SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
คํานํา

          ร า งพระราชบั ญ ญั ติ คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข ที่ กํ า ลั ง เข า สู ก าร
พิจารณาของสภาฉบับนี้ เปนรางพระราชบัญญัติที่เปนประโยชนตอแพทยและบุคลากรทางการ
แพทย อีกทั้งประชาชนผูรับบริการทางแพทย กลาวคือ เมื่อผูรับบริการหรือประชาชนที่มาใชบริการ
ทางการแพทยไดรับความเสียหายตามกฎหมายยอมมีสิทธิไดรับการชดเชยกวางขวางกวากฎหมาย
ที่มีอยูในปจจุบันกลาวคือ มีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือในเบื้องตนเชนเดียวกับในปจจุบัน ที่ไดรับเงิน
ชวยเหลือในเบื้องตน ตามมาตรา 41 ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545
โดยมีความแตกตางกันก็คือในเรื่องของการกําหนดเงินชดเชย ตามพระราชบัญญัติดังกลาว ไมได
กํ า หนดให มี เ งิ น ชดเชยสํ า หรั บ ผู รั บ บริ ก ารทางการแพทย หรื อ กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง ผู เ สี ย หายทาง
การแพทยจะตองไปฟองรองแพทยที่ศาลเอาเอง แตตามรางพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดกําหนด
วิธีการเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวาง คนไขกับแพทยฯ กลาวคือ ผูเสียหายทางการแพทย
สามารถยื่นขอเรียกรอง คาชดเชยความเสียหาย ตอกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซึ่งเปนหนวยงาน
ราชการผูรับผิดชอบ โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จะตองสงใหคณะอนุกรรมการพิจารณาแลว
เสร็จภายใน 30 วัน หรือขยายระยะเวลาอันสั้นเทานั้น ในกรณีที่คณะอนุกรรมการกําหนดคาชดเชย
ไดพิจารณากําหนดคาชดเชย และผูรับบริการพอใจก็จะมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ
อันมีผลตามกฎหมาย ใหมูลกรณีพิพาทระหวางแพทยกับคนไขเปนที่ยุติในทางแพง สําหรับในดาน
คดีอาญานั้นแมศาลไดพิจารณาแลวเห็นวา แพทยหรือผูใหบริการทางการแพทยกระทําความผิด
ศาลอาจจะไมลงโทษเลยก็ได ซึ่งแตกตางจากปจจุบันที่หากศาลพิจารณาแลวเห็นวาแพทยหรือ
ผูใหบริการทางการแพทยกระทําความผิดคดีอาญา ศาลจะตองลงโทษเทานั้น


                                                      กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
-๒-

                                             (ราง)
           พระราชบัญญัติคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

      มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
สาธารณสุข พ.ศ. .... ”

       คําอธิบาย      :      เพื่อคุมครองผูที่ไดรับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข

            มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต
วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

               คําอธิบาย      :     กําหนดวันที่กฎหมายฉบับนีมีผลใชบังคับ คือเมื่อพนกําหนดหนึ่ง
                                                              ้
รอยแปดสิบวันนับแตวนที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป เพือใหมีการเตรียมความพรอมในดานตางๆ
                    ั                                       ่


            มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
            “ผูเสียหาย” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการรับบริการ
สาธารณสุขจากสถานพยาบาล


              คําอธิบาย      :     คําวา “ผูเสียหาย” หมายถึงบุคคลที่อยูในประเทศไทยทีมารับบริการ
                                                                                       ่
       กรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้
              (1) จากการรับบริการสาธารณสุข
              (2) จากสถานพยาบาลทั้งรัฐและเอกชน


           “สถานพยาบาล” หมายความวา สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล
สถานพยาบาลของรัฐ และของสภากาชาดไทย ทังนี้ ใหรวมถึงสถานบริการสาธารณสุขตามที่
                                          ้
คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขประกาศกําหนด


            คําอธิบาย       :     กําหนดคํานิยามคําวา “สถานพยาบาล” เพื่อใหครอบคลุม
สถานพยาบาลทุกแหง ไมวาจะเปนสถานพยาบาลของรัฐทุกสังกัด และสถานพยาบาลเอกชน
                      




                                                                      ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๓-


                     “บริการสาธารณสุข” หมายความวา บริการดานการแพทยและสาธารณสุขซึ่งไดแก
การประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภตาม
กฎหมายวาดวยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมาย
ว า ด ว ยวิ ช าชี พ ทั น ตกรรม การประกอบวิ ช าชี พ กายภาพบํ า บั ด ตามกฎหมายว า ด ว ยวิ ช าชี พ
กายภาพบําบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเทคนิคการแพทย
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเภสัชกรรม หรือการประกอบวิชาชีพ
ทางการแพทยและสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด และใหรวมถึงการใหบริการอื่นที่
เกี่ยวของตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

              คําอธิบาย      :          กําหนดความหมายใหมีความครอบคลุมทุกองคกรวิชาชีพทางดาน
การสาธารณสุข และเปดชองไปถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนด และใหรวมถึงการใหบริการอื่นที่เกี่ยวของตามที่กําหนดในกฎกระทรวง


               “กองทุน” หมายความวา กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการ
สาธารณสุข
            “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธทดี  ี่
ในระบบบริการสาธารณสุข
            “สํานักงาน” หมายความวา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
            “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้


              มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
              กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวให
ใชบังคับได




                                                                      ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๔-
                                               หมวด ๑
                           การคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
                                             …………..

      มาตรา ๕ ผูเสียหายมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยจากกองทุนตาม
พระราชบัญญัตินี้ โดยไมตองพิสูจนความรับผิด

         อธิบาย :        เปนการกําหนดสิทธิของผูเสียหายที่จะไดรับความคุมครองในการรับเงินชวยเหลือ
เบื้องตนและเงินชดเชยตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยไมตองพิสูจนหาผูกระทําผิด (No-fault compensation)
และไมอยูภายใตเงื่อนไขตามมาตรา 6
         หมายเหตุ เงิ น ช ว ยเหลื อ ในส ว นนี้ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ป จ จุ บั น เป น การกํ า หนดเงิ น ช ว ยเหลื อ
เชนเดียวกับพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มาตรา 41 โดยมีความแตกตางตาม มาตรา 6 มาตรา
33 ซึ่งเปนการกําหนดคาชดเชย และการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ เพื่อเปนการยุติคดีที่ตองฟองรอง
ในทางแพง ซึ่งในปจจุบันนี้ไมมีการกําหนดคาชดเชยดังกลาว หากผูเสียหายตองการคาชดเชยความเสียหาย
จะตองไปฟองรองคดีแพงที่ศาล



         มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้

       คําอธิบาย       :      เปนการกําหนดขอยกเวนกรณีที่ผูเสียหายไมมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตน
และเงินชดเชย เพื่อเปนการกําหนดขอบเขตวาความเสียหายอันใดที่ไมควรไดรับการชวยเหลือเยียวยาตาม
พระราชบัญญัตินี้ โดยแบงเปนกรณีดังตอไปนี้


     (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น แมมีการใหบริการสาธารณสุขตาม
มาตรฐานวิชาชีพ

        คําอธิบาย         :    เปนความเสียหายทีดําเนินไปตามปกติของโรค ตัวอยาง เชน ผูปวยมะเร็งระยะ
สุดทาย ซึ่งเสียชีวิตในสถานพยาบาล




                                                                                       ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๕-
       มาตรา ๖ (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุขตามมาตรฐาน
สภาวิชาชีพ
         อธิบาย :        เปนกรณีความเสียหายที่หลีกเลี่ยงไมไดจากการใหบริการสาธารณสุขถึงแมวาผูปวยจะ
ไดรับการรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพแลวก็ตาม ตัวอยางเชน กรณีการผาตัดเนื้องอกสมองที่เนื้องอกอยูใกล
เสนประสาทหรือเสนเลือดที่สําคัญ ซึ่งก็ยอมมีโอกาสที่จะเกิดผลกระทบกระเทือนตอระบบประสาทหรืออาจทํา
ใหเสียชีวิตไดจากการผาตัด หรือแมไมเสียชีวิตแตผูปวยอาจพิการชั่วคราวหรือตลอดชีวิตได



     มาตรา ๖ (๓) ความเสี ย หายที่ เ มื่ อ สิ้ น สุ ด กระบวนการให บ ริ ก ารสาธารณสุ ข แล ว ไม มี
ผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ

       คําอธิบาย        : เปนกรณีความเสียหายเล็กนอย เชน ผื่นแพยา ไมกี่วันห0าย และไมมีผลกระทบ
ตอการดํารงชีวิต



        ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจประกาศกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใตหลักเกณฑดังกลาว
ขางตนได

           คําอธิบาย       :       เปนการเปดชองไวเพื่อใหมีการปรับปรุงไดตามความเหมาะสมในอนาคต ทั้งนี้
เพื่อใหกฎหมายนี้มีความยืดหยุน เหมาะสมกับสถานการณและวิธีการรักษาที่พัฒนาตอไปเรื่อย ๆ ในอนาคต
ทั้งนี้ตองอยูภายใตหลักเกณฑทั้ง 3 ขอดังกลาว



                                           หมวด ๒
              คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
                                  ................................

      มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่
ดีในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบดวย
            (๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ


                                                                          ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๖-
               (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ
คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
               (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จํานวนสามคน
               (๔) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานคุมครองสิทธิผบริโภคดานบริการ
                                                                         ู
สุขภาพ จํานวนสามคน
               (๕) ผูทรงคุณวุฒิจํานวนหาคนซึ่งรัฐมนตรีแตงตังจากผูท่มีความเชี่ยวชาญดาน
                                                             ้        ี
เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร สื่อสารมวลชน สิทธิมนุษยชน และการเจรจาไกลเกลี่ยสาธารณสุข ดาน
ละหนึ่งคน
               การคัดเลือกและแตงตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ(๕) ใหเปนไปตาม
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
               ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนกรรมการและเลขานุการ และใหอธิบดี
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพแตงตั้งเจาหนาที่ของสํานักงานจํานวนไมเกินสองคนเปน
ผูชวยเลขานุการ

                      คําอธิบาย       :      กําหนดองคประกอบของคณะกรรมการเสริมสรางความสัมพันธที่ดี
ในระบบบริการสาธารณสุข เนื่องจากคณะกรรมการชุดนี้มีบทบาทในการกําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อ
คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากรรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข พั ฒ นาระบบความปลอดภั ย การสนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม
ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข กําหนดระเบียบหลักเกณฑเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน และ
หลักเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ องคประกอบของคณะกรรมการจึงประกอบดวยตัวแทน
หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของซึ่งเปนกรรมการโดยตําแหนง และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของโดยมีสัดสวนที่เทากัน
ระหวางผูรับบริการ(จํานวน ๓ คน) และผูใหบริการ (จํานวน ๓ คน) และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเปนกลางและ
เปนผูที่มีความรูความเชี่ยวชาญในดานตางๆ โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธาน และมี
อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้มีจํานวนรวมทั้งหมดไมเกิน
๑๙ คน


              มาตรา ๘ กรรมการตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดํารง
ตําแหนงคราวละสี่ป และอาจไดรับคัดเลือกหรือแตงตั้งใหมอีกได แตจะดํารงตําแหนงเกินกวาสอง
วาระติดตอกันไมได  
              เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการคัดเลือกหรือแตงตั้ง
กรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบติหนาที่
                                                                                 ั

                                                                           ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๗-
ตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับคัดเลือกหรือไดรับแตงตั้งเขารับหนาที่ แตตองไมเกินเกาสิบวัน
นับแตวันที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระนั้น
                ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหดําเนินการ
คัดเลือกหรือแตงตังกรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงกรรมการ
                    ้
นั้นวางลงและใหผูไดรับคัดเลือกหรือไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระ
ที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน
                ในกรณีที่วาระของกรรมการที่พนจากตําแหนงกอนครบวาระเหลืออยูไมถงเกาสิบวัน
                                                                                       ึ
จะไมดําเนินการคัดเลือกหรือแตงตั้งกรรมการแทนตําแหนงที่วางนั้นก็ได และในการนี้ให
คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการเทาที่เหลืออยู
       คําอธิบาย     :       เปนการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ

               มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง
กรรมการตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พนจากตําแหนงเมื่อ
               (๑) ตาย
               (๒) ลาออก
               (๓) เปนบุคคลลมละลาย
               (๔) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
               (๕) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตโทษสําหรับความผิด
ที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
               (๖) รัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่ หรือหยอน
ความสามารถ

       คําอธิบาย     :       กําหนดการพนจากตําแหนงของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ



             มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
             (๑) กําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุมครองผูเสียหาย พัฒนาระบบ
ความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย และการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและการสรางเสริม
ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
             (๒) กําหนดระเบียบการจายเงินสมทบกองทุนตามมาตรา ๒๑
             (๓) กําหนดระเบียบการรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน
ตามมาตรา ๒๓ รวมทั้งระเบียบเกี่ยวกับคาพาหนะ คาเชาที่พัก และคาปวยการตามมาตรา ๑๘
วรรคสอง
                                                                   ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๘-
               (๔) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามมาตรา ๒๕
ระเบียบการจายเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๙ และระเบียบการจายเงินชดเชยตาม
มาตรา ๓๒
               (๕) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการอุทธรณและวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ
ตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๓๑
               (๖) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการทําสัญญาประนีประนอมยอมความตามมาตรา ๓๓
และการดําเนินการไกลเกลี่ย สัญญาประนีประนอมยอมความ และคาตอบแทนของผูไกลเกลี่ยตาม
                                                                              
มาตรา ๓๙
               (๗) จัดประชุมรับฟงความเห็นของสถานพยาบาลและผูรับบริการสาธารณสุข
เพื่อรับทราบปญหาขอเสนอแนะในการสงเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกัน
ความเสียหาย รวมทั้งการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข
                                                                  ี่
               (๘) กําหนดนโยบายการบริหารงาน และใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานของ
สํานักงาน
               (๙) จัดทําบัญชีรายชื่อผูไกลเกลี่ยตามมาตรา ๓๙ โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู
ความเขาใจ หรือมีประสบการณเหมาะสมกับการทําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาทสาธารณสุข
               (๑๐) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและการ
สรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขและพิจารณาอนุมัติเงินกองทุนเพื่อใชจาย
ในการสนับสนุนกิจกรรมตามมาตรา ๔๓
               (๑๑) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอืนกําหนดใหเปน
                                                                        ่
อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
               ในการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจมอบหมายหรือมอบอํานาจ
ใหสํานักงานเปนผูดําเนินการแทนได

         คําอธิบาย      :       กําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการโดยคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ใน
การกําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุมครองผูเสียหาย พัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย
และการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ตลอดจนกําหนด
ระเบียบเกี่ยวกับการรับ การบริหารจัดการเงินกองทุน การยื่นคําขอรับเงินคาเสียหาย กําหนดหลักเกณฑและ
วิธีการอุทธรณ การทําสัญญาประนีประนอมยอมความและการไกลเกลี่ย จัดทําบัญชีรายชื่อผูไกลเกลี่ย กําหนด
นโยบายในการบริหารงาน และกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการสนับสนุนการไกลเกลี่ยตลอดจน
พิจารณาอนุมัติเงินกองทุนเพื่อใชจายในการสนับสนุนกิจกรรมดานการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกัน
ความเสียหายของสถานพยาบาล



                                                                      ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๙-


                มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา      
กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม
                ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุม
หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม
                การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่ง
ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปน
เสียงชี้ขาด
                ในการประชุม ถามีการพิจารณาเรื่องที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูใดมีสวน
ไดเสีย ประธานกรรมการหรือกรรมการผูนั้นมีหนาที่แจงใหคณะกรรมการทราบและมีสิทธิเขาชี้แจง
ขอเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นแตไมมีสิทธิเขารวมประชุมและลงคะแนนเสียง
                วิธีการประชุมและการมีสวนไดเสียซึ่งประธานกรรมการหรือกรรมการมีหนาที่ตอง
แจง ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด
              คําอธิบาย     :      กําหนดเรื่องการประชุม



                มาตรา ๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อใหปฏิบัติหนาที่
ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ดังนี้
                (๑) คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๗
ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานการคุมครอง
ผูบริโภค ดานละหนึ่งคน และผูแทนสถานพยาบาลและผูแทนผูรับบริการสาธารณสุข ฝายละหนึ่งคน
                (๒) คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยตามมาตรา ๓๐ ประกอบดวย
ผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานสังคมสงเคราะห ดานการแพทยและสาธารณสุข ดานการฟนฟู
สมรรถภาพ และดานการคุมครองผูบริโภค ดานละหนึ่งคน
                (๓) คณะอนุกรรมการอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร
                หลักเกณฑและวิธีการการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง และ
เขตพื้นที่รับผิดชอบของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ใหเปนไปตามที่
คณะกรรมการกําหนด
                ประธานคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่คณะอนุกรรมการแตละ
คณะเลือกกันเอง


                                                                  ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๐-


               ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพหรือนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดที่อธิบดี
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพมอบหมายแตงตั้งเจาหนาที่ในสํานักงานหรือเจาหนาที่ในสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด แลวแตกรณี เปนฝายเลขานุการ
              ในการแตงตั้งคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจแตงตั้งมากกวา
หนึ่งคณะก็ได
              ใหนํามาตรา ๑๑ มาใชบังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีสวนไดเสียของ
คณะอนุกรรมการและอนุกรรมการโดยอนุโลม

                  คําอธิบาย  :     กําหนดใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการ โดย
องคประกอบของคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๑๒ (๑) มีสัดสวนของผูที่
เกี่ยวของ และผูแทนสถานพยาบาล และผูแทนผูรับบริการที่เทาๆกัน และองคประกอบของคณะอนุกรรมการ
ประเมินเงินชดเชย ตามมาตรา ๑๒ (๒) ประกอบดวยผูที่มีความรูที่เกี่ยวกับการพิจารณาประเมินเงินชดเชย


               มาตรา ๑๓ ใหมีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณซงรัฐมนตรีแตงตั้ง ประกอบดวย
                                                            ึ่
ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานการแพทยและ
สาธารณสุข ดานสังคมสงเคราะห ดานการฟนฟูสมรรถภาพ และดานการคุมครองผูบริโภค ดานละ
หนึ่งคน และผูแทนสถานพยาบาลและผูแทนผูรับบริการสาธารณสุข ฝายละหนึ่งคน
               การแตงตั้งฝายเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ใหนํามาตรา ๑๒ วรรคสี่
มาใชบังคับโดยอนุโลม
               หลักเกณฑและวิธีการการไดมาและเขตพื้นที่รับผิดชอบของคณะกรรมการวินิจฉัย
อุทธรณ ใหเปนไปตามทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด
                        ่
               ในการแตงตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ รัฐมนตรีอาจแตงตั้งมากกวาหนึ่งคณะ
ก็ได
               ใหนํามาตรา ๑๑ มาใชบังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีสวนไดเสียของ
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและกรรมการวินิจฉัยอุทธรณโดยอนุโลม

               คําอธิบาย       :       กํ า ห น ด อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ นิ จ ฉั ย อุ ท ธ ร ณ
ซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิดานตางๆ และผูแทนสถานพยาบาลและผูรับบริการสาธารณสุขในสัดสวนที่เทากัน



                                                                                    ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๑-
            มาตรา ๑๔ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณมีอํานาจหนาที่พิจารณาและวินิจฉัย
อุทธรณตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๓๑

               คําอธิบาย       :      กําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ โดยมีอํานาจ
หนาที่พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินจฉัยไมรับคํา
                                                                                         ิ
ขอของผูเสียหาย และกรณีทผูเสียหายไมพอใจจํานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยกําหนด
                           ี่



