปภาพ (Images) ประกอบด้วย matrix ของ pixel ความละเอียดของภาพขึนอยู่กับจํ านวน pixel แต่ละ pixel จะมี รูปแบบของบิ ตแตกต่างกั น สําหรับภาพขาวดําจะใช้ 1 บิ ตแทนระดั บสี ขาวและสีดํา (0 = black pixel, 1 = white pixel), ภาพสีเทา (gray scale) ใช้ 2 บิ ตแทนระดั บ ของสี 4 ระดั บ (00 = black pixel, 01 = dark gray pixel, 10 = light gray pixel, 11 = white pixel) ส่วนภาพสีจะใช้วิธีผสมสีแบบ RGB หรื อ YCM เพื อให้เกิ ดความเข้มของสีต่างๆกัน แล้ว กําหนดรู ปแบบของบิ ตให้กั บแต่ละ pixel เสียง (Audio) เป็ นข้อมูลที เป็ นเสียงเพลงหรื อเสียงดนตรี ลั กษณะข้อมูลเป็ นแบบต่อเนื อง วิ ดีโอ (Video) เป็ นข้อมูลที มีล ั กษณะเป็ นภาพหรื อภาพยนตร์ สามารถสร้างได้จากกล้องถ่าย วิ ดีโอหรื อภาพนิ งเรี ยงต่อเนื องกันเพื อให้เกิ ดเป็ นภาพเคลื อนไหว รูปที 1.1.2 แบบจําลองการสือสารอย่างง่าย งานของการสื อสาร (COMMUNICATIONS TASKS) การใช้ ระบบส่งข้ อมูล การกําหนดหมายเลขทีอยู่ในการรับส่งข้ อมูล (Transmission system utilization) (Addressing) การเชือมประสาน (Interfacing) การค้ นหาเส้ นทางในการส่งข้ อมูล (Routing) การสร้ างสัญญาณ (Signal generation) การกู้ ข้ อมูล(Recovery) ประสานจังหวะการรับส่งสัญญาณ จัดการรูปแบบข้ อมูล (Message formatting) (Synchronization) จัดการแลกเปลียนข้ อมูล (Exchange management) การรักษาความปลอดภัยในการส่งข้ อมูล (Security) ควบคุ มและแก้ ไขความผิดพลาด การจัดการเครื อข่าย (Network management) (Error detection and correction) ควบคุมการไหลของข้ อมูล (Flow control)
  • 3. รูปที 1.2 ทิศทางการไหลของข้ อมู ล (Data flow) เครื อข่ าย (NETWORKS) เครื อข่าย (Networks) เป็ นกลุ่ มของอุ ปกรณ์ (โหนด: nodes) เชือมต่อกันโดย สายสั ญญาณสือสาร (communication links) โหนด สามารถเป็ นได้ ท ั งคอมพิวเตอร์ เครื องพิมพ์ หรื ออุ ปกรณ์ ใดๆ ทีสามารถส่งและ/หรื อ รับข้ อมูลทีสร้ างโดยโหนดอืนในเครื อข่ายได้ หัวข้ อทีเกียวข้ องกับเครื อข่าย Distributed Processing Network Criteria Physical Structures Network Models Categories of Networks Interconnection of Networks: Internetwork การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) บรรทัดฐานเครื อข่ าย (Network Criteria) ประกอบด้ วย เครื อข่ายส่วนใหญ่ใช้ การประมวลผลแบบกระจาย ซึงงานถูกแบ่งให้ กับคอมพิวเตอร์ หลายเครื อง •ประสิทธิภาพ (Performance) สามารถวัดได้ จากเวลาทีใช้ ส่งผ่าน และเวลาทีตอบสนอง ช่วยกันทํา แทนทีจะใช้ คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่เครื องเดียวรับผิดชอบงานทุกอย่าง (transit time and response time) ขึ นอยู่กับจํานวนผู ้ ใ,ช้ ประเภทของสือ, ความสามารถของ อุปกรณ์เชือมต่อ, ประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ การประเมินผลประสิทธิภาพพิจารณาจาก throughput และ delay ซึงแปรผกผันกันในเครื อข่าย •ความน่าเชือถือ (Reliability) วัดได้ จากจํานวนครั งทีล้ มเหลว การกู้ คืนจากความล้ มเหลว, และ , ความแข็งแรงของเครื อข่ายในสถานการณ์ทีเลวร้ าย (frequency of failure, recovery from failure, network’s robustness in a catastrophe) •ความปลอดภั ย (Security) เช่น การปกปองข้ อมู ลจากการเข้ าถึงโดยผู้ ไม่ได้ รับอนุ ญาต การ ้ , ปกปองข้ อมูลจากความเสียหายและการเปลียนแปลง, นโยบายการใช้ ข้อมูลและขั นตอนการกู ้ คืน ้ ยนแปลง, จากการถูกขโมยข้ อมูลและข้ อมู ลสูญหาย
  • 4. โครงสร้ างทางกายภาพ (Physical Structures) รูปที 1.3 ประเภทการเชือมต่อ (Types of connections) •ประเภทการเชือมต่อ (Type of Connection) •Point-to-Point •Multipoint •รูปลักษณ์การเชือมต่อ (Physical Topology) •Mesh •Star •Bus •Ring รูปที 1.4 ประเภทของโทโพโลยี (Categories of topology) รูปที 1.5 การเชือมต่อแบบสมบูรณ์ (Mesh topology)
  • 5. รูปที 1.6 การเชือมต่อแบบดาว (A star topology) รูปที 1.7 การเชือมต่อแบบบัส (A bus topology) รูปที 1.9 การเชือมต่อแบบผสม รูปที 1. 8 การเชือมต่อแบบวงแหวน (A ring topology) (A hybrid topology: a star backbone with three bus networks)
  • 6. แบบจําลองเครื อข่ าย (Network Models) ประเภทของเครื อข่ าย (Categories of Networks) ประเภทเครื อข่ายโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ มาตรฐานเป็ นสิงจําเป็ นสําหรับการเชือมต่อเครื อข่ายแตกต่างกันให้ สามารถติดต่อสือสารกันได้ •เครือข่ายแบบแลน (LAN) ครอบคลุมพื นทีไม่เกิน3 กิโลเมตร มีแบบจําลองมาตรฐาน 2 แบบทีรู ้ จักกันดี •เครือข่ายแบบแวน (WAN) ครอบคลุมพื นทีทัวโลก •แบบจําลองมาตรฐาน OSI (OSI Model) ประกอบด้ วย 7 เลเยอร์ •เครือข่ายแบบแมน (MAN) มีขนาดอยู่ระหว่างแลนและแวน •แบบจําลองอินเตอร์ เน็ต (Internet Model) ประกอบด้ วย 5 เลเยอร์ รูปที 1.10 เครื อข่ายแบบแลนเชือมต่อ 12 คอมพิวเตอร์ ผ่านฮับ รูปที 1.11 เครื อข่ายแบบแวน (An isolated LAN connecting 12 computers to a hub in a closet) (WANs: a switched WAN and a point-to-point WAN)
  • 7. รูปที 1.12 เครื อข่ายแบบผสม การเชื อมต่ อระหว่ างเครือข่ าย (Interconnection of Networks) (A heterogeneous network made of four WANs and two LANs) การเชือมต่อเครื อข่ายแลน, แมน, แวน ตั งแต่2 เครื อข่ายเข้ า ด้ วยกัน เรี ยกว่า Internetwork เครื อข่ ายอินเตอร์ เน็ต (THE INTERNET) ประวัติของอินเตอร์ เน็ต (A Brief History of Internet) ช่วงกลางปี ค.ศ. 1960 คอมพิ วเตอร์ เมนเฟรมในหน่วยงานวิจั ยเป็ นแบบ stand-alone คอมพิ วเตอร์ จากต่ างผู้ ผลิต stand- ไม่ สามารถติดต่ อกั นได้ ARPA หน่วยงานของ DoD ต้ องการหาวิธีการเชือมต่อคอมิพวเตอร์ เหล่านี เพือให้ นักวิจัย สามารถแบ่งปั นข้ อมู ล ลดค่าใช้ จ่ายและลดความซํ าซ้ อนของงานวิจัย อินเตอร์ เน็ตได้ เข้ ามาเกียวข้ องกับชีวิตประจําวันของคนในหลายแง่มุม ทั งแนวทาง ค.ศ. 1967 ทีประชุม AMC ได้ มีการนําเสนอแนวคิดสําหรั บ ARPANET สําหรับเชือมต่อคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่าย การดําเนิ นธุรกิจ และการใช้ เวลาว่างของคน อินเตอร์ เน็ตเป็ นระบบสือสารซึงได้ ขนาดเล็ ก โดยแต่ละโฮสทีอาจมาจากต่างผู ้ ผลิตจะเชือมต่อกันผ่านคอมพิวเตอร์ เฉพาะเรียกว่ า interface message ฉพาะเรี processor (IMP) และแต่ ละ IMP สามารถเชือมต่อกันได้ นําเอาความอุดมสมบูรณ์ของสารสนเทศมาอยู่แค่ปลายนิ วสัมผัสซึงอยู่ใรู ปแบบ นู ร ค.ศ. 1969 เกิ ดเครื อข่าย ARPANET ขึ นโดยเป็ นการเชือมต่อกันของ 4 โหนดจาก UCLA, UCSB, SRI, และ ทีเราสามารถนํามาใช้ ได้ มหาวิทยาลั ย Utah ผ่าน IMP และมีซอฟต์แวร์ ทีทําหน้ าทีติดต่อสือสารระหว่างโหนด เรี ยกว่า Network Control Protocol (NCP) ค.ศ. 1972 Vint Cert และ Bob Hahn เป็ นแกนหลั กของกลุ่ ม ARPANET ในการรวบรวม Internetting Project บุคคลทั งสองได้ คิดค้ นโครงร่ างสําคัญในปี 1973 สําหรับโปรโตคอลทีใช้ ส่งแพ็กเก็ตแบบ end-to-end เอกสาร end- to- เกียวกับ Transmission Control Protocol (TCP) ได้ รวมแนวคิดเกียวกับ encapsulation, datagram, และฟั งก์ชัน ของ gateway หลังจากนั นไม่นาน หน่วยงานทีรับผิดชอบตัดสินใจแยก TCP เป็ น 2 โปรโตคอล คือ Transmission Control Protocol (TCP) และ Internetworking Protocol (IP) โดย IP จะจัดการเกียวกับเส้ นทางในการส่ง datagram ส่ วน TCP จะรับผิดชอบเกียวกับฟั งก์ชันในระดับทีสูงขึ นไปเช่น การแยก segment (segmentation), การรวม segment (reassembly), และตรวจจั บความผิ ดพลาด ในเวลาต่ อมา internetworking protocol ก็คือ TCP/IP
  • 8. ผู ้ ให้ บริการเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต (ISP)…1 ผู ้ ให้ บริการเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต (ISP)…2 ปั จจุบ ันนี อินเตอร์ เน็ตมีควาซับซ้ อนและประกอบด้ วยแวนและแลนจํานวนมา เชือมต่อกัน กเชื ก International Internet Service Providers เป็ น ISP ระดับบนสุดซึงทําหน้ าทีเชือมต่อ ผ่านอุ ปกรณ์ และสวิตช์ จํานวนมาก ในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีการเปลียนแปลงอยู่ อินเตอร์ เน็ตระหว่างประเทศ ตลอดเวลา เช่น มีการเชือมต่อเครื อข่ายใหม่ๆ เข้ ามา เครื อข่ายทีมีอยู่เดิมก็มีการเพิม National Internet Service Providers เป็ นโครงข่ายแกนหลั ก (backbone networks) ของ แอดเดรสมากขึ น เครื อข่ายทีใช้ งานไม่ได้ ก็ถูกนําออกจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ผู้ ใช้ งาน เครื อข่าย เช่น การสือสารแห่งประเทศไทย โครงข่ายแกนหลักเชือมต่อกันผ่านสวิตช์ทีมี ส่วนใหญ่สามารถเชือมต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ โดยผ่านบริ การของ ISP ซึงมีหลาย ความซั บซ้ อนจํานวนมาก เรี ยกว่า network access points (NAPs) การเชือมโยงระหว่าง ระดับดังนี ISP ระดั บสากล (international service providers), ISP ระดั บประเทศ ISP ระดั บประเทศผ่านอุ ปกรณ์ สวิตช์ ส่วนตั ว เรี ยกว่า peering points ซึงปกติทํางานที (national service providers), ISP ระดั บภู มิภาค (regional service providers), ISP อั ตราเร็ วสู งถึง 600 Mbps ระดับท้ องถิน (local service providers) Regional Internet Service Providers ทําหน้ าทีเชือมต่อกับ national ISP โดยมากเป็ น บริ ษัทเอกชนทัวไปซึงมีขนาดและอัตราเร็วน้ อยกว่า national ISP Local Internet Service Providers ให้ บริ การโดยตรงแก่ผ้ ู ใช้ local ISP สามารถเชือมต่อ กั บ regional ISP หรื อเชือมต่อโดยตรงกับ national ISP รูปที 1.13 การจัดลําดับชั นของอินเตอร์ เน็ต(Hierarchical organization of the Internet) โปรโตคอลและมาตรฐาน (PROTOCOLS AND STANDARDS) โปรโตคอล (Protocol) หมายถึงกฎ (Rule) มาตรฐาน (Standards) หมายถึงข้ อตกลงตามกฎ (agreed-upon rules)
  • 9. โปรโตคอล (PROTOCOLS) มาตรฐาน (STANDARDS) โปรโตคอล หมายถึงกลุ่มของกฎหรื อข้ อตกลงทีใช้ ในการสือสารข้ อมูล เพือบอกให้ รู ้ ว่า มาตรฐานเป็ นสิงจําเป็ นและเป็ นแนวทางให้ ผู ้ ผลิต ผู้ ขาย หน่วยงานราชการ และผู้ •สือสารอะไร ให้ บริ การอืนๆ มันใจได้ ว่าอุปกรณ์ต่างๆสามารถเชือมต่อกันได้ •สือสารอย่างไร มาตรฐานการสือสารข้ อมูลแบ่งเป็ น 2 กลุ่ ม •สือสารเมือไร •De facto เป็ นมาตรฐานทีไม่ได้ รับการอนุมัติโดยองค์กรมาตรฐาน แต่ได้ มีการนํามาใช้ อย่างแพรหลาย ปกติมาตรฐาน de facto เริ มแรกสร้ างโดยโรงงานผู ้ ผลิตอุปกรณ์ซึง องค์ประกอบหลั กของโปรโตคอล (The key elements of a protocol) ต้ องการสร้ างฟั งก์ชันของผลิตภัณฑ์หรื อเทคโนโลยีใหม่ๆ •รู ปแบบ (Syntax) หมายถึงโครงสร้ างหรื อรู ปแบบของข้ อมู ล เช่น 8 บิตแรกเป็ นทีอยู่ของผู ้ •De jure เป็ นมาตรฐานทีได้ มีการจดทะเบียนโดยองค์กรมาตรฐาน ส่ง 8 บิตถัดไปเป็ นทีอยู่ของผู ้ รับและส่วนทีเหลือเป็ นข้ อมูล •ความหมาย (Semantics) คือความหมายของแต่ละส่ วนของบิตข้ อมู ล และต้ องทําอะไร เช่น ส่วนของทีอยู่หมายถึงหมายเลขของเส้ นทางหรื อทีอยู่ปลายทางของข้ อมูล •เวลา (Timing) หมายถึง ข้ อมูลต้ องถูกส่งเมือไร และส่งด้ วยความเร็ วเท่าไร องค์ กรมาตรฐาน (Standard Organizations) มาตรฐานอินเตอร์ เน็ต (Internet Standards) มาตรฐานถูกพัฒนาขึ นผ่านทางความร่วมมือของcommittees, forums, และหน่วยงานราชการ มาตรฐานอินเตอร์ เน็ตจะผ่านการทดสอบอย่างสมบูรณ์ซึงเป็ นประโยชน์และยึดถือเป็ นมาตรฐาน Standards Creation Committees ประกอบด้ วย โดยผู้ ใช้ งานอินเตอร์ เน็ต ขั นตอนการอนุมัติมาตรฐานอินเตอร์ เน็ตเป็ นดังนี •International Organization for Standardization (ISO) •เริ มต้ นจาก Internet draft เป็ น working document (a work in progress) ซึงยังไม่มีสถานะ •International Telecommunication Union-Telecommunication Standards Sector (ITU-T) Union- (ITU- เป็ นทางการมีอายุ 6 เดือน •American National Standards Institute (ANSI) •หลั งจากผ่านการแนะนําต่างๆจาก Internet authorities เอกสารฉบับร่างจะได้ รับการตีพิมพ์เป็ น •Electronic Industries Association (EIA) Request for Comment (RFC) •แต่ละ RFC จะได้ รับการแก้ ไข กําหนดหมายเลข และส่งให้ กับผู ้ สนใจทัวไป Forums: เป็ นกลุ่มคนทีสนใจในหัวข้ อเดียวกัน ซึงจะทํางานร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆและผู ้ ใช้ เพือทํา •เมือ RFC อยู่ในระดับคงทีจะถูกจัดให้ อยู่ในกลุ่มตามระดับทีต้ องการ หน้ าทีทดสอบ ประเมินผล และกําหนดมาตรฐานเทคโนโลยีใหม่ๆ ดังนั นforums จะสามารถรับและใช้ เทคโนโลยีเหล่านี ได้ เร็ วในสังคมของการสือสารและสามารถสรุปผลให้ กับองค์กรมาตรฐานได้ Regulatory Agencies: ทําหน้ าทีรับรองมาตรฐาน เช่น Federal Communications Commission (FCC)