SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ชาวฉุกเฉินสบายใจ..ไมถูกฟอง ?

                      ไพศาล ลิ้มสถิตย
               ศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร
            คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
   การประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน ครั้งที่ 15 “ฉุกเฉินกาวไกล”
                       11 กรกฎาคม 2555
                                                                   1




 เนื้อหาการบรรยาย
การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน
                         
สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน
ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากร
ทางการแพทยและสาธารณสุข


                                                                       2




                                                                           1
มูลเหตุของปญหาความสัมพันธจาก
         การใหบริการสาธารณสุข (บริการสุขภาพ)
 1. รูปแบบของการใหบริการรักษาผูปวยเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต
 2. ภาระงานของบุคลากรทางการแพทย และความคาดหวังของผูปวย
    หรือผูรับบริการสาธารณสุข
 3. ปญหาทักษะการสื่อสารของฝายผูใหการรักษา(แพทย, พยาบาล)
 4. การขาดความเขาใจกฎหมายของผูปฏิบัติงาน และกฎหมายที่
    ลาสมัย ขาดกลไกระงับขอพิพาทที่เหมาะสม
 5. การสรางกระแสใหเกิดความกลัว ความหวาดระแวงวา
    จะถูกรองเรียน ถูกฟองรองตามกฎหมาย
                                                                                       3




       ปฏิญญาวาดวย “สิทธิผูปวย” ของแพทยสมาคมโลก
       (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient)
                แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ และนายไพศาล ลิมสถิตย
                                                               ้

3. สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
   ก. ผูปวยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองโดยอิสระ โดยที่แพทยจะตองแจงใหผูปวย
   ทราบถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจนั้น
4. ผูปวยที่ไมรูสึกตัว
   ก. กรณีผูปวยไมรูสึกตัวหรือไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองได แพทยจะตอง
   ไดรับความยินยอมจากผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมายที่ไดรับการอธิบายขอมูลแลว
   ข. กรณีที่ไมอาจมีผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมาย เมื่อมีความจําเปนรีบดวนที่จะตองให
   การรักษาทางการแพทย ใหสันนิษฐานวาผูปวยใหความยินยอมแลว เวนแตเปนที่
   ชัดเจนและปราศจากขอสงสัยวาจะขัดตอการแสดงเจตนาหรือความคิดเห็นแตเดิมของ
   ผูปวย ซึ่งประสงคจะไมใหความยินยอมในสภาพการณเชนนั้น
   ค. อยางไรก็ตาม แพทยควรจะพยายามชวยชีวิตของผูปวยที่ไมรสึกตัวในทุกกรณีที่
                                                                ู
   ผูปวยพยายามจะฆาตัวตาย                                                             4




                                                                                            2
ประกาศสิทธิผูปวย (16 เมษายน 2541)
         เพื่อใหความสัมพันธระหวางผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพกับผูปวย ตั้งอยู
   บนพื้นฐานของความเขาใจอันดีและเปนที่ไววางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภา
   การพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบ
   โรคศิลปะ จึงไดรวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผูปวยไว ดังตอไปนี้
1. ผูปวยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะไดรับบริการดานสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว
   ในรัฐธรรมนูญ
2. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับบริการจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยไมมี
   การเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกตางดานฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ
   ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บปวย
                                                                                    5




      ประกาศสิทธิผูปวย (16 เมษายน 2541)
3. ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสทธิที่จะไดรับทราบขอมูลอยาง
                                        ิ
   เพียงพอและเขาใจชัดเจนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ เพื่อใหผปวย    ู
   สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไมยินยอมใหผูประกอบวิชาชีพ
   ดานสุขภาพปฏิบัตตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน
                        ิ
4. ผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวต มีสิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือ
                                          ิ
   รีบดวนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยทันทีตามความจําเปนแก
                   
   กรณี โดยไมคานึงวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือหรือไม
                     ํ      

                                                                                    6




                                                                                        3
การใหความยินยอมของผูปวยตามกฎหมาย
            คือ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ 2550




                                                                   7




            มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550


       มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรดานสาธารณสุขตองแจง
ขอมูลดานสุขภาพที่เกี่ยวของกับการใหบริการใหผูรับบริการทราบอยาง
เพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไมรับ
บริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรับบริการใด จะใหบริการนั้น
มิได
       ในกรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแกผูรับบริการเพราะเหตุที่
ผูรับบริการปกปดขอเท็จจริงที่ตนรูและควรบอกใหแจง หรือแจงขอความ
อันเปนเท็จ ผูใหบริการไมตองรับผิดชอบในความเสียหายหรืออันตรายนั้น
               
เวนแตเปนกรณีที่ผูใหบริการประมาทเลินเลออยางรายแรง
                                                                        8




                                                                            4
มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 (ตอ)

     ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบงคับกับกรณีดงตอไปนี้
                             ั           ั
     (1) ผูรับบริการอยูในภาวะทีเ่ สี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจําเปนตอง
ใหความชวยเหลือเปนการรีบดวน
     (2) ผูรับบริการไมอยูในฐานะที่จะรับทราบขอมูลได และไมอาจแจงให
บุคคลซึ่งเปนทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ผูปกครอง ผูปกครองดูแล ผูพิทักษ หรือผูอนุบาลของผูรับบริการ แลวแตกรณี
รับทราบขอมูลแทนในขณะนั้นได
                                                                                9




       นิยามสําคัญใน พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551

“การแพทยฉุกเฉิน” หมายความวา การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา การ
ฝกอบรม การคนควาและการวิจัยเกี่ยวกับการประเมิน การจัดการ การ
บําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน และการปองกันการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน
“ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวย
กะทันหัน ซึ่งเปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ
จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและการบําบัดรักษาอยางทันทวงทีเพื่อ
ปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น

                                                                               10




                                                                                    5
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง
  หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและมาตรฐาน
                                    
  การปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. 2554
“(1) ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวย
กะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามตอชีวิต ซึ่งหากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทนทีั
เพื่อแกไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแลว
ผูปวยจะมีโอกาสเสียชีวิตไดสูง หรือทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของ
ผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้นไดอยางฉับไว

(2) ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน ไดแก บุคคลที่ไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่ง
มีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจําเปนตองไดรับปฏิบัติ
การแพทยอยางรีบดวน มิฉะนั้นจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของ
ผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ซึ่งสงผลให
เสียชีวิตหรือพิการในระยะตอมาได                                       11




  ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษา
  ผูปวยฉุกเฉิน

กฎหมายแพง กฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539
กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุข




                                                                        12




                                                                             6
การฟองรอง รองเรียน

   กฎหมายแพง –                       คาเสียหาย
   กฎหมายอาญา –                       ความผิดและโทษ
   กฎหมายวิชาชีพ –                    พ.ร.บ. วิชาชีพ
   วินัย         –                    วินัยขาราชการ

                                                                           13




     การเรียกคาเสียหายกรณีละเมิด
      มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
                                        
ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคา
สินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
      มาตรา 438 คาสินไหมทดแทนจะพึงใชโดยสถานใดเพียงใดนั้น ให
ศาลวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด
      อนึ่งคาสินไหมทดแทนนั้น ไดแกการคืนทรัพยสินอันผูเ สียหายตอง
เสียไปเพราะละเมิดหรือใชราคาทรัพยสินนัน รวมทั้งคาเสียหายอันจะพึง
                                          ้
บังคับใหใชเพือความเสียหายอยางใด ๆ อันไดกอขึ้นนั้นดวย
               ่
                                                                           14




                                                                                7
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
     พ.ศ. 2539
   “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือ
   ผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปน
   กรรมการหรือฐานะอื่นใด
   “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวน
   ราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค
   ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
   หรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของ
   รัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตาม
   พระราชบัญญัตินดวยี้
                                                              15




     พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่

    มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผล
แหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่
ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวได
โดยตรง แตจะฟองเจาหนาทีไมได
                             ่
    ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงาน
ของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของ
รัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง
                                                              16




                                                                   8
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
     มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหม
ทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงาน
ของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิด ชดใชคาสินไหม
ทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทําการ
นั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง
     สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได
เพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความ
เปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของ
ความเสียหายก็ได
                                                           17




  หลักความรับผิดทางอาญา
     การกระทําโดยเจตนา
     การกระทําโดยประมาท




                                                           18




                                                                9
ความหมายของการกระทําโดยประมาท
      ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสี่
         กระทําโดยประมาท ไดแกกระทําความผิดมิใชโดย
     เจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่ง
     บุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณ
     และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหา
     ไดใชใหเพียงพอไม
                                                                       19




       การคนหาความจริงวาประมาทหรือไม
   คอนขางชัดเจน                 ก้ํากึ่ง           ไมถือวาประมาท
   ฉีดยาผิด, Kcl           เกิดการอุดในเสนเลือด     ผลเกิดจากพยาธิสภาพ
   ใหเลือดผิด            โลหิตระหวางการคลอด      ของโรค หรือเหตุแทรก
   ลืมเครื่องมือไวในทอง (Aminotic fluid          ซอนที่เปนผลจากการ
ผูปวย                   embolism)                วินิจฉัยตามปกติหรือ
                           การติดเชื้อ ทําใหตาย   รักษาโรคตามมาตรฐาน
   เด็กตกเตียง
                           ตายระหวางวางยาสลบ        กรณี Reye’s
                           ผาสมองแลวตาย ฯลฯ      syndrome
                                                                       20




                                                                            10
สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
           มาตรา ๒๘ เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉิน ใหหนวยปฏิบติการ
                                                                              ั
สถานพยาบาล และผูปฏิบัติการ ดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้
           (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัตการฉุกเฉิน
                                                                                  ิ
ตามลําดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน
           (๒) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวย
ปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นกอนการสงตอ เวนแตมแพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวย
                                                       ี
ฉุกเฉินจะเปนประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวย 
ฉุกเฉินนัน
         ้
           (๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินตองเปนไปตามความจํา เปนและขอบงชี้ทาง
การแพทยฉุกเฉิน โดยมิใหนําสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถใน
การรับผิดชอบคาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมได
                               
รับการปฏิบัติการฉุกเฉินอยางทันทวงที
           หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผูปฏิบัติการใหดาเนินการ
                                                                              ํ
ปฏิบัติการฉุกเฉินเปนไปตามหลักการตามวรรคหนึ่ง
                                                                                                 21




          สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
          มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชนในการปฏิบติการฉุกเฉินใหเปนไปตามหลักการตามมาตรา ๒๘
                                             ั
กพฉ. มีอํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้
          (๑) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือขอจํากัดของผูปฏิบัตการ  ิ
หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
          (๒) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัตการ หนวยปฏิบัติการ
                                                                        ิ
และสถานพยาบาล
          (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
          (๔) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการรายงานของหนวยปฏิบัตการและ   ิ
สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบุคลากร พาหนะ สถานที่ และ
อุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉิน
          ...
                                                                                                 22




                                                                                                      11
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
      เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔

       ขอ ๕ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายตอผูปวยฉุกเฉิน ซึ่งหากปลอยไว
เชนนั้นจะเปนอันตรายตอชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวย
ของผูปวยฉุกเฉินไดใหสถานพยาบาลมีอํานาจหนาที่ดําเนินการตามมาตรา ๒๘
และมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑
รวมทั้งมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ แหงพระราชบัญญัติ
สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎที่ออกตามกฎหมายดังกลาวโดยอนุโลม
ตลอดจนกระทําการใด ๆ อันจะมีผลเปนการควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลรายจาก
อันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นไดอยางทันทวงทีตามสมควรแกกรณี


                                                                                   23




      ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
      เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ)
       ในกรณีที่แพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปน
ประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวย
ของผูปวยฉุกเฉินนั้น หรือเกินขีดความสามารถตามนัยแหงมาตรา ๒๘
(๒) แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานพยาบาล
อาจแจงตอหนวยปฏิบติการที่ปฏิบัติการอํานวยการเพื่อดําเนินการให
                       ั
สถานพยาบาลอื่นใดที่มีขีดความสามารถเพียงพอรับปฏิบัติการฉุกเฉินแก
ผูปวยฉุกเฉินรายนั้นตอไดทนทวงที ทั้งนี้ในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการ
                            ั
ตามขางตนได ใหแจงตอ สพฉ.


                                                                                   24




                                                                                        12
ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
    เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔
       ผูใดเจ็บปวยฉุกเฉินหรือพบผูปวยฉุกเฉินซึ่งอาจเปนอันตรายตอชีวิต
หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนัน      ้
อันเนื่องจากสถานพยาบาลไมไดปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิแจง สพฉ.
หรือผูไดรับมอบหมาย เพื่อดําเนินการใหมีการปฏิบัติการฉุกเฉินตอ
ผูปวยฉุกเฉินนั้นตามสมควรแกกรณี
       ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ให
สพฉ. จัดใหมชองทางสําหรับการแจงดังกลาวไดโดยสะดวกและ
                 ี
ทันทวงที แลวประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ

                                                                            25




    ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
    เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔
         ขอ ๗ สถานพยาบาล รวมทั้งผูปฏิบัติการในสถานพยาบาล ที่
  ปฏิบัติตามหลักเกณฑเงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ. กําหนด มีสิทธิ
  ไดรับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน การอุดหนุนการดําเนินการเกียวกับ
                                                           ่
  การแพทยฉุกเฉิน หรือคาชดเชยในการปฏิบัติการฉุกเฉินจากกองทุน
  ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ กพฉ. กําหนด . . .




                                                                            26




                                                                                 13
สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
            มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏวา ผูปฏิบติการ หนวย ั
ปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กําหนดและการ
กระทําดังกลาวเปนความผิดตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือระเบียบทีเ่ กี่ยวของ ให กพฉ.ดําเนินการ
อยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
            (๑) ตักเตือนเปนหนังสือใหผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบติใหั
ถูกตอง
            (๒) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายที่มีอํานาจควบคุมการดําเนินการของหนวย
ปฏิบัตการ เพื่อพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหนาที่
        ิ
            (๓) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการทางวินัยแกผูดําเนินการ
สถานพยาบาลของรัฐหรือหนวยงานของรัฐ
            (๔) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการดานจริยธรรมกับ
ผูปฏิบัติการซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพดานการแพทยและการสาธารณสุข
                                                                                                    27




          กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุข
      (พระราชบัญญัติการแพทย พ.ศ.2466)
          พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ (พ.ศ. 2479, 2542)
          พ.ร.บ. วิชาชีพเวชกรรม (พ.ศ.2511, 2525)
          พ.ร.บ. วิชาชีพพยาบาล (พ.ศ.2528, 2540)
          พ.ร.บ. วิชาชีพเภสัชกรรม (พ.ศ.2537)
          พ.ร.บ. วิชาชีพทันตกรรม (พ.ศ.2537)
          พ.ร.บ. วิชาชีพเทคนิคการแพทย (พ.ศ.2547)
          พ.ร.บ. วิชาชีพกายภาพบําบัด (พ.ศ.2547)                                                     28




                                                                                                         14
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
       พ.ศ. 2528
“การประกอบวิชาชีพการพยาบาล” หมายความวา การปฏิบัติหนาที่การ
พยาบาลตอบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทําตอไปนี้
(๑) การสอน การแนะนํา การใหคําปรึกษาและการแกปญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
(๒) การกระทําตอรางกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดลอม เพื่อการ
แกปญหาความเจ็บปวย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟนฟู
สภาพ
(๓) การกระทําตามวิธีที่กําหนดไวในการรักษาโรคเบื้องตน และการใหภูมิคุมกันโรค
(๔) ชวยเหลือแพทยกระทําการรักษาโรค


                                                                                 29




       “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง
  กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล
  สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่นหรือสภากาชาดไทย
  มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความควบคุมของเจาหนาที่ซ่ง  ึ
  เปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” และ ฉบับที่ 2 (2540)




                                                                                 30




                                                                                      15
กฎหมายอืน ๆ
             ่
    พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550
    พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545
    รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ.
    ....




                                                                    31




     พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550
      มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการ
สาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพือยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตน หรือเพื่อ
                            ่
ยุติการทรมานจากการเจ็บปวยได
      การดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
      เมื่อผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขไดปฏิบัติตามเจตนาของบุคคล
ตามวรรคหนึ่งแลวมิใหถือวาการกระทํานั้นเปนความผิดและใหพนจากความ
                                                           
รับผิดทั้งปวง
                                                                    32




                                                                         16
วัตถุประสงคของ living will/ advance directives

     เอกสารแสดงเจตจํานงลวงหนาเปนเอกสารที่จัดทําเปน
 ลายลักษณอกษรพรอมลายมือชื่อ หรือเปนคํากลาวตอหนาบุคคลที่
             ั
 เปนพยานซึ่งไดบันทึกตามความตองการของเขาเกี่ยวกับการรักษา
 ทางการแพทย ที่เขาประสงคหรือไมประสงคจะรับการรักษา เมื่อ
 บุคคลผูนนไมรูสึกตัวหรือไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองได
          ั้
 ในขณะนั้น
 Source: The World Medical Association Statement on Advance Directives

                                                                         33




     แนวคิดเรืองหนังสือแสดงเจตนาฯ (Living Will)
              ่
เปนสิทธิผูปวย ไดรับการรับรองตามปฏิญญาลิสบอนวาดวยสิทธิ
ผูปวย (The World Medical Association Declaration on the Rights of
the Patient) (1981, 2005)
10. สิทธิในศักดิ์ศรีของผูปวย  
    ค. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการรักษาพยาบาลในวาระสุดทายอยางมี
มนุษยธรรม และมีสิทธิที่จะไดรับความชวยเหลือทุกอยาง เพื่อจะชวยใหผูปวย
เสียชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีโดยสงบเทาที่จะทําได

                                                                         34




                                                                              17
ความเขาใจเกี่ยวกับภาวะใกลตาย
                ศาสตราจารยแพทยหญิงสุมาลี นิมมานนิตย

  เมื่อใกลตาย ความออนเพลียเปนสิ่งที่ควรยอมรับ ไมจําเปนตอง
  ใหการรักษาใดๆ สําหรับความออนเพลียที่เกิดขึ้น เพราะจะเกิด
  ผลเสียมากกวาผลดี ควรใหผูปวยในระยะนี้ไดพักผอนใหเต็มที่
  คนใกลตายจะเบื่ออาหาร และกินอาหารนอยลง จากการศึกษา
  พบวาความเบื่ออาหารที่เกิดขึ้นเปนผลดีมากกวาผลเสีย เพราะทํา
  ใหมีสารคีโตนในรางกายเพิ่มขึ้น สารคีโตนจะทําใหผูปวยรูสึก
                                                       
  สบายขึ้น และบรรเทาอาการเจ็บปวดได
                                                                35




     “กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการตาม
หนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปนไป
เพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมาน
จากการเจ็บปวย พ.ศ. 2553” (เลม 127 ตอนที่ 65ก ลงวันที่ 22 ตุลาคม
2553 (มีผลใชบังคับวันที่ 20 พฤษภาคม 2554)



                                                                36




                                                                     18
เนื้อหาของกฎกระทรวง
คํานิยาม
       “หนังสือแสดงเจตนา” หมายความวา หนังสือซึ่งบุคคล
  แสดงเจตนาไวลวงหนาวาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่
  เปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตนหรือเพื่อ
  ยุติการทรมานจากการเจ็บปวย


                                                              37




    คํานิยาม
       “บริการสาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ
  สุดทายของชีวิตหรือเพือยุติการทรมานจากการเจ็บปวย”
                        ่
  หมายความวา วิธการที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมนํามาใชกับผูทํา
                  ี
  หนังสือแสดงเจตนาเพื่อประสงคจะยืดการตายในวาระสุดทายของ
  ชีวิตออกไป โดยไมทําใหผูทําหนังสือแสดงเจตนาพนจากความ
  ตายหรือยุติการทรมานจากการเจ็บปวย ทั้งนี้ ผูทําหนังสือแสดง
  เจตนายังคงไดรับการดูแลรักษาแบบประคับประคอง

                                                              38




                                                                   19
คํานิยาม
    “วาระสุดทายของชีวิต” หมายความวาภาวะของผูทําหนังสือแสดง
เจตนาอันเกิดจากการบาดเจ็บหรือโรคที่ไมอาจรักษาใหหายไดและจากการ
พยากรณโรคตามมาตรฐานทางการแพทยเห็นวา ภาวะนั้นนําไปสูการตาย
อยางหลีกเลี่ยงไมไดในระยะเวลาอันใกลจะถึง และใหรวมถึงภาวะของ
ผูทําหนังสือแสดงเจตนาที่ไดรับการวินิจฉัยตามมาตรฐานทางการแพทยวา
มีการสูญเสียหนาที่อยางถาวรของเปลือกสมองใหญที่ทําใหขาด
ความสามารถในการรับรูและติดตอสื่อสารอยางถาวร โดยปราศจาก
พฤติกรรมการตอบสนองใดๆ ที่แสดงถึงการรับรูได
จะมีเพียงปฏิกริยาสนองตอบอัตโนมัติเทานั้น (PVS)
               ิ
                                                                 39




                                                                 40




                                                                      20
41




  ประเทศอังกฤษ
  General Medical Council (GMC)
Withholding and withdrawing life-prolonging
treatments: Good practice in decision-making
This guidance develops the advice in Good
Medical Practice (2006). It sets out the standards of
practice expected of doctors when they consider
whether to withhold or withdraw life-prolonging
treatments.

                                                    42




                                                         21
ประเทศอังกฤษ
 British Medical Association (BMA)

End-of-life decisions: BMA views
Advance decisions and proxy decision-making
in medical treatment and research (2007)
Withholding and withdrawing life-prolonging
medical treatment: guidance for decision
making (3rd edition 2007)
End of life - withdrawing and withholding
artificial nutrition and hydration (2007)
                                               43




  ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรอง
      บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข




                                              44




                                                    22
สรุปจํานวนคดีฟองแพทย ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 – 2553)
                       
              (เฉพาะโจทยยนฟองกระทรวงสาธารณสุขและสํานักงานปลัดฯ)
                          ื่

              คดีแพ ง (121 คดี)                                      * รวมคดีแพงที่ยังอยูในชั้นศาล 64 คดี
                                   31                              * ทุนทรัพยที่ฟองประมาณ 739.9 ลานบาท
40

                                             ศาลชั้ น ต น
                                                                  เศษ
                                             ศาลอุ ทธรณ
                                             ศาลฎี กา              * กระทรวงสาธารณสุขชําระตามคําพิพากษา
     6
                                        19   ถึง ที่สุ ด
                                             จํ า หน า ย
                                                                  แลวประมาณ 15.7 ลานบาท
         11
                         14
                                             ถอนฟ อ ง

                                                                                  คดีอาญา (14 คดี)

                                                                              2
                                                                                                     3

                                                                      1

                                                                                                         พนั กงานสอบสวน
                                                                                                         พนั กงานอั ยการ
                                                                  2
                                                                                                         ศาลชั้ น ต น
                                                                                                         ศาลอุ ทธรณ
                                                                          1                          5
                                                                                                         ถอนฟ อ ง
                                                                                                         ถึง ที่สุ ด




                                                             ที่มา : กลุมกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                                                                                                           45




          พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545
           มาตรา 41 ใหคณะกรรมการกันเงินจํานวนไมเกินรอยละหนึ่งของเงิน
     ที่จะจายใหหนวยบริการไวเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนใหกับผูรับบริการ
     ในกรณีที่ผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาล
     ของหนวยบริการ โดยหาผูกระทําผิดมิไดหรือหาผูกระทําผิดไดแตยัง
                                
     ไมไดรับความเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ
     วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด



                                                                                                                         46




                                                                                                                              23
พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545

 ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑ
 วิธีการและเงื่อนไข ในการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน กรณีผูรับบริการ
 ไดรับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2549

 ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑ
 การจายเงินชวยเหลือเพื่อการชดเชย กรณีผใหบริการไดรบความ
                                        ู           ั
 เสียหายจากการใหบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2550 (ฉ.2, 2551)

                                                                              47




 สรุปสถิติการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน ตามมาตรา 41
   แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545
                                      ผลการพิจารณา               จํานวนเงิน
               จํานวนคํารอง
ปงบประมาณ                     ไมเขาเกณฑ     เขาเกณฑ      ชวยเหลือ ตาม
                   (ราย)
                                   (ราย)          (ราย)          ม.41 (บาท)
   2547            99              26               73            4,865,000
   2548            221             43              178           12,815,000
   2549            443             72              371           36,653,500
   2550            511             78              433           52,177,535
   2551            658             108             550           64,858,148
   2552            810             150             660           73,223,000


                                      ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
                                                                             48




                                                                                   24
สรุปจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน
                                       และเรื่องอุทธรณ
จํานวน(ราย)

    900                                                                      810
    800
    700
                                                                 658
    600
                                                                                           เรื่องขอรับ
                                                  511
                                                                                           เงินทั้งหมด
    500                                  443
    400
    300                    221                                                             อุทธรณ
    200      99
                                             60         58              74       67
    100           12               32

        0
            2547           2548         2549      2550           2551        2552


                                                         ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
                                                                                                49




จํานวนผูปวยที่ไดรับความเสียหายและไดรับการชวยเหลือตาม ม.41 (ป46-52)
                                 ผูไดรับความ
        สาขา                                       เสียชีวิต                 พิการ        บาดเจ็บ
                                     เสียหาย
กุมารเวชกรรม                               262                   184                 20             58
อายุรกรรม                                  395                   289                 36             70
ศัลยกรรม                                   410                   216                 69         125

สูตินรีเวชกรรม 1,032(46%) 528(51%) 180(18%) 324(31%)

อื่นๆ                                      166                     46                51             69
 รวม(ยื่นขอ2,742ราย) 2,265(84%)
            สํานักกฎหมาย สปสช.                               1263
                                                   กลุมงานพิทกษสทธิ
                                                              ั ิ                356           646
                                                                                                50
                                                                                                         50




                                                                                                              25
สรุปผลการจายเงินชวยชดเชยความเสียหายผูใหบริการ ม.18(4)
          ป    ประเภท ประเภท ประเภท      รวม     จายชวยเงิน
                เสียชีวต พิการ บาดเจ็บ
                       ิ
                                         (คน)     (ลานบาท)
         2547      1       0       10      11         0.20
         2548      5       0       41      46         0.93
         2549      0       0       48      48         0.32
         2550      2       4      191     197         3.54
         2551      2       2      469     473         9.40
         2552      3       1      660     664         6.88

         รวม      13       7     1,419   1,439       21.29
                                                                  51




                          รางพ.ร.บ.
       คุมครองผูเ สียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
                           พ.ศ. ....

                         “รางพระราชบัญญัติ
     คุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจาก
                                               ั
                   การบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ”

                                                                 52




                                                                       26
เหตุผลของการเสนอราง พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหาย ฯ
                                  
        การใหการชวยเหลือเบื้องตนกับผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขมีความจํากัด เฉพาะ
ผูใชบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติเทานั้น ไมรวมถึงระบบสวัสดิการขาราชการและ
ระบบประกันสังคม หรือแมแตการใชบริการของโรงพยาบาลเอกชน ทําใหผูไดรบความเสียหายจาก
                                                                              ั
การรับบริการสาธารณสุขไมมีทางเลือก ในการดําเนินการที่จะไดรบการชดเชยความเสียหาย
                                                                ั
        การฟองรองตามกระบวนการยุติธรรม มีปญหาหลายประการ และสงผลตอความสัมพันธ
ของผูประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขกับผูปวย
        การมีกฎหมายคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ทีครอบคลุมทุกคนโดยมี
                                                                    ่
เปาหมายเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น ลดคดีความในการฟองรองและความขัดแยงระหวาง
แพทยกับคนไข
        ดังนั้น เมื่อเกิดปญหาความเสียหายดังกลาวจึงควรใหมีการชดเชยผูเสียหายในเวลาอันรวดเร็ว
โดยไมตองพิสูจนความรับผิด และสนับสนุนการพัฒนาระบบความปลอดภัยและการปองกันความ
เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข รวมทั้งการจัดตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายอันเนื่องมาจาก
การรับบริการ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

                                                                                             53




     รางพ.ร.บ.คุมครองผูเ สียหายจากการรับบริการ
     สาธารณสุข พ.ศ. ....
    มาตรา ๕ บุคคลผูเสียหายมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตน
และเงินชดเชยจากกองทุนตามพระราชบัญญัตนี้ โดยไมตองพิสจน
                                            ิ                ู
ความรับผิด




                                                                                             54




                                                                                                  27
รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
  สาธารณสุข พ.ศ. ....
     มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้
     (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น แมมการ
                                                             ี
ใหบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ
     (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุขตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
     (๓) ความเสียหายที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการรักษาแลวไมมีผลกระทบ
ตอการดํารงชีวิตตามปกติ
     ทั้งนี้คณะกรรมการอาจประกาศกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใต
หลักเกณฑดังกลาวขางตนได
                                                                  55




  รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
  สาธารณสุข พ.ศ. ....
       มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสราง
 เสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบดวย
                       ี
       (๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ
       (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง
 ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย อธิบดