SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (อังกฤษ: computer network; ศัพท์บัญญัติว่า ข่ายงาน
คอมพิวเตอร์) คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครือข่าย (โหนดเครือข่าย) จะใช้สื่อที่เป็นสายเคเบิลหรือสื่อไร้สาย เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีคือ อินเทอร์เน็ตการที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
แพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของ
ระบบโดยรวมลงการโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น
หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหา
มาให้ทุกคนได้เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้อุปกรณ์เครือข่ายที่สร้างข้อมูล,
ส่งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรียกว่าโหนดเครือข่าย. โหนดประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิร์ฟเวอร์, คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ
ฮาร์ดแวร์ของระบบเครือข่าย อุปกรณ์สองตัวจะกล่าวว่าเป็นเครือข่ายได้ก็ต่อเมื่อกระบวนการในเครื่องหนึ่งสามารถที่จะแลกเปลี่ยน
ข้อมูลกับกระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึ่งได้เครือข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่วมกันของแอป
พลิเคชัน, การใช้เซิร์ฟเวอร์สาหรับเก็บข้อมูลร่วมกัน, การใช้เครื่องพิมพ์และเครื่องแฟ็กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมลและโปรแกรมส่ง
ข้อความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน
สื่อกลางการสื่อสารที่ใช้ในการเชื่อมโยงอุปกรณ์เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย
สายเคเบิลไฟฟ้า (HomePNA, สายไฟฟ้าสื่อสาร, G.hn), ใยแก้วนาแสง และ
คลื่นวิทยุ (เครือข่ายไร้สาย) ในโมเดล OSI สื่อเหล่านี้จะถูกกาหนดให้อยู่ในเลเยอร์ที่ 1 และที่ 2
หรือชั้นกายภาพและชั้นเชื่อมโยงข้อมูลครอบครัวของสื่อการสื่อสารที่ถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและ
ถูกนามาใช้ในเทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) เรียกว่า อีเธอร์เน็ต มาตรฐานของสื่อกลาง
และของโพรโทคอลที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ในเครือข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกาหนดโดย
มาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์เน็ตในโลกไซเบอร์มีทั้งเทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและ
แบบไร้สาย อุปกรณ์ของ LAN แบบใช้สายจะส่งสัญญาณผ่านสื่อกลางที่เป็นสายเคเบิล อุปกรณ์
LAN ไร้สายใช้คลื่นวิทยุหรือสัญญาณอินฟราเรดเป็นสื่อกลางในการส่งผ่านสญญาณ
ทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนี้เรียงลาดับตามความเร็วจากช้าไปเร็วอย่างหยาบๆรูปแสดงสาย UTP
สายคู่บิดเป็นสื่อที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุดสาหรับการสื่อสารโทรคมนาคมทั้งหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่มของสายทองแดงหุ้ม
ฉนวนที่มีการบิดเป็นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาที่ใช้ภายในบ้านทั่วไปประกอบด้วยสายทองแดงหุ้มฉนวนเพียงสองสายบิดเป็นคู่ สาย
เคเบิลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์เน็ตตามที่กาหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็นสายคู่บิดจานวน 4 คู่สาย
ทองแดงที่สามารถใช้สาหรับการส่งทั้งเสียงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็นเกลียวจะช่วยลด crosstalk และการ
เหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่งอยู่ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที
สายคู่บิดมาในสองรูปแบบคือคู่บิดไม่มีต้วนาป้องกัน(การรบกวนจากการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก) (unshielded
twisted pair หรือ UTP) และคู่บิดมีตัวนาป้องกัน (shielded twisted pair หรือ STP) แต่ละ
รูปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน
สายโคแอคเชียลถูกใช้อย่างแพร่หลายสาหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสานักงานและสถานที่ทางานอื่นๆ ใน
เครือข่ายท้องถิ่น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรืออะลูมิเนียมเส้นเดี่ยวที่ล้อมรอบด้วยชั้นฉนวน
(โดยปกติจะเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่นกับไดอิเล็กทริกคงที่สูง) และล้อมรอบทั้งหมดด้วยตัวนาอีกชั้นหนึ่ง
เพื่อป้องกันการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริกจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและ
ความผิดเพี้ยน ความเร็วในการส่งข้อมูลอยู่ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อ