                มาตรา ๑๕ ใหกรรมการวินิจฉัยอุทธรณอยูในตําแหนงคราวละสามป
                กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกไดแตจะแตงตั้งติดตอกันเกิน
สองวาระไมได
                ใหนํามาตรา ๙ มาใชบังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณดวยโดยอนุโลม

                คําอธิบาย      :       กําหนดวาระในการดํารงตําแหนงของกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ



                  มาตรา ๑๖ ใหประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ
กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ ไดรับเบี้ยประชุม คาพาหนะ
คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก และประโยชนตอบแทนอื่นในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

             คําอธิบาย   :             กําหนดเรื่องเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัย
อุทธรณ และคณะอนุกรรมการ

            มาตรา ๑๗ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหประธานกรรมการ
กรรมการ ประธานกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ประธานอนุกรรมการ หรือ
อนุกรรมการ เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

                มาตรา ๑๘ ใหคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ หรือ
คณะอนุกรรมการ มีอํานาจสั่งใหสถานพยาบาล ผูเสียหายหรือทายาท บุคคล หนวยงาน หรือ
องคกรที่เกี่ยวของ ทําหนังสือชี้แจงขอเท็จจริง หรือมาใหถอยคําดวยตนเอง หรือสงขอมูลหรือ
เอกสารหลักฐานตามกําหนดเวลาที่เห็นสมควร
                                                                        ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๒-
               ใหบุคคลที่มาใหถอยคําดวยตนเองตามวรรคหนึ่งไดรับคาพาหนะ คาเชาที่พัก และ
คาปวยการ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

               คําอธิบาย    :     กําหนดคําสั่งใหผูเกี่ยวของมาชี้แจงขอมูล เพื่อใหคณะกรรมการ
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ หรือคณะอนุกรรมการ สามารถไดขอเท็จจริงจากแหลงตางๆ อันเปนประโยชน
ตอการดําเนินการได

               มาตรา ๑๙ ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนสํานักงานเลขานุการของ
คณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและคณะอนุกรรมการ และมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
               (๑) รับและตรวจสอบคําขอรับเงินคาเสียหายและคําอุทธรณตามพระราชบัญญัตินี้
               (๒) ประสานงานกับสถานพยาบาลเพื่อใหสงเวชระเบียนของผูเสียหายหรือขอมูล
เอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวของ ใหคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณหรือ
คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๘
               (๓) ประสานงานกับหนวยงานของรัฐ องคกร หรือบุคคลใด ๆ เพื่อขอทราบ
ขอเท็จจริงหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
               (๔) รับ จาย และเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุนเพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
               (๕) เก็บ รวบรวม วิเคราะหขอมูลการจายเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้และ
วิธีปองกันความเสียหายเพื่อเผยแพรตอสาธารณชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ
               (๖) สนับสนุนการดําเนินงานตามมาตรการสงเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและ
ปองกันความเสียหาย รวมทั้งการสรางเสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข
                                                       ี่
               (๗) มอบใหหนวยงานของรัฐ องคกร หรือบุคคลอื่นทํากิจการที่อยูภายในอํานาจ
หนาที่ของสํานักงานตามพระราชบัญญัตินี้
               (๘) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับผลงานและอุปสรรคในการดําเนินงานของ
คณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ คณะอนุกรรมการ และสํานักงาน เพื่อเผยแพรตอ
สาธารณชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ
               (๙ ) ประชาสัมพันธและแจงผูยื่นคําขอและประชาชนทั่วไปเพื่อความเขาใจหลักการ
และเหตุผล ขั้นตอน วิธีการ และเงื่อนไขการใชสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้
               (๑๐) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย




                                                                     ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๓-
                 คําอธิบาย :             กํ า หนดให ก รมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพทํ า หน า ที่ เ ป น สํ า นั ก งาน
เลขานุการ โดยมีอํานาจหนาที่รับและตรวจสอบคําขอรับเงินคาเสียหายและคําอุทธรณ ประสานงานกับหนวยงาน
หรือบุคคลใด ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลหรือขอเท็จจริง ทําหนาที่รับ จาย และเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุน
สนับสนุนการดําเนินงานตามมาตรการสงเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย จัดทํารายงาน
ประจําป ตลอดจนประชาสัมพันธและแจงใหผูยื่นคําขอและประชาชนทั่วไปเพื่อเขาใจในขั้นตอนและสิทธิตาม
พระราชบัญญัตินี้



                                           หมวด ๓
                    กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข



               มาตรา ๒๐ ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงาน เรียกวา “กองทุนสราง
เสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข” โดยมีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้
                    ี่
               (๑) เพื่อจายเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยใหแกผูเสียหายหรือทายาท
               (๒) เพื่อชําระคาสินไหมทดแทนตามคําพิพากษาตามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕
               (๓) เปนคาใชจายสนับสนุนหรือสงเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาระบบ
ความปลอดภัยและปองกันความเสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ และ
               (๔) เปนคาใชจายเพื่อการพัฒนาระบบการไกลเกลี่ยและการสรางเสริม
ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
               คณะกรรมการอาจจัดสรรเงินจากกองทุนที่ไดรับจากเงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ
และเงินที่รัฐบาลอุดหนุน เพื่อเปนคาใชจายตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๘ และเปนคาใชจายใน
การบริหารของสํานักงานในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินี้ ตามความจําเปนได
แตไมเกินรอยละสิบตอปของจํานวนเงินดังกลาว

                 คําอธิบาย      :       กําหนดวัตถุประสงคของกองทุน โดยใหกองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อ
จายเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยใหแกผูเสียหายหรือทายาท เพื่อชําระคาสินไหมทดแทนตามคํา
พิพากษา เปนคาใชจายสนับสนุนหรือสงเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความ
เสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ และเปนคาใชจายเพื่อการพัฒนาระบบการไกลเกลี่ยและสรางเสริม
ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข



                                                                                    ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๔-
                 การกําหนดใหคณะกรรมการจัดสรรเงินจากกองทุนไมเกินรอยละสิบตอป ตามมาตรา ๒๐ วรรค
สอง เพื่อเปนคาใชจายของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ หรือเปนคาพาหนะ คาเชาที่พักและคาปวยการของผูมา
                    
ใหขอมูลกับคณะกรรมการ/อนุกรรมการ


                 มาตรา ๒๑ สถานพยาบาลตองจายเงินสมทบเขากองทุนตามหลักเกณฑ วิธีการ
และอัตราที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงขนาดของสถานพยาบาล จํานวน
ผูรับบริการสาธารณสุข ความถี่หรือความรุนแรงของการเกิดความเสียหาย การประชาสัมพันธและ
การแจงใหผูรับบริการสาธารณสุขทราบเกี่ยวกับการใชสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ การประสานงาน
เพื่อใหผูเสียหายหรือทายาทยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้ การสนับสนุนการไกล
เกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข และการพัฒนาระบบความ
ปลอดภัยและปองกันความเสียหาย
                 หากสถานพยาบาลไมสงเงินสมทบเขากองทุนหรือสงภายหลังระยะเวลาที่กําหนด หรือ
สงเงินไมครบตามจํานวนที่ตองสง ใหเสียเงินเพิ่มในอัตรารอยละสองตอเดือนของจํานวนเงินที่ไมสง
หรือสงภายหลังระยะเวลาที่กําหนดหรือจํานวนเงินที่สงขาดไป แลวแตกรณี นับแตวันครบกําหนดสง
จนถึงวันที่สงเงินสมทบเขากองทุน
                 การคํานวณเงินเพิ่มตามวรรคสอง เศษของเดือนใหคํานวณเปนรายวัน
                 สถานพยาบาลใดไมจายเงินสมทบตามวรรคหนึ่งหรือไมเสียเงินเพิ่มตามวรรคสอง
ใหนําบทบัญญัติเกี่ยวกับการบังคับทางปกครองตามกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
มาใชบังคับ และในกรณีที่ไมมีเจาหนาที่ดําเนินการบังคับ ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพมี
อํานาจฟองคดีตอศาลปกครองเพื่อบังคับชําระเงินดังกลาว ในการนี้ถาศาลปกครองเห็นวาการให
ชําระเงินนั้นชอบดวยกฎหมาย ก็ใหศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาและบังคับคดีใหมีการ
ยึดหรืออายัดทรัพยสินเพื่อใหชําระเงินนั้นได

             คําอธิบาย         :       มาตรา ๒๑ วรรคสอง เปนมาตรการเชิงบังคับทางกฎหมาย เพื่อให
สถานพยาบาลต อ งจ า ยเงิ น สมทบเข า กองทุ น หากไม กํ า หนดไว จ ะทํ า ให ก ฎหมายไม มี ส ภาพใช บั ง คั บ ได
สถานพยาบาลก็จะไมจายเงินสมทบเขากองทุน ซึ่งเปนการทําใหกองทุนนี้ไมสามารถเกิดขึ้นได




                                                                               ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๕-


              มาตรา ๒๒ กองทุนประกอบดวย
              (๑) เงินที่โอนมาจากเงินตามมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
              (๒) เงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ
              (๓) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
              (๔) เงินเพิ่มตามมาตรา ๒๑ วรรคสอง
              (๕) เงินหรือทรัพยสินทีมีผูบริจาคหรือมอบใหกองทุน
                                     ่
              (๖) ดอกผลหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุน
              เงินและทรัพยสินตามวรรคหนึ่งไมตองสงคลังเปนรายไดแผนดิน
              ในการเสนอขอรับเงินอุดหนุนตามวรรคหนึ่ง (๓) ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของ
คณะกรรมการจัดทําคําขอตอคณะรัฐมนตรี

               คําอธิบาย        :     กํ า หนดที่ มาของเงิ นกองทุ น โดยประกอบไปด วยเงิ นที่ โอนมาจาก
เงินตามมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินเพิ่มตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง เงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคหรือมอบให รวมทั้งดอก
ผลหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุน



              มาตรา ๒๓ ใหสํานักงานเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุนและดําเนินการ
เบิกจายเงินกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้
              การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ใหเปนไปตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

               คําอธิบาย    :      เรื่องการบริหารจัดการกองทุนไดกําหนดใหสํานักงานเก็บรักษาเงิน
และทรั พยสินของกองทุนและดําเนินการเบิกจายเงินกองทุน ตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนดโดยความ
เห็นชอบของกระทรวงการคลัง




                                                                        ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๖-

                 มาตรา ๒๔ ภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปงบประมาณตามกฎหมายวาดวย
วิธีการงบประมาณ ใหคณะกรรมการเสนองบการเงินและรายงานการรับจายเงินของกองทุนในป
ที่ลวงมาซึ่งสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือบุคคลภายนอกตามที่คณะกรรมการแตงตั้งดวย
ความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบและรับรองแลวตอคณะรัฐมนตรีเพื่อ
ทราบ
                 งบการเงินและรายงานการรับจายเงินดังกลาว ใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรี
เพื่อนําเสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ และจัดใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา

              คําอธิบาย       :      กําหนดเรื่องการควบคุมตรวจสอบการดําเนินการของกองทุน โดย
คณะกรรมการจะตองเสนองบการเงินและรายงานการรับจายเงินของกองทุนซึ่งผานความเห็นชอบของสํานักงาน
การตรวจเงินแผนดินตอคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปงบประมาณตามกฎหมายวาดวย
วิธีการงบประมาณ โดยงบการเงินและรายงานดังกลาวใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรีเพื่อนําเสนอตอสภา
ผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ และจัดใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา



                                         หมวด ๔
                     การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย



                 มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้
ตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความ
เสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความเสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแต
วันที่รูถึงความเสียหาย
                 ในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชีวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคําขอดวย
ตนเองได บิดามารดา คูสมรส ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งไดรบมอบหมายั
เปนหนังสือจากผูเสียหาย แลวแตกรณี อาจยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งได
                 การยื่นคําขอตามมาตรานีจะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ทังนี้ ตามวิธีการ
                                          ้                                      ้
รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ



                                                                    ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๗-
                คําอธิบาย        :        กําหนดระยะเวลา ขั้นตอนและวิธีการในการยื่นคําขอ ดังนี้
                                 ๑) ผูมีสิทธิยื่นคําขอ ไดกําหนดใหผูเสียหาย หรือกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชีวิต
เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคําขอดวยตนเองได ก็ใหบิดามารดา คูสมรส ทายาทหรือผูอนุบาล หรือ
บุคคลหนึ่งบุคคลใดที่ไดรับมอบหมายเปนหนังสือจากผูเสียหาย อาจยื่นคําขอได
                                 ๒) วิธีการยื่นคําขอ จะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ตามระเบียบที่
คณะกรรมการกําหนด โดยยื่นตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด
                                 ๓) ระยะเวลาในการยื่นคําขอ อาจยื่นคําขอภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความ
เสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความเสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความ
เสียหาย
                เจตนา เพื่อใหระยะเวลาเทียบเทากับอายุความในพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค เพื่อ
ตองการใหผูปวยมาใชชองทางในพระราชบัญญัตินี้แทนที่ จะไปยื่นฟองตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี
ผูบริโภค



               มาตรา ๒๖ เมื่อมีการยื่นคําขอตามมาตรา ๒๕ ภายในอายุความทางแพงในมูล
ละเมิดอันเนื่องมาจากการใหบริการสาธารณสุขแลว ใหอายุความนั้นสะดุดหยุดอยูไมนบในระหวาง
                                                                              ั
นั้นจนกวาการพิจารณาคําขอเงินชดเชยนั้นจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคําขอตามมาตรา
๓๔ วรรคหนึ่ง

                คําอธิบาย     :         กําหนดเรื่องผลของการยื่นคําขอ หากมีการยื่นคําขอภายในอายุความ
ทางแพงในมูลละเมิดอันเนื่องมาจากการใหบริการสาธารณสุขแลว ใหอายุความนั้นสะดุดหยุดอยูไมนับในระหวาง
นั้นจนกวาการพิจารณาคําขอจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคําขอ ทั้งนี้ เพื่อไมใหผูยื่นคํารองมีความกังวล
วาจะหมดอายุความ



                มาตรา ๒๗ ใหสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด แลวแตกรณี
สงคําขอตามมาตรา ๒๕ ใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนภายในเจ็ดวันนับแต
วันที่ไดรับคําขอ และใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยคําขอใหแลวเสร็จ
ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ หากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนเห็น
วาเปนผูเสียหายตามมาตรา ๕ และไมอยูในบังคับตามมาตรา ๖ ใหวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือ
เบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท
                ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตน
ออกไปไดไมเกินสองครั้ง ครั้งละไมเกินสิบหาวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยาย

                                                                              ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๘-
ระยะเวลาทุกครั้งไวดวย หากการพิจารณายังไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ขยายดังกลาว ใหถือ
วาคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือเบื้องตน
และใหจายเงินชวยเหลือเบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท
               คําวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนที่วินิจฉัยจายเงิน
ชวยเหลือเบื้องตนใหเปนที่สุด

                   คําอธิบาย     :       เปนเรื่องการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน โดยกําหนดให
คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนเปนผูพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน หากมีการพิสูจน
ไดวาเปนผูเสียหายตามรางมาตรา ๕ และไมเขาขอยกเวนตามรางมาตรา ๖ ก็จะมีการพิจารณาจายเงินกอนแรก
ซึ่งอาจจะเปนจํานวนที่ไมมากนักโดยมุงเนนใหผูเสียหายไดรับการเยียวยาความเสียหายในเบื้องตนโดยเร็ว
ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ และในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาการพิจารณาไปไดไมเกิน
สองครั้ง ครั้งละไมเกินสิบหาวัน ถาการพิจารณายังไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ขยายดังกลาวใหถือวา
คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและใหจายเงินชวยเหลือ
เบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท ซึ่งกระบวนการพิจารณาดังกลาวจะเปนการทําใหผูเสียหายเกิดความมั่นใจ
วาจะไดรับการพิจารณาในกรอบเวลาที่เหมาะสม ไมยืดเยื้อจนทําใหรูสึกวามีการดึงหรือชะลอเรื่องไว


                มาตรา ๒๘ หากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัย
ไมรับคําขอ ใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและแจงใหผูยื่นคําขอทราบโดยเร็ว ในการนี้
ผูยื่นคําขออาจเสนอขอมูลหรือเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการวินิจฉัย
อุทธรณก็ได
                ใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่
ไดรับเรื่องอุทธรณ ถายังพิจารณาไมแลวเสร็จใหขยายระยะเวลาออกไปไดอกไมเกินสามสิบวัน
                                                                        ี
                เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณวินิจฉัยรับคําขอ ใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ
พิจารณากําหนดจํานวนเงินชวยเหลือเบื้องตนดวย
                คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณใหเปนที่สุด

                  คําอธิบาย        :        เปนเรื่องการอุทธรณในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงิน
ชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัยไมรับคําขอของผูเสียหาย โดยกําหนดใหในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาให
เงินชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัยไมรับคําขอของผูเสียหาย ใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณา
ในทันที ซึ่งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน ถายังพิจารณาไมแลวเสร็จให
ขยายระยะเวลาออกไปไดอีกไมเกินสามสิบวันใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณาในทันที ซึ่ง
คณะกรรมการวิ นิ จฉั ยอุ ทธรณ ต องพิ จารณาให แล วเสร็จภายในสามสิ บวั น ถ ายั งพิ จารณาไมแล วเสร็จ ใหข ยาย
ระยะเวลาออกไปไดอีกไมเกินสามสิบวัน
                                                                               ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
-๑๙-
                การกําหนดใหคณะอนุกรรมการพิจารณาชวยเหลือเบื้องตน/สงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัย
อุทธรณเลย เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกตอผูเสียหาย รวมทั้ งใหมีการสอบสวนในการพิจารณาในชั้น
อุทธรณอีกครั้ง

               มาตรา ๒๙ การพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนของคณะอนุกรรมการพิจารณา
ใหเงินชวยเหลือเบื้องตนและคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ
เงื่อนไข และอัตราที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ

                 มาตรา ๓๐ ใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนหรือ
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ แลวแตกรณี สงคําขอใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยภายใน
เจ็ดวันนับแตวันที่มีคําวินิจฉัยหรือถือวามีคําวินิจฉัยใหจายเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๗
หรือนับแตวันที่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณมีคาวินิจฉัยใหรับคําขอ
                                                    ํ
ตามมาตรา ๒๘
                 ใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยพิจารณาจายเงินชดเชยโดยคํานึงถึงหลักการ
เกี่ยวกับการชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
                 ใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยวินิจฉัยคําขอใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับ
แตวันที่ไดรับเรื่องจากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนหรือคณะกรรมการวินิจฉัย
อุทธรณ แลวแตกรณี ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง ครั้งละไมเกิน
สิบหาวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไวดวย

                 คําอธิบาย     :        มาตรานี้เปนการกําหนดเรื่องการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมีการ
กําหนดกรอบเวลาแลวเสร็จ เพื่อใหเกิดความมั่นใจ รวมทั้งกําหนดใหพิจารณาจายโดยคํานึงถึงหลักการเกี่ยวกับ
การชดใชคาสินไหมทดแทน เพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เพื่อใหการพิจารณาจายเงิน
ชดเชยมีความเหมาะสมและไดสัดสวนกับความเสียหายที่ไดรับจริง โดยใชหลักการเดียวกับศาล ทั้งนี้เพื่อเปนการ
ดึงใหผูเสียหายมาใชชองกฎหมายนี้แทนที่จะไปฟองรองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

                มาตรา ๓๑ หากผูยื่นคําขอไมเห็นดวยกับจํานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการ
ประเมินเงินชดเชยไดวินิจฉัย ผูยื่นคําขอมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณภายในสามสิบ
วันนับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชย โดยยื่นอุทธรณตอ
สํานักงาน และใหสํานักงานสงคําอุทธรณใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณภายในเจ็ดวันนับแตวันที่
ไดรับคําอุทธรณ


                                                                        ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข

More Related Content

What's hot

ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...Utai Sukviwatsirikul
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553JantongDiamond1
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550อลงกรณ์ อารามกูล
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

What's hot (17)

ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
what
whatwhat
what
 

Viewers also liked

วันเด็ก
วันเด็กวันเด็ก
วันเด็กdentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อdentyomaraj
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาdentyomaraj
 
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...dentyomaraj
 

Viewers also liked (8)

วันเด็ก
วันเด็กวันเด็ก
วันเด็ก
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อ
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011
 
Are you happy
Are you happyAre you happy
Are you happy
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...
ต้นฉบับ โครงการ..ฟันยิ้ม..รากฟันเทียมพระราชทาน สัมมนาปฏิบัติการฝังรากเทียม จั...
 

Similar to ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข

ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาสปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
พรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลพรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลpatty_sb
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2larnpho
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556อินทนนท์ อินทนพ
 

Similar to ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข (20)

8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
 
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกันระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
2523
25232523
2523
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
พรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลพรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาล
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
 

More from dentyomaraj

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pdentyomaraj
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55dentyomaraj
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012dentyomaraj
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunamidentyomaraj
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubdentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะdentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechdentyomaraj
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัวdentyomaraj
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgerydentyomaraj
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ roojdentyomaraj
 

More from dentyomaraj (20)

ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัว
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 

ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข

  • 1. คํานํา ร า งพระราชบั ญ ญั ติ คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข ที่ กํ า ลั ง เข า สู ก าร พิจารณาของสภาฉบับนี้ เปนรางพระราชบัญญัติที่เปนประโยชนตอแพทยและบุคลากรทางการ แพทย อีกทั้งประชาชนผูรับบริการทางแพทย กลาวคือ เมื่อผูรับบริการหรือประชาชนที่มาใชบริการ ทางการแพทยไดรับความเสียหายตามกฎหมายยอมมีสิทธิไดรับการชดเชยกวางขวางกวากฎหมาย ที่มีอยูในปจจุบันกลาวคือ มีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือในเบื้องตนเชนเดียวกับในปจจุบัน ที่ไดรับเงิน ชวยเหลือในเบื้องตน ตามมาตรา 41 ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 โดยมีความแตกตางกันก็คือในเรื่องของการกําหนดเงินชดเชย ตามพระราชบัญญัติดังกลาว ไมได กํ า หนดให มี เ งิ น ชดเชยสํ า หรั บ ผู รั บ บริ ก ารทางการแพทย หรื อ กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง ผู เ สี ย หายทาง การแพทยจะตองไปฟองรองแพทยที่ศาลเอาเอง แตตามรางพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดกําหนด วิธีการเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวาง คนไขกับแพทยฯ กลาวคือ ผูเสียหายทางการแพทย สามารถยื่นขอเรียกรอง คาชดเชยความเสียหาย ตอกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซึ่งเปนหนวยงาน ราชการผูรับผิดชอบ โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จะตองสงใหคณะอนุกรรมการพิจารณาแลว เสร็จภายใน 30 วัน หรือขยายระยะเวลาอันสั้นเทานั้น ในกรณีที่คณะอนุกรรมการกําหนดคาชดเชย ไดพิจารณากําหนดคาชดเชย และผูรับบริการพอใจก็จะมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ อันมีผลตามกฎหมาย ใหมูลกรณีพิพาทระหวางแพทยกับคนไขเปนที่ยุติในทางแพง สําหรับในดาน คดีอาญานั้นแมศาลไดพิจารณาแลวเห็นวา แพทยหรือผูใหบริการทางการแพทยกระทําความผิด ศาลอาจจะไมลงโทษเลยก็ได ซึ่งแตกตางจากปจจุบันที่หากศาลพิจารณาแลวเห็นวาแพทยหรือ ผูใหบริการทางการแพทยกระทําความผิดคดีอาญา ศาลจะตองลงโทษเทานั้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
  • 2. -๒- (ราง) พระราชบัญญัติคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... ” คําอธิบาย : เพื่อคุมครองผูที่ไดรับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป คําอธิบาย : กําหนดวันที่กฎหมายฉบับนีมีผลใชบังคับ คือเมื่อพนกําหนดหนึ่ง ้ รอยแปดสิบวันนับแตวนที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป เพือใหมีการเตรียมความพรอมในดานตางๆ ั ่ มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ผูเสียหาย” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุขจากสถานพยาบาล คําอธิบาย : คําวา “ผูเสียหาย” หมายถึงบุคคลที่อยูในประเทศไทยทีมารับบริการ ่ กรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ (1) จากการรับบริการสาธารณสุข (2) จากสถานพยาบาลทั้งรัฐและเอกชน “สถานพยาบาล” หมายความวา สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล สถานพยาบาลของรัฐ และของสภากาชาดไทย ทังนี้ ใหรวมถึงสถานบริการสาธารณสุขตามที่ ้ คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขประกาศกําหนด คําอธิบาย : กําหนดคํานิยามคําวา “สถานพยาบาล” เพื่อใหครอบคลุม สถานพยาบาลทุกแหง ไมวาจะเปนสถานพยาบาลของรัฐทุกสังกัด และสถานพยาบาลเอกชน  ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 3. -๓- “บริการสาธารณสุข” หมายความวา บริการดานการแพทยและสาธารณสุขซึ่งไดแก การประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภตาม กฎหมายวาดวยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมาย ว า ด ว ยวิ ช าชี พ ทั น ตกรรม การประกอบวิ ช าชี พ กายภาพบํ า บั ด ตามกฎหมายว า ด ว ยวิ ช าชี พ กายภาพบําบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเทคนิคการแพทย การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเภสัชกรรม หรือการประกอบวิชาชีพ ทางการแพทยและสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด และใหรวมถึงการใหบริการอื่นที่ เกี่ยวของตามที่กําหนดในกฎกระทรวง คําอธิบาย : กําหนดความหมายใหมีความครอบคลุมทุกองคกรวิชาชีพทางดาน การสาธารณสุข และเปดชองไปถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศ กําหนด และใหรวมถึงการใหบริการอื่นที่เกี่ยวของตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “กองทุน” หมายความวา กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการ สาธารณสุข “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธทดี ี่ ในระบบบริการสาธารณสุข “สํานักงาน” หมายความวา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวให ใชบังคับได ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 4. -๔- หมวด ๑ การคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ………….. มาตรา ๕ ผูเสียหายมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยจากกองทุนตาม พระราชบัญญัตินี้ โดยไมตองพิสูจนความรับผิด อธิบาย : เปนการกําหนดสิทธิของผูเสียหายที่จะไดรับความคุมครองในการรับเงินชวยเหลือ เบื้องตนและเงินชดเชยตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยไมตองพิสูจนหาผูกระทําผิด (No-fault compensation) และไมอยูภายใตเงื่อนไขตามมาตรา 6 หมายเหตุ เงิ น ช ว ยเหลื อ ในส ว นนี้ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ป จ จุ บั น เป น การกํ า หนดเงิ น ช ว ยเหลื อ เชนเดียวกับพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มาตรา 41 โดยมีความแตกตางตาม มาตรา 6 มาตรา 33 ซึ่งเปนการกําหนดคาชดเชย และการทําสัญญาประนีประนอมยอมความ เพื่อเปนการยุติคดีที่ตองฟองรอง ในทางแพง ซึ่งในปจจุบันนี้ไมมีการกําหนดคาชดเชยดังกลาว หากผูเสียหายตองการคาชดเชยความเสียหาย จะตองไปฟองรองคดีแพงที่ศาล มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ คําอธิบาย : เปนการกําหนดขอยกเวนกรณีที่ผูเสียหายไมมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตน และเงินชดเชย เพื่อเปนการกําหนดขอบเขตวาความเสียหายอันใดที่ไมควรไดรับการชวยเหลือเยียวยาตาม พระราชบัญญัตินี้ โดยแบงเปนกรณีดังตอไปนี้ (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น แมมีการใหบริการสาธารณสุขตาม มาตรฐานวิชาชีพ คําอธิบาย : เปนความเสียหายทีดําเนินไปตามปกติของโรค ตัวอยาง เชน ผูปวยมะเร็งระยะ สุดทาย ซึ่งเสียชีวิตในสถานพยาบาล ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 5. -๕- มาตรา ๖ (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุขตามมาตรฐาน สภาวิชาชีพ อธิบาย : เปนกรณีความเสียหายที่หลีกเลี่ยงไมไดจากการใหบริการสาธารณสุขถึงแมวาผูปวยจะ ไดรับการรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพแลวก็ตาม ตัวอยางเชน กรณีการผาตัดเนื้องอกสมองที่เนื้องอกอยูใกล เสนประสาทหรือเสนเลือดที่สําคัญ ซึ่งก็ยอมมีโอกาสที่จะเกิดผลกระทบกระเทือนตอระบบประสาทหรืออาจทํา ใหเสียชีวิตไดจากการผาตัด หรือแมไมเสียชีวิตแตผูปวยอาจพิการชั่วคราวหรือตลอดชีวิตได มาตรา ๖ (๓) ความเสี ย หายที่ เ มื่ อ สิ้ น สุ ด กระบวนการให บ ริ ก ารสาธารณสุ ข แล ว ไม มี ผลกระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติ คําอธิบาย : เปนกรณีความเสียหายเล็กนอย เชน ผื่นแพยา ไมกี่วันห0าย และไมมีผลกระทบ ตอการดํารงชีวิต ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจประกาศกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใตหลักเกณฑดังกลาว ขางตนได คําอธิบาย : เปนการเปดชองไวเพื่อใหมีการปรับปรุงไดตามความเหมาะสมในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อใหกฎหมายนี้มีความยืดหยุน เหมาะสมกับสถานการณและวิธีการรักษาที่พัฒนาตอไปเรื่อย ๆ ในอนาคต ทั้งนี้ตองอยูภายใตหลักเกณฑทั้ง 3 ขอดังกลาว หมวด ๒ คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ................................ มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ ดีในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบดวย (๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 6. -๖- (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จํานวนสามคน (๔) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานคุมครองสิทธิผบริโภคดานบริการ ู สุขภาพ จํานวนสามคน (๕) ผูทรงคุณวุฒิจํานวนหาคนซึ่งรัฐมนตรีแตงตังจากผูท่มีความเชี่ยวชาญดาน ้ ี เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร สื่อสารมวลชน สิทธิมนุษยชน และการเจรจาไกลเกลี่ยสาธารณสุข ดาน ละหนึ่งคน การคัดเลือกและแตงตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ(๕) ใหเปนไปตาม หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนกรรมการและเลขานุการ และใหอธิบดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพแตงตั้งเจาหนาที่ของสํานักงานจํานวนไมเกินสองคนเปน ผูชวยเลขานุการ คําอธิบาย : กําหนดองคประกอบของคณะกรรมการเสริมสรางความสัมพันธที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข เนื่องจากคณะกรรมการชุดนี้มีบทบาทในการกําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อ คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากรรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข พั ฒ นาระบบความปลอดภั ย การสนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข กําหนดระเบียบหลักเกณฑเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน และ หลักเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ องคประกอบของคณะกรรมการจึงประกอบดวยตัวแทน หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของซึ่งเปนกรรมการโดยตําแหนง และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของโดยมีสัดสวนที่เทากัน ระหวางผูรับบริการ(จํานวน ๓ คน) และผูใหบริการ (จํานวน ๓ คน) และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเปนกลางและ เปนผูที่มีความรูความเชี่ยวชาญในดานตางๆ โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธาน และมี อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้มีจํานวนรวมทั้งหมดไมเกิน ๑๙ คน มาตรา ๘ กรรมการตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดํารง ตําแหนงคราวละสี่ป และอาจไดรับคัดเลือกหรือแตงตั้งใหมอีกได แตจะดํารงตําแหนงเกินกวาสอง วาระติดตอกันไมได   เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการคัดเลือกหรือแตงตั้ง กรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบติหนาที่ ั ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 7. -๗- ตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับคัดเลือกหรือไดรับแตงตั้งเขารับหนาที่ แตตองไมเกินเกาสิบวัน นับแตวันที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระนั้น ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหดําเนินการ คัดเลือกหรือแตงตังกรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงกรรมการ ้ นั้นวางลงและใหผูไดรับคัดเลือกหรือไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระ ที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน ในกรณีที่วาระของกรรมการที่พนจากตําแหนงกอนครบวาระเหลืออยูไมถงเกาสิบวัน ึ จะไมดําเนินการคัดเลือกหรือแตงตั้งกรรมการแทนตําแหนงที่วางนั้นก็ได และในการนี้ให คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการเทาที่เหลืออยู คําอธิบาย : เปนการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง กรรมการตามมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เปนบุคคลลมละลาย (๔) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (๕) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตโทษสําหรับความผิด ที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๖) รัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่ หรือหยอน ความสามารถ คําอธิบาย : กําหนดการพนจากตําแหนงของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุมครองผูเสียหาย พัฒนาระบบ ความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย และการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและการสรางเสริม ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข (๒) กําหนดระเบียบการจายเงินสมทบกองทุนตามมาตรา ๒๑ (๓) กําหนดระเบียบการรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ตามมาตรา ๒๓ รวมทั้งระเบียบเกี่ยวกับคาพาหนะ คาเชาที่พัก และคาปวยการตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 8. -๘- (๔) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามมาตรา ๒๕ ระเบียบการจายเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๙ และระเบียบการจายเงินชดเชยตาม มาตรา ๓๒ (๕) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการอุทธรณและวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๓๑ (๖) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการทําสัญญาประนีประนอมยอมความตามมาตรา ๓๓ และการดําเนินการไกลเกลี่ย สัญญาประนีประนอมยอมความ และคาตอบแทนของผูไกลเกลี่ยตาม  มาตรา ๓๙ (๗) จัดประชุมรับฟงความเห็นของสถานพยาบาลและผูรับบริการสาธารณสุข เพื่อรับทราบปญหาขอเสนอแนะในการสงเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกัน ความเสียหาย รวมทั้งการไกลเกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข ี่ (๘) กําหนดนโยบายการบริหารงาน และใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานของ สํานักงาน (๙) จัดทําบัญชีรายชื่อผูไกลเกลี่ยตามมาตรา ๓๙ โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู ความเขาใจ หรือมีประสบการณเหมาะสมกับการทําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาทสาธารณสุข (๑๐) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและการ สรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุขและพิจารณาอนุมัติเงินกองทุนเพื่อใชจาย ในการสนับสนุนกิจกรรมตามมาตรา ๔๓ (๑๑) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอืนกําหนดใหเปน ่ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ในการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจมอบหมายหรือมอบอํานาจ ใหสํานักงานเปนผูดําเนินการแทนได คําอธิบาย : กําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการโดยคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ใน การกําหนดนโยบายและมาตรการเพื่อคุมครองผูเสียหาย พัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย และการสนับสนุนการไกลเกลี่ยและสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ตลอดจนกําหนด ระเบียบเกี่ยวกับการรับ การบริหารจัดการเงินกองทุน การยื่นคําขอรับเงินคาเสียหาย กําหนดหลักเกณฑและ วิธีการอุทธรณ การทําสัญญาประนีประนอมยอมความและการไกลเกลี่ย จัดทําบัญชีรายชื่อผูไกลเกลี่ย กําหนด นโยบายในการบริหารงาน และกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการสนับสนุนการไกลเกลี่ยตลอดจน พิจารณาอนุมัติเงินกองทุนเพื่อใชจายในการสนับสนุนกิจกรรมดานการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกัน ความเสียหายของสถานพยาบาล ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 9. -๙- มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา  กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุม หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่ง ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปน เสียงชี้ขาด ในการประชุม ถามีการพิจารณาเรื่องที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูใดมีสวน ไดเสีย ประธานกรรมการหรือกรรมการผูนั้นมีหนาที่แจงใหคณะกรรมการทราบและมีสิทธิเขาชี้แจง ขอเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นแตไมมีสิทธิเขารวมประชุมและลงคะแนนเสียง วิธีการประชุมและการมีสวนไดเสียซึ่งประธานกรรมการหรือกรรมการมีหนาที่ตอง แจง ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด คําอธิบาย : กําหนดเรื่องการประชุม มาตรา ๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ดังนี้ (๑) คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๗ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานการแพทยและสาธารณสุข และดานการคุมครอง ผูบริโภค ดานละหนึ่งคน และผูแทนสถานพยาบาลและผูแทนผูรับบริการสาธารณสุข ฝายละหนึ่งคน (๒) คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยตามมาตรา ๓๐ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานสังคมสงเคราะห ดานการแพทยและสาธารณสุข ดานการฟนฟู สมรรถภาพ และดานการคุมครองผูบริโภค ดานละหนึ่งคน (๓) คณะอนุกรรมการอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร หลักเกณฑและวิธีการการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง และ เขตพื้นที่รับผิดชอบของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ใหเปนไปตามที่ คณะกรรมการกําหนด ประธานคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่คณะอนุกรรมการแตละ คณะเลือกกันเอง ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 10. -๑๐- ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพหรือนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดที่อธิบดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพมอบหมายแตงตั้งเจาหนาที่ในสํานักงานหรือเจาหนาที่ในสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด แลวแตกรณี เปนฝายเลขานุการ ในการแตงตั้งคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจแตงตั้งมากกวา หนึ่งคณะก็ได ใหนํามาตรา ๑๑ มาใชบังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีสวนไดเสียของ คณะอนุกรรมการและอนุกรรมการโดยอนุโลม คําอธิบาย : กําหนดใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการ โดย องคประกอบของคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๑๒ (๑) มีสัดสวนของผูที่ เกี่ยวของ และผูแทนสถานพยาบาล และผูแทนผูรับบริการที่เทาๆกัน และองคประกอบของคณะอนุกรรมการ ประเมินเงินชดเชย ตามมาตรา ๑๒ (๒) ประกอบดวยผูที่มีความรูที่เกี่ยวกับการพิจารณาประเมินเงินชดเชย มาตรา ๑๓ ใหมีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณซงรัฐมนตรีแตงตั้ง ประกอบดวย ึ่ ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิดานนิติศาสตร ดานการแพทยและ สาธารณสุข ดานสังคมสงเคราะห ดานการฟนฟูสมรรถภาพ และดานการคุมครองผูบริโภค ดานละ หนึ่งคน และผูแทนสถานพยาบาลและผูแทนผูรับบริการสาธารณสุข ฝายละหนึ่งคน การแตงตั้งฝายเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ใหนํามาตรา ๑๒ วรรคสี่ มาใชบังคับโดยอนุโลม หลักเกณฑและวิธีการการไดมาและเขตพื้นที่รับผิดชอบของคณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณ ใหเปนไปตามทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ่ ในการแตงตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ รัฐมนตรีอาจแตงตั้งมากกวาหนึ่งคณะ ก็ได ใหนํามาตรา ๑๑ มาใชบังคับกับการประชุม วิธีการประชุม และการมีสวนไดเสียของ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและกรรมการวินิจฉัยอุทธรณโดยอนุโลม คําอธิบาย : กํ า ห น ด อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ นิ จ ฉั ย อุ ท ธ ร ณ ซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิดานตางๆ และผูแทนสถานพยาบาลและผูรับบริการสาธารณสุขในสัดสวนที่เทากัน ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 11. -๑๑- มาตรา ๑๔ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณมีอํานาจหนาที่พิจารณาและวินิจฉัย อุทธรณตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๓๑ คําอธิบาย : กําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ โดยมีอํานาจ หนาที่พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินจฉัยไมรับคํา ิ ขอของผูเสียหาย และกรณีทผูเสียหายไมพอใจจํานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยกําหนด ี่ มาตรา ๑๕ ใหกรรมการวินิจฉัยอุทธรณอยูในตําแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกไดแตจะแตงตั้งติดตอกันเกิน สองวาระไมได ใหนํามาตรา ๙ มาใชบังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณดวยโดยอนุโลม คําอธิบาย : กําหนดวาระในการดํารงตําแหนงของกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ มาตรา ๑๖ ใหประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ประธานอนุกรรมการ หรืออนุกรรมการ ไดรับเบี้ยประชุม คาพาหนะ คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก และประโยชนตอบแทนอื่นในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง คําอธิบาย : กําหนดเรื่องเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณ และคณะอนุกรรมการ มาตรา ๑๗ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ประธานอนุกรรมการ หรือ อนุกรรมการ เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ ใหคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ หรือ คณะอนุกรรมการ มีอํานาจสั่งใหสถานพยาบาล ผูเสียหายหรือทายาท บุคคล หนวยงาน หรือ องคกรที่เกี่ยวของ ทําหนังสือชี้แจงขอเท็จจริง หรือมาใหถอยคําดวยตนเอง หรือสงขอมูลหรือ เอกสารหลักฐานตามกําหนดเวลาที่เห็นสมควร ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 12. -๑๒- ใหบุคคลที่มาใหถอยคําดวยตนเองตามวรรคหนึ่งไดรับคาพาหนะ คาเชาที่พัก และ คาปวยการ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง คําอธิบาย : กําหนดคําสั่งใหผูเกี่ยวของมาชี้แจงขอมูล เพื่อใหคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ หรือคณะอนุกรรมการ สามารถไดขอเท็จจริงจากแหลงตางๆ อันเปนประโยชน ตอการดําเนินการได มาตรา ๑๙ ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนสํานักงานเลขานุการของ คณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและคณะอนุกรรมการ และมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) รับและตรวจสอบคําขอรับเงินคาเสียหายและคําอุทธรณตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ประสานงานกับสถานพยาบาลเพื่อใหสงเวชระเบียนของผูเสียหายหรือขอมูล เอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวของ ใหคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณหรือ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๘ (๓) ประสานงานกับหนวยงานของรัฐ องคกร หรือบุคคลใด ๆ เพื่อขอทราบ ขอเท็จจริงหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) รับ จาย และเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุนเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ (๕) เก็บ รวบรวม วิเคราะหขอมูลการจายเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้และ วิธีปองกันความเสียหายเพื่อเผยแพรตอสาธารณชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ (๖) สนับสนุนการดําเนินงานตามมาตรการสงเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและ ปองกันความเสียหาย รวมทั้งการสรางเสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข ี่ (๗) มอบใหหนวยงานของรัฐ องคกร หรือบุคคลอื่นทํากิจการที่อยูภายในอํานาจ หนาที่ของสํานักงานตามพระราชบัญญัตินี้ (๘) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับผลงานและอุปสรรคในการดําเนินงานของ คณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ คณะอนุกรรมการ และสํานักงาน เพื่อเผยแพรตอ สาธารณชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ (๙ ) ประชาสัมพันธและแจงผูยื่นคําขอและประชาชนทั่วไปเพื่อความเขาใจหลักการ และเหตุผล ขั้นตอน วิธีการ และเงื่อนไขการใชสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ (๑๐) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 13. -๑๓- คําอธิบาย : กํ า หนดให ก รมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพทํ า หน า ที่ เ ป น สํ า นั ก งาน เลขานุการ โดยมีอํานาจหนาที่รับและตรวจสอบคําขอรับเงินคาเสียหายและคําอุทธรณ ประสานงานกับหนวยงาน หรือบุคคลใด ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลหรือขอเท็จจริง ทําหนาที่รับ จาย และเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุน สนับสนุนการดําเนินงานตามมาตรการสงเสริมพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหาย จัดทํารายงาน ประจําป ตลอดจนประชาสัมพันธและแจงใหผูยื่นคําขอและประชาชนทั่วไปเพื่อเขาใจในขั้นตอนและสิทธิตาม พระราชบัญญัตินี้ หมวด ๓ กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข มาตรา ๒๐ ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงาน เรียกวา “กองทุนสราง เสริมความสัมพันธทดีในระบบบริการสาธารณสุข” โดยมีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ ี่ (๑) เพื่อจายเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยใหแกผูเสียหายหรือทายาท (๒) เพื่อชําระคาสินไหมทดแทนตามคําพิพากษาตามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ (๓) เปนคาใชจายสนับสนุนหรือสงเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาระบบ ความปลอดภัยและปองกันความเสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ และ (๔) เปนคาใชจายเพื่อการพัฒนาระบบการไกลเกลี่ยและการสรางเสริม ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข คณะกรรมการอาจจัดสรรเงินจากกองทุนที่ไดรับจากเงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ และเงินที่รัฐบาลอุดหนุน เพื่อเปนคาใชจายตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๘ และเปนคาใชจายใน การบริหารของสํานักงานในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินี้ ตามความจําเปนได แตไมเกินรอยละสิบตอปของจํานวนเงินดังกลาว คําอธิบาย : กําหนดวัตถุประสงคของกองทุน โดยใหกองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อ จายเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยใหแกผูเสียหายหรือทายาท เพื่อชําระคาสินไหมทดแทนตามคํา พิพากษา เปนคาใชจายสนับสนุนหรือสงเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความ เสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ และเปนคาใชจายเพื่อการพัฒนาระบบการไกลเกลี่ยและสรางเสริม ความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 14. -๑๔- การกําหนดใหคณะกรรมการจัดสรรเงินจากกองทุนไมเกินรอยละสิบตอป ตามมาตรา ๒๐ วรรค สอง เพื่อเปนคาใชจายของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ หรือเปนคาพาหนะ คาเชาที่พักและคาปวยการของผูมา  ใหขอมูลกับคณะกรรมการ/อนุกรรมการ มาตรา ๒๑ สถานพยาบาลตองจายเงินสมทบเขากองทุนตามหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงขนาดของสถานพยาบาล จํานวน ผูรับบริการสาธารณสุข ความถี่หรือความรุนแรงของการเกิดความเสียหาย การประชาสัมพันธและ การแจงใหผูรับบริการสาธารณสุขทราบเกี่ยวกับการใชสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ การประสานงาน เพื่อใหผูเสียหายหรือทายาทยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้ การสนับสนุนการไกล เกลี่ยและการสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข และการพัฒนาระบบความ ปลอดภัยและปองกันความเสียหาย หากสถานพยาบาลไมสงเงินสมทบเขากองทุนหรือสงภายหลังระยะเวลาที่กําหนด หรือ สงเงินไมครบตามจํานวนที่ตองสง ใหเสียเงินเพิ่มในอัตรารอยละสองตอเดือนของจํานวนเงินที่ไมสง หรือสงภายหลังระยะเวลาที่กําหนดหรือจํานวนเงินที่สงขาดไป แลวแตกรณี นับแตวันครบกําหนดสง จนถึงวันที่สงเงินสมทบเขากองทุน การคํานวณเงินเพิ่มตามวรรคสอง เศษของเดือนใหคํานวณเปนรายวัน สถานพยาบาลใดไมจายเงินสมทบตามวรรคหนึ่งหรือไมเสียเงินเพิ่มตามวรรคสอง ใหนําบทบัญญัติเกี่ยวกับการบังคับทางปกครองตามกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาใชบังคับ และในกรณีที่ไมมีเจาหนาที่ดําเนินการบังคับ ใหอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพมี อํานาจฟองคดีตอศาลปกครองเพื่อบังคับชําระเงินดังกลาว ในการนี้ถาศาลปกครองเห็นวาการให ชําระเงินนั้นชอบดวยกฎหมาย ก็ใหศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาและบังคับคดีใหมีการ ยึดหรืออายัดทรัพยสินเพื่อใหชําระเงินนั้นได คําอธิบาย : มาตรา ๒๑ วรรคสอง เปนมาตรการเชิงบังคับทางกฎหมาย เพื่อให สถานพยาบาลต อ งจ า ยเงิ น สมทบเข า กองทุ น หากไม กํ า หนดไว จ ะทํ า ให ก ฎหมายไม มี ส ภาพใช บั ง คั บ ได สถานพยาบาลก็จะไมจายเงินสมทบเขากองทุน ซึ่งเปนการทําใหกองทุนนี้ไมสามารถเกิดขึ้นได ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 15. -๑๕- มาตรา ๒๒ กองทุนประกอบดวย (๑) เงินที่โอนมาจากเงินตามมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ (๒) เงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ (๓) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (๔) เงินเพิ่มตามมาตรา ๒๑ วรรคสอง (๕) เงินหรือทรัพยสินทีมีผูบริจาคหรือมอบใหกองทุน ่ (๖) ดอกผลหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุน เงินและทรัพยสินตามวรรคหนึ่งไมตองสงคลังเปนรายไดแผนดิน ในการเสนอขอรับเงินอุดหนุนตามวรรคหนึ่ง (๓) ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของ คณะกรรมการจัดทําคําขอตอคณะรัฐมนตรี คําอธิบาย : กํ า หนดที่ มาของเงิ นกองทุ น โดยประกอบไปด วยเงิ นที่ โอนมาจาก เงินตามมาตรา ๔๑ แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เงินที่สถานพยาบาลจายสมทบ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินเพิ่มตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง เงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคหรือมอบให รวมทั้งดอก ผลหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุน มาตรา ๒๓ ใหสํานักงานเก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุนและดําเนินการ เบิกจายเงินกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้ การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ใหเปนไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง คําอธิบาย : เรื่องการบริหารจัดการกองทุนไดกําหนดใหสํานักงานเก็บรักษาเงิน และทรั พยสินของกองทุนและดําเนินการเบิกจายเงินกองทุน ตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนดโดยความ เห็นชอบของกระทรวงการคลัง ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 16. -๑๖- มาตรา ๒๔ ภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปงบประมาณตามกฎหมายวาดวย วิธีการงบประมาณ ใหคณะกรรมการเสนองบการเงินและรายงานการรับจายเงินของกองทุนในป ที่ลวงมาซึ่งสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือบุคคลภายนอกตามที่คณะกรรมการแตงตั้งดวย ความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบและรับรองแลวตอคณะรัฐมนตรีเพื่อ ทราบ งบการเงินและรายงานการรับจายเงินดังกลาว ใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรี เพื่อนําเสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ และจัดใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา คําอธิบาย : กําหนดเรื่องการควบคุมตรวจสอบการดําเนินการของกองทุน โดย คณะกรรมการจะตองเสนองบการเงินและรายงานการรับจายเงินของกองทุนซึ่งผานความเห็นชอบของสํานักงาน การตรวจเงินแผนดินตอคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปงบประมาณตามกฎหมายวาดวย วิธีการงบประมาณ โดยงบการเงินและรายงานดังกลาวใหรัฐมนตรีเสนอตอนายกรัฐมนตรีเพื่อนําเสนอตอสภา ผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ และจัดใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา หมวด ๔ การพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชย มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้ ตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความ เสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความเสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแต วันที่รูถึงความเสียหาย ในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชีวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคําขอดวย ตนเองได บิดามารดา คูสมรส ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งไดรบมอบหมายั เปนหนังสือจากผูเสียหาย แลวแตกรณี อาจยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งได การยื่นคําขอตามมาตรานีจะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ทังนี้ ตามวิธีการ ้ ้ รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 17. -๑๗- คําอธิบาย : กําหนดระยะเวลา ขั้นตอนและวิธีการในการยื่นคําขอ ดังนี้ ๑) ผูมีสิทธิยื่นคําขอ ไดกําหนดใหผูเสียหาย หรือกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชีวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคําขอดวยตนเองได ก็ใหบิดามารดา คูสมรส ทายาทหรือผูอนุบาล หรือ บุคคลหนึ่งบุคคลใดที่ไดรับมอบหมายเปนหนังสือจากผูเสียหาย อาจยื่นคําขอได ๒) วิธีการยื่นคําขอ จะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด โดยยื่นตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ๓) ระยะเวลาในการยื่นคําขอ อาจยื่นคําขอภายในสามปนับแตวันที่รูถึงความ เสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความเสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความ เสียหาย เจตนา เพื่อใหระยะเวลาเทียบเทากับอายุความในพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค เพื่อ ตองการใหผูปวยมาใชชองทางในพระราชบัญญัตินี้แทนที่ จะไปยื่นฟองตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี ผูบริโภค มาตรา ๒๖ เมื่อมีการยื่นคําขอตามมาตรา ๒๕ ภายในอายุความทางแพงในมูล ละเมิดอันเนื่องมาจากการใหบริการสาธารณสุขแลว ใหอายุความนั้นสะดุดหยุดอยูไมนบในระหวาง ั นั้นจนกวาการพิจารณาคําขอเงินชดเชยนั้นจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคําขอตามมาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง คําอธิบาย : กําหนดเรื่องผลของการยื่นคําขอ หากมีการยื่นคําขอภายในอายุความ ทางแพงในมูลละเมิดอันเนื่องมาจากการใหบริการสาธารณสุขแลว ใหอายุความนั้นสะดุดหยุดอยูไมนับในระหวาง นั้นจนกวาการพิจารณาคําขอจะถึงที่สุดหรือมีการยุติการพิจารณาคําขอ ทั้งนี้ เพื่อไมใหผูยื่นคํารองมีความกังวล วาจะหมดอายุความ มาตรา ๒๗ ใหสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด แลวแตกรณี สงคําขอตามมาตรา ๒๕ ใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนภายในเจ็ดวันนับแต วันที่ไดรับคําขอ และใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยคําขอใหแลวเสร็จ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ หากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนเห็น วาเปนผูเสียหายตามมาตรา ๕ และไมอยูในบังคับตามมาตรา ๖ ใหวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือ เบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตน ออกไปไดไมเกินสองครั้ง ครั้งละไมเกินสิบหาวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยาย ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 18. -๑๘- ระยะเวลาทุกครั้งไวดวย หากการพิจารณายังไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ขยายดังกลาว ใหถือ วาคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือเบื้องตน และใหจายเงินชวยเหลือเบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท คําวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนที่วินิจฉัยจายเงิน ชวยเหลือเบื้องตนใหเปนที่สุด คําอธิบาย : เปนเรื่องการพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน โดยกําหนดให คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนเปนผูพิจารณาจายเงินชวยเหลือเบื้องตน หากมีการพิสูจน ไดวาเปนผูเสียหายตามรางมาตรา ๕ และไมเขาขอยกเวนตามรางมาตรา ๖ ก็จะมีการพิจารณาจายเงินกอนแรก ซึ่งอาจจะเปนจํานวนที่ไมมากนักโดยมุงเนนใหผูเสียหายไดรับการเยียวยาความเสียหายในเบื้องตนโดยเร็ว ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ และในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาการพิจารณาไปไดไมเกิน สองครั้ง ครั้งละไมเกินสิบหาวัน ถาการพิจารณายังไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่ขยายดังกลาวใหถือวา คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนวินิจฉัยจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและใหจายเงินชวยเหลือ เบื้องตนใหแกผูเสียหายหรือทายาท ซึ่งกระบวนการพิจารณาดังกลาวจะเปนการทําใหผูเสียหายเกิดความมั่นใจ วาจะไดรับการพิจารณาในกรอบเวลาที่เหมาะสม ไมยืดเยื้อจนทําใหรูสึกวามีการดึงหรือชะลอเรื่องไว มาตรา ๒๘ หากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัย ไมรับคําขอ ใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณและแจงใหผูยื่นคําขอทราบโดยเร็ว ในการนี้ ผูยื่นคําขออาจเสนอขอมูลหรือเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณก็ได ใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ ไดรับเรื่องอุทธรณ ถายังพิจารณาไมแลวเสร็จใหขยายระยะเวลาออกไปไดอกไมเกินสามสิบวัน ี เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณวินิจฉัยรับคําขอ ใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ พิจารณากําหนดจํานวนเงินชวยเหลือเบื้องตนดวย คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณใหเปนที่สุด คําอธิบาย : เปนเรื่องการอุทธรณในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงิน ชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัยไมรับคําขอของผูเสียหาย โดยกําหนดใหในกรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาให เงินชวยเหลือเบื้องตนมีคําวินิจฉัยไมรับคําขอของผูเสียหาย ใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณา ในทันที ซึ่งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน ถายังพิจารณาไมแลวเสร็จให ขยายระยะเวลาออกไปไดอีกไมเกินสามสิบวันใหสงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณพิจารณาในทันที ซึ่ง คณะกรรมการวิ นิ จฉั ยอุ ทธรณ ต องพิ จารณาให แล วเสร็จภายในสามสิ บวั น ถ ายั งพิ จารณาไมแล วเสร็จ ใหข ยาย ระยะเวลาออกไปไดอีกไมเกินสามสิบวัน ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554
  • 19. -๑๙- การกําหนดใหคณะอนุกรรมการพิจารณาชวยเหลือเบื้องตน/สงเรื่องใหคณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณเลย เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกตอผูเสียหาย รวมทั้ งใหมีการสอบสวนในการพิจารณาในชั้น อุทธรณอีกครั้ง มาตรา ๒๙ การพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนของคณะอนุกรรมการพิจารณา ใหเงินชวยเหลือเบื้องตนและคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ มาตรา ๓๐ ใหคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนหรือ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ แลวแตกรณี สงคําขอใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยภายใน เจ็ดวันนับแตวันที่มีคําวินิจฉัยหรือถือวามีคําวินิจฉัยใหจายเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา ๒๗ หรือนับแตวันที่คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณมีคาวินิจฉัยใหรับคําขอ ํ ตามมาตรา ๒๘ ใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยพิจารณาจายเงินชดเชยโดยคํานึงถึงหลักการ เกี่ยวกับการชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ใหคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชยวินิจฉัยคําขอใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับ แตวันที่ไดรับเรื่องจากคณะอนุกรรมการพิจารณาใหเงินชวยเหลือเบื้องตนหรือคณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณ แลวแตกรณี ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ใหขยายระยะเวลาออกไปไดไมเกินสองครั้ง ครั้งละไมเกิน สิบหาวัน แตตองบันทึกเหตุผลและความจําเปนในการขยายระยะเวลาทุกครั้งไวดวย คําอธิบาย : มาตรานี้เปนการกําหนดเรื่องการพิจารณาจายเงินชดเชย ซึ่งมีการ กําหนดกรอบเวลาแลวเสร็จ เพื่อใหเกิดความมั่นใจ รวมทั้งกําหนดใหพิจารณาจายโดยคํานึงถึงหลักการเกี่ยวกับ การชดใชคาสินไหมทดแทน เพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เพื่อใหการพิจารณาจายเงิน ชดเชยมีความเหมาะสมและไดสัดสวนกับความเสียหายที่ไดรับจริง โดยใชหลักการเดียวกับศาล ทั้งนี้เพื่อเปนการ ดึงใหผูเสียหายมาใชชองกฎหมายนี้แทนที่จะไปฟองรองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๑ หากผูยื่นคําขอไมเห็นดวยกับจํานวนเงินชดเชยที่คณะอนุกรรมการ ประเมินเงินชดเชยไดวินิจฉัย ผูยื่นคําขอมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณภายในสามสิบ วันนับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการประเมินเงินชดเชย โดยยื่นอุทธรณตอ สํานักงาน และใหสํานักงานสงคําอุทธรณใหคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ ไดรับคําอุทธรณ ฉบับปรับปรุงวันที่ 7 มกราคม 2554