วินาทีรูปแสดงสายโคแอคเชียล'ITU-T G.hn เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สายไฟที่มีอยู่ในบ้าน (สายโคแอค,
สายโทรศัพท์และสายไฟฟ้า) เพื่อสร้างเครือข่ายท้องถิ่นความเร็วสูง (ถึง 1 Gb/s)
ใยแก้วนาแสง เป็นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พัลส์ของแสงในการส่งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงที่
เหนือกว่าสายโลหะก็คือมีการสูญเสียในการส่งน้อยและมีอิสรภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีความเร็วใน
การส่งรวดเร็วมากถึงล้านล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลื่นที่แตกต่างของแสงที่จะเพิ่มจานวน
ของข้อความที่ถูกส่งผ่านสายเคเบิลใยแก้วนาแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน
'ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื่อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื่องส่งและเครื่องรับสัญญาณจากสถานีบนผิวโลกที่มีลักษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพื้นดินอยู่ในช่วงกิ
กะเฮิรตซ์ที่ต่า ซึ่งจากัดการสื่อสารทั้งหมดด้วยเส้นสายตาเท่านั้น สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)ดาวเทียมสื่อสาร - การสื่อสารดาวเทียมผ่านทาง
คลื่นวิทยุไมโครเวฟที่ไม่ได้เบี่ยงเบนโดยชั้นบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจาการในอวกาศ ที่มักจะอยู่ในวงโคจร geosynchronous ที่ 35,400
กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนี้มีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี
ระบบเซลลูลาร์และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคที่ครอบคลุมออกเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์หลายพื้นที่ แต่ละพื้นที่มีเครื่องส่งหรือ
อุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานต่าเพื่อถ่ายทอดสัญญาณเรียกจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งข้างหน้า
เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่กระจายสเปกตรัม - เครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี่สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทัลและเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่า. LAN ไร้
สายใช้เทคโนโลยีการแพร่กระจายคลื่นความถี่เพื่อการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพื้นที่จากัด. IEEE 802.11 กาหนดคุณสมบัติทั่วไปของเทคโนโลยีคลื่นวิทยุไร้
สายมาตรฐานเปิดที่รู้จักกันคือ Wifi
การสื่อสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสั้นๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณีส่วนใหญ่ การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ่งจากัดตาแหน่งการติดตั้งของอุปกรณ์การ
สื่อสาร
เครือข่ายทั่วโลก (global area network หรือ GAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรือในพื้นที่ที่
ดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายที่สาคัญในการสื่อสารเคลื่อนที่คือการส่งมอบการสื่อสารของผู้ใช้จากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง ใน IEEE 802 การส่งมอบนี้
เกี่ยวข้องกับความต่อเนื่องของ LAN ไร้สายบนผิวโลก .
มีความพยายามต่างๆที่ขนส่งข้อมูลผ่านสื่อที่แปลกใหม่ ได้แก่:
• IP over Avian Carriers เป็นอารมณ์ขันของ April's fool เป็น
RFC 1149 มันถูกนามาใช้ในชีวิตจริงในปี 2001.
• ขยายอินเทอร์เน็ตเพื่อมิติอวกาศผ่านทางคลื่นวิทยุ.ทั้งสองกรณีมีการหน่วงเวลาสูงอัน
เนื่องมาจากสัญญาณต้องเดินทางไปกลับ ซึ่งจะทาให้การสื่อสารสองทางล่าช้ามาก แต่ก็ไม่ได้
ขัดขวางการส่งข้อมูลจานวนมาก
ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 6 แบบ ได้แก่
 เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายใน
อาคารเดียวกัน
 เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ
หลาย ๆ กิโลเมตร
 เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN)
 เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่าง
ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)
 เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่ส่วนบุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมี
สายหรือไร้สายก็ได้
 เครือข่ายข้อมูล หรือ แซน (Storage area network) : SAN) เป็นเครือข่าย (หรือเครือข่ายย่อย) ความเร็วสูงวัตถุประสงค์เฉพาะที่เชื่อมต่อภายใน
กับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กันบนคัวแทนเครือข่ายขนาดใหญ่ของผู้ใช้
 เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย
โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ดดิสก์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
 ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่
ละคนในระบบเครือข่าย
 ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
เข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง
 เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือ
ส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
 เราต์เตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์
เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้เช่น IP (Internet
Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลง
มากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้
สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้นบริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ
ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้
 เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอิน
ทอช (MAC) เป็นต้น
คือชุดของกฎหรือข้อกาหนดต่างๆสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเครือข่าย ในโพรโทคอลสแต็ค (ระดับชั้นของโพรโทคอล
ดูแบบจาลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการให้บริการของโพรโทตคลที่อยู่ในชั้นล่าง ตัวอย่างที่สาคัญในโพรโท
คอลสแต็คได้แก่ HTTP ที่ทางานบน TCP over IP ผ่านข้อกาหนด IEEE 802.11 (TCP และ IP
ที่เป็นสมาชิกของชุดโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต. IEEE 802.11 เป็นสมาชิกของชุดอีเธอร์เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนี้จะ
ถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้ตามบ้านเมื่อผู้ใช้จะท่องเว็บโพรโทคอลการสื่อสารมี
ลักษณะต่างๆกัน ซึ่งอาจจะเชื่อมต่อแบบ connection หรือ connectionless, หรืออาจจะใช้
circuit mode หรือแพ็กเกตสวิตชิง, หรืออาจใช้การ addressing ตามลาดับชั้นหรือแบบ flatมี
โพรโทคอลการสื่อสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ด้านล่างนี้
รูปแบบที่พบบ่อยคือ:
o เครือข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชื่อมต่อกับสื่อกลางไปตลอดทั้งตัวสื่อนี้ รูปแบบนี้ใช้ในต้นฉบับอีเธอร์เน็ตที่เรียกว่า 10BASE5 และ 10Base2
o เครือข่ายรูปดาว: ทุกโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รูปแบบนี้พบโดยทั่วไปใน LAN ไร้สายที่ลูกค้าแต่ละรายเชื่อมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง
(Wireless access point)
o เครือข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชื่อมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา เพื่อที่ว่าทุกโหนดมีการเชื่อมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น โดยเข้า
หาทางโหนดด้านซ้ายหรือโหนดด้านขวาก็ได้ไฟเบอร์การเชื่อมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber Distributed Data Interface หรือ FDDI)
ใช้โทโพโลยีแบบนี้
o เครือข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดอื่นๆได้เกือบทั้งหมดในลักษณะที่มีอยู่อย่างน้อยหนึ่งเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอื่นไป
o เครือข่ายที่เชื่อมต่ออย่างเต็มที่: ในแต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับทุกโหนดอื่น ๆ ในเครือข่าย
o ต้นไม้: ในกรณีนี้โหนดทั้งหมดมีการจัดลาดับชั้น
o โปรดสังเกตว่ารูปแบบทางกายภาพของโหนดในเครือข่ายอาจไม่จาเป็นต้องสะท้อนให้เห็นถึงโทโพโลยีเครือข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครือข่ายเป็นวงแหวน
(ที่จริงสองวงหมุนสวนทางกัน) แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็นรูปดาวเพราะทุกการเชื่อมต่อกับโหนดที่อยู่ใกล้เคียงจะถูกส่งผ่านโหนดที่อยู่ตรงกลาง
เครือข่ายซ้อนทับเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนที่ถูกสร้างขึ้นทับบนเครือข่ายอื่น โหนดในเครือข่าย
ซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรือแบบลอจิก ที่ซึ่งแต่ละลิงค์จะสอดคล้องกับเส้นทางในเครือข่าย
หลักด้านล่าง ที่อาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์ โทโพโลยีของเครือข่ายซ้อนทับอาจ (และมักจะ)
แตกต่างจากของเครือข่ายด้านล่าง. เช่น เครือข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครือข่ายเป็น
เครื่อข่ายซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็นโหนดของระบบเสมือนจริงของลิงค์ที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตถูกสร้างขึ้นครั้งแรกเป็นภาพซ้อนทับบนเครือข่ายโทรศัพท์.
หรือการ์ดแลน หรืออีเทอร์เน็ตการ์ด ทาหน้าที่ในการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่เข้ากับระบบเครือข่ายได้เช่น ในระบบแลน
เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะต้องมีการ์ดเครือข่ายที่
เชื่อมโยงด้วยสายเคเบิลจึงสามารถทาให้เครื่องติดต่อเครือข่ายได้
คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่ง
หลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัส
ที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้
มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ
IEEE802.3 ข้อมูลที่รับ-ส่งผ่านฮับจากเครื่อง
หนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ติดต่ออยู่บนฮับนั้น
ดังนั้นทุกสถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้
ทั้งหมดแต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะข้อมูลที่ส่งมาถึง
ตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่แอดเดรส
(address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือ
แพ็กเกจ
คือ อุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-
ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่าง
จากฮับ คือ การฮับ-ส่งข้อมูลจากสถานีหรือ
อุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปยังทุกสถานี
เหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูล
หรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่า
แอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะ
ลดปัญหาการชนกันของข้อมูลเพราะ ไม่ต้อง
กระจายข้อมูลไปทุกสถานี และยังมีข้อดีในเรื่อง
การป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปใน
เครือข่าย
คือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลาย ๆ
กลุ่มที่เชื่อมต่อกันเนื่องจากสามารถแบ่ง
เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลาย ๆ เซ็กเมนต์แยก
ออกจากกันได้ทาให้ข้อมูลในแต่ละเซ็กเมนต์ไม่
ต้องวิ่งไปทั่วทั้งเครือข่าย กล่าวคือ บริดจ์
สามารถอ่านเฟรมข้อมูลที่ส่งมาได้ว่ามาจาก
เครื่องในเซ็กเมนต์ใด จากนั้นจะทาการส่งข้อมูล
ไปยังเครื่องซึ่งอาจอยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันหรือ
ต่างเซ็กเมนต์ก็ได้ซึ่งความสามารถดังกล่าวทา
ให้ช่วยลดปัญหาความคับคั่งของข้อมูลในระบบ
ได้
คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณเพื่อให้สามารถส่ง
ข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอร์จะ
ปรับรูปแบบเดิม เพื่อได้สัญญาณสามารถส่ง
ต่อไปได้อีก เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายแลน
หลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซึ่งความยาวของแต่ละเซ็ก
เมนต์นั้นจะมีระยะทางที่จากัด ดังนั้น อุปกรณ์
อย่างรีพีตเตอร์จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้
คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถ
เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่าน
สายโทรศัพท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าที่แปลงสัญญาณ ซึ่งแบ่ง
ออกเป็นทั้งภาคส่งและภาครับ โดยภาคส่งจะทาการแปลง
สัญญาณคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์ (Digital
to Analog) ในขณะที่ภาครับนั้นจะทาการแปลง
สัญญาณโทรศัพท์กลับมาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์
(Analog to Digital) ดังนั้น ในการเชื่อมต่อ
เครือข่ายระยะไกลๆ เช่น อินเทอร์เน็ต จึงจาเป็นต้องใช้โมเด็ม
โดยโมเด็มมีทั้งแบบภายใน (Internal Modem)
ที่มีลักษณะเป็นการ์ด โมเด็มภายนอก (External
Modem) ที่มีลักษณะเป็นกล่องแยกออกต่างหาก และ
รวมถึงโมเด็มที่เป็น PCMCIA ที่มักใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมี
การเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์
หลายอย่างเข้าด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้า -
ออกของข้อมูลได้หลายเส้นทาง และแต่ละ
เส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน
อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทาหน้าที่หาเส้นทางที่
เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหาเส้นทางต้อง
รับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกเส้นทาง
ได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรสที่กากับอยู่
เส้นทางนั้น
คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล หน้าที่หลัก
ของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย
หรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือ ลักษณะของการเชื่อ
ต่อ (Connectivity) ของเครือข่ายที่แตกต่างกัยน
และมีโพรโตคอลสาหรับการส่ง - รับข้อมูลต่างกัน เช่น LAN
เครือหนึ่งเป็นแบบ Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะ
ซิงโครนัส ส่วน LAN อีกเครือข่ายหนึ่งเป็นแบบ Token
Ring และใช้โพรโตคอลแบบซิงโครนัสเพื่อให้สามารถ
ติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เพื่อกาจัดวงให้แคบ
ลงมา เกตเวย์โดยทั่วไปจะใช้เป็นเครื่องมือส่ง - รับข้อมูลกัน
ระหว่าง LAN 2 เครือข่ายหรือ LAN กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LAN กับ WAN
โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ เช่น X.25 แพ็กเกจ
สวิตซ์ เครือข่าย ISDN เทเล็กซ์ หรือเครือข่ายทางไกลอื่น
1.นาย ธนกร ชนะใหม่ เลขที่ 1
2.นาย ธนกฤต บุญชลอ เลขที่ 5
3.นาย สุทธิศักดิ์ ภูมิศรี เลขที่ 11
4.นาย สุรเกียรติ ใจอาษา เลขที่ 26
5.นาง นิราภร ซอมสุข เลขที่ 33

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายssrithai
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์Denpipat Chaitrong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 

What's hot (19)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558PTtp WgWt
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์thecommander2
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Chatman's Silver Rose
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นงานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นSupanan Fom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Supanan Fom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Supanan Fom
 
คอมอีกละ
คอมอีกละคอมอีกละ
คอมอีกละSupanan Fom
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Networkchukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์chayaras
 

Similar to อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นงานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
คอมอีกละ
คอมอีกละคอมอีกละ
คอมอีกละ
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
O[p[p[p[
O[p[p[p[O[p[p[p[
O[p[p[p[
 
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นคอมพิวเตอร์
 

More from Obigo Cast Gaming

ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตObigo Cast Gaming
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตObigo Cast Gaming
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Obigo Cast Gaming
 

More from Obigo Cast Gaming (7)

ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Virtual reality
Virtual realityVirtual reality
Virtual reality
 
My Profile
My ProfileMy Profile
My Profile
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1m33 16 47
Work1m33 16 47Work1m33 16 47
Work1m33 16 47
 

อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (อังกฤษ: computer network; ศัพท์บัญญัติว่า ข่ายงาน คอมพิวเตอร์) คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครือข่าย (โหนดเครือข่าย) จะใช้สื่อที่เป็นสายเคเบิลหรือสื่อไร้สาย เครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีคือ อินเทอร์เน็ตการที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง แพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของ ระบบโดยรวมลงการโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหา มาให้ทุกคนได้เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทาให้ลดต้นทุนของระบบลงได้อุปกรณ์เครือข่ายที่สร้างข้อมูล, ส่งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรียกว่าโหนดเครือข่าย. โหนดประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิร์ฟเวอร์, คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ ฮาร์ดแวร์ของระบบเครือข่าย อุปกรณ์สองตัวจะกล่าวว่าเป็นเครือข่ายได้ก็ต่อเมื่อกระบวนการในเครื่องหนึ่งสามารถที่จะแลกเปลี่ยน ข้อมูลกับกระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึ่งได้เครือข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่วมกันของแอป พลิเคชัน, การใช้เซิร์ฟเวอร์สาหรับเก็บข้อมูลร่วมกัน, การใช้เครื่องพิมพ์และเครื่องแฟ็กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมลและโปรแกรมส่ง ข้อความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน
  • 3. สื่อกลางการสื่อสารที่ใช้ในการเชื่อมโยงอุปกรณ์เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย สายเคเบิลไฟฟ้า (HomePNA, สายไฟฟ้าสื่อสาร, G.hn), ใยแก้วนาแสง และ คลื่นวิทยุ (เครือข่ายไร้สาย) ในโมเดล OSI สื่อเหล่านี้จะถูกกาหนดให้อยู่ในเลเยอร์ที่ 1 และที่ 2 หรือชั้นกายภาพและชั้นเชื่อมโยงข้อมูลครอบครัวของสื่อการสื่อสารที่ถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและ ถูกนามาใช้ในเทคโนโลยีเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) เรียกว่า อีเธอร์เน็ต มาตรฐานของสื่อกลาง และของโพรโทคอลที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ในเครือข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกาหนดโดย มาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์เน็ตในโลกไซเบอร์มีทั้งเทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและ แบบไร้สาย อุปกรณ์ของ LAN แบบใช้สายจะส่งสัญญาณผ่านสื่อกลางที่เป็นสายเคเบิล อุปกรณ์ LAN ไร้สายใช้คลื่นวิทยุหรือสัญญาณอินฟราเรดเป็นสื่อกลางในการส่งผ่านสญญาณ
  • 4. ทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนี้เรียงลาดับตามความเร็วจากช้าไปเร็วอย่างหยาบๆรูปแสดงสาย UTP สายคู่บิดเป็นสื่อที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุดสาหรับการสื่อสารโทรคมนาคมทั้งหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่มของสายทองแดงหุ้ม ฉนวนที่มีการบิดเป็นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาที่ใช้ภายในบ้านทั่วไปประกอบด้วยสายทองแดงหุ้มฉนวนเพียงสองสายบิดเป็นคู่ สาย เคเบิลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์เน็ตตามที่กาหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็นสายคู่บิดจานวน 4 คู่สาย ทองแดงที่สามารถใช้สาหรับการส่งทั้งเสียงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็นเกลียวจะช่วยลด crosstalk และการ เหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่งอยู่ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมาในสองรูปแบบคือคู่บิดไม่มีต้วนาป้องกัน(การรบกวนจากการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก) (unshielded twisted pair หรือ UTP) และคู่บิดมีตัวนาป้องกัน (shielded twisted pair หรือ STP) แต่ละ รูปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน
  • 5. สายโคแอคเชียลถูกใช้อย่างแพร่หลายสาหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสานักงานและสถานที่ทางานอื่นๆ ใน เครือข่ายท้องถิ่น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรืออะลูมิเนียมเส้นเดี่ยวที่ล้อมรอบด้วยชั้นฉนวน (โดยปกติจะเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่นกับไดอิเล็กทริกคงที่สูง) และล้อมรอบทั้งหมดด้วยตัวนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริกจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและ ความผิดเพี้ยน ความเร็วในการส่งข้อมูลอยู่ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อ วินาทีรูปแสดงสายโคแอคเชียล'ITU-T G.hn เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สายไฟที่มีอยู่ในบ้าน (สายโคแอค, สายโทรศัพท์และสายไฟฟ้า) เพื่อสร้างเครือข่ายท้องถิ่นความเร็วสูง (ถึง 1 Gb/s) ใยแก้วนาแสง เป็นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พัลส์ของแสงในการส่งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงที่ เหนือกว่าสายโลหะก็คือมีการสูญเสียในการส่งน้อยและมีอิสรภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและมีความเร็วใน การส่งรวดเร็วมากถึงล้านล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลื่นที่แตกต่างของแสงที่จะเพิ่มจานวน ของข้อความที่ถูกส่งผ่านสายเคเบิลใยแก้วนาแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน
  • 6. 'ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื่อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื่องส่งและเครื่องรับสัญญาณจากสถานีบนผิวโลกที่มีลักษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพื้นดินอยู่ในช่วงกิ กะเฮิรตซ์ที่ต่า ซึ่งจากัดการสื่อสารทั้งหมดด้วยเส้นสายตาเท่านั้น สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)ดาวเทียมสื่อสาร - การสื่อสารดาวเทียมผ่านทาง คลื่นวิทยุไมโครเวฟที่ไม่ได้เบี่ยงเบนโดยชั้นบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจาการในอวกาศ ที่มักจะอยู่ในวงโคจร geosynchronous ที่ 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนี้มีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี ระบบเซลลูลาร์และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคที่ครอบคลุมออกเป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์หลายพื้นที่ แต่ละพื้นที่มีเครื่องส่งหรือ อุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานต่าเพื่อถ่ายทอดสัญญาณเรียกจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งข้างหน้า เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่กระจายสเปกตรัม - เครือข่ายท้องถิ่นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี่สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทัลและเทคโนโลยีวิทยุความถี่ต่า. LAN ไร้ สายใช้เทคโนโลยีการแพร่กระจายคลื่นความถี่เพื่อการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพื้นที่จากัด. IEEE 802.11 กาหนดคุณสมบัติทั่วไปของเทคโนโลยีคลื่นวิทยุไร้ สายมาตรฐานเปิดที่รู้จักกันคือ Wifi การสื่อสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสั้นๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณีส่วนใหญ่ การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ่งจากัดตาแหน่งการติดตั้งของอุปกรณ์การ สื่อสาร เครือข่ายทั่วโลก (global area network หรือ GAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรือในพื้นที่ที่ ดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายที่สาคัญในการสื่อสารเคลื่อนที่คือการส่งมอบการสื่อสารของผู้ใช้จากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง ใน IEEE 802 การส่งมอบนี้ เกี่ยวข้องกับความต่อเนื่องของ LAN ไร้สายบนผิวโลก .
  • 7. มีความพยายามต่างๆที่ขนส่งข้อมูลผ่านสื่อที่แปลกใหม่ ได้แก่: • IP over Avian Carriers เป็นอารมณ์ขันของ April's fool เป็น RFC 1149 มันถูกนามาใช้ในชีวิตจริงในปี 2001. • ขยายอินเทอร์เน็ตเพื่อมิติอวกาศผ่านทางคลื่นวิทยุ.ทั้งสองกรณีมีการหน่วงเวลาสูงอัน เนื่องมาจากสัญญาณต้องเดินทางไปกลับ ซึ่งจะทาให้การสื่อสารสองทางล่าช้ามาก แต่ก็ไม่ได้ ขัดขวางการส่งข้อมูลจานวนมาก
  • 8. ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 6 แบบ ได้แก่  เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายใน อาคารเดียวกัน  เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร  เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN)  เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่าง ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)  เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่ส่วนบุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมี สายหรือไร้สายก็ได้  เครือข่ายข้อมูล หรือ แซน (Storage area network) : SAN) เป็นเครือข่าย (หรือเครือข่ายย่อย) ความเร็วสูงวัตถุประสงค์เฉพาะที่เชื่อมต่อภายใน กับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กันบนคัวแทนเครือข่ายขนาดใหญ่ของผู้ใช้
  • 9.  เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ดดิสก์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย  ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ ละคนในระบบเครือข่าย  ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ เข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง  เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือ ส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล  เราต์เตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์ เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต  บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลง มากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้ สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้นบริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้  เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอิน ทอช (MAC) เป็นต้น
  • 10. คือชุดของกฎหรือข้อกาหนดต่างๆสาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลในเครือข่าย ในโพรโทคอลสแต็ค (ระดับชั้นของโพรโทคอล ดูแบบจาลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการให้บริการของโพรโทตคลที่อยู่ในชั้นล่าง ตัวอย่างที่สาคัญในโพรโท คอลสแต็คได้แก่ HTTP ที่ทางานบน TCP over IP ผ่านข้อกาหนด IEEE 802.11 (TCP และ IP ที่เป็นสมาชิกของชุดโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต. IEEE 802.11 เป็นสมาชิกของชุดอีเธอร์เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนี้จะ ถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้ตามบ้านเมื่อผู้ใช้จะท่องเว็บโพรโทคอลการสื่อสารมี ลักษณะต่างๆกัน ซึ่งอาจจะเชื่อมต่อแบบ connection หรือ connectionless, หรืออาจจะใช้ circuit mode หรือแพ็กเกตสวิตชิง, หรืออาจใช้การ addressing ตามลาดับชั้นหรือแบบ flatมี โพรโทคอลการสื่อสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ด้านล่างนี้
  • 11. รูปแบบที่พบบ่อยคือ: o เครือข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชื่อมต่อกับสื่อกลางไปตลอดทั้งตัวสื่อนี้ รูปแบบนี้ใช้ในต้นฉบับอีเธอร์เน็ตที่เรียกว่า 10BASE5 และ 10Base2 o เครือข่ายรูปดาว: ทุกโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รูปแบบนี้พบโดยทั่วไปใน LAN ไร้สายที่ลูกค้าแต่ละรายเชื่อมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง (Wireless access point) o เครือข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชื่อมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา เพื่อที่ว่าทุกโหนดมีการเชื่อมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอื่น โดยเข้า หาทางโหนดด้านซ้ายหรือโหนดด้านขวาก็ได้ไฟเบอร์การเชื่อมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber Distributed Data Interface หรือ FDDI) ใช้โทโพโลยีแบบนี้ o เครือข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับโหนดอื่นๆได้เกือบทั้งหมดในลักษณะที่มีอยู่อย่างน้อยหนึ่งเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอื่นไป o เครือข่ายที่เชื่อมต่ออย่างเต็มที่: ในแต่ละโหนดจะเชื่อมต่อกับทุกโหนดอื่น ๆ ในเครือข่าย o ต้นไม้: ในกรณีนี้โหนดทั้งหมดมีการจัดลาดับชั้น o โปรดสังเกตว่ารูปแบบทางกายภาพของโหนดในเครือข่ายอาจไม่จาเป็นต้องสะท้อนให้เห็นถึงโทโพโลยีเครือข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครือข่ายเป็นวงแหวน (ที่จริงสองวงหมุนสวนทางกัน) แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็นรูปดาวเพราะทุกการเชื่อมต่อกับโหนดที่อยู่ใกล้เคียงจะถูกส่งผ่านโหนดที่อยู่ตรงกลาง
  • 12. เครือข่ายซ้อนทับเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนที่ถูกสร้างขึ้นทับบนเครือข่ายอื่น โหนดในเครือข่าย ซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรือแบบลอจิก ที่ซึ่งแต่ละลิงค์จะสอดคล้องกับเส้นทางในเครือข่าย หลักด้านล่าง ที่อาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์ โทโพโลยีของเครือข่ายซ้อนทับอาจ (และมักจะ) แตกต่างจากของเครือข่ายด้านล่าง. เช่น เครือข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครือข่ายเป็น เครื่อข่ายซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็นโหนดของระบบเสมือนจริงของลิงค์ที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตถูกสร้างขึ้นครั้งแรกเป็นภาพซ้อนทับบนเครือข่ายโทรศัพท์.
  • 13. หรือการ์ดแลน หรืออีเทอร์เน็ตการ์ด ทาหน้าที่ในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่เข้ากับระบบเครือข่ายได้เช่น ในระบบแลน เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะต้องมีการ์ดเครือข่ายที่ เชื่อมโยงด้วยสายเคเบิลจึงสามารถทาให้เครื่องติดต่อเครือข่ายได้
  • 14. คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่ง หลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัส ที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้ มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับ-ส่งผ่านฮับจากเครื่อง หนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ติดต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุกสถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ ทั้งหมดแต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะข้อมูลที่ส่งมาถึง ตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่แอดเดรส (address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือ แพ็กเกจ
  • 15. คือ อุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ- ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่าง จากฮับ คือ การฮับ-ส่งข้อมูลจากสถานีหรือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปยังทุกสถานี เหมือนฮับ ทั้งนี้เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูล หรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่า แอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะ ลดปัญหาการชนกันของข้อมูลเพราะ ไม่ต้อง กระจายข้อมูลไปทุกสถานี และยังมีข้อดีในเรื่อง การป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปใน เครือข่าย
  • 16. คือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลาย ๆ กลุ่มที่เชื่อมต่อกันเนื่องจากสามารถแบ่ง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลาย ๆ เซ็กเมนต์แยก ออกจากกันได้ทาให้ข้อมูลในแต่ละเซ็กเมนต์ไม่ ต้องวิ่งไปทั่วทั้งเครือข่าย กล่าวคือ บริดจ์ สามารถอ่านเฟรมข้อมูลที่ส่งมาได้ว่ามาจาก เครื่องในเซ็กเมนต์ใด จากนั้นจะทาการส่งข้อมูล ไปยังเครื่องซึ่งอาจอยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันหรือ ต่างเซ็กเมนต์ก็ได้ซึ่งความสามารถดังกล่าวทา ให้ช่วยลดปัญหาความคับคั่งของข้อมูลในระบบ ได้
  • 17. คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณเพื่อให้สามารถส่ง ข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอร์จะ ปรับรูปแบบเดิม เพื่อได้สัญญาณสามารถส่ง ต่อไปได้อีก เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายแลน หลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซึ่งความยาวของแต่ละเซ็ก เมนต์นั้นจะมีระยะทางที่จากัด ดังนั้น อุปกรณ์ อย่างรีพีตเตอร์จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้
  • 18. คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถ เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่าน สายโทรศัพท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าที่แปลงสัญญาณ ซึ่งแบ่ง ออกเป็นทั้งภาคส่งและภาครับ โดยภาคส่งจะทาการแปลง สัญญาณคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์ (Digital to Analog) ในขณะที่ภาครับนั้นจะทาการแปลง สัญญาณโทรศัพท์กลับมาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Analog to Digital) ดังนั้น ในการเชื่อมต่อ เครือข่ายระยะไกลๆ เช่น อินเทอร์เน็ต จึงจาเป็นต้องใช้โมเด็ม โดยโมเด็มมีทั้งแบบภายใน (Internal Modem) ที่มีลักษณะเป็นการ์ด โมเด็มภายนอก (External Modem) ที่มีลักษณะเป็นกล่องแยกออกต่างหาก และ รวมถึงโมเด็มที่เป็น PCMCIA ที่มักใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
  • 19. ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมี การเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์ หลายอย่างเข้าด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้า - ออกของข้อมูลได้หลายเส้นทาง และแต่ละ เส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทาหน้าที่หาเส้นทางที่ เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหาเส้นทางต้อง รับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกเส้นทาง ได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรสที่กากับอยู่ เส้นทางนั้น
  • 20. คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล หน้าที่หลัก ของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือ ลักษณะของการเชื่อ ต่อ (Connectivity) ของเครือข่ายที่แตกต่างกัยน และมีโพรโตคอลสาหรับการส่ง - รับข้อมูลต่างกัน เช่น LAN เครือหนึ่งเป็นแบบ Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะ ซิงโครนัส ส่วน LAN อีกเครือข่ายหนึ่งเป็นแบบ Token Ring และใช้โพรโตคอลแบบซิงโครนัสเพื่อให้สามารถ ติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เพื่อกาจัดวงให้แคบ ลงมา เกตเวย์โดยทั่วไปจะใช้เป็นเครื่องมือส่ง - รับข้อมูลกัน ระหว่าง LAN 2 เครือข่ายหรือ LAN กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LAN กับ WAN โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ เช่น X.25 แพ็กเกจ สวิตซ์ เครือข่าย ISDN เทเล็กซ์ หรือเครือข่ายทางไกลอื่น
  • 21. 1.นาย ธนกร ชนะใหม่ เลขที่ 1 2.นาย ธนกฤต บุญชลอ เลขที่ 5 3.นาย สุทธิศักดิ์ ภูมิศรี เลขที่ 11 4.นาย สุรเกียรติ ใจอาษา เลขที่ 26 5.นาง นิราภร ซอมสุข เลขที่ 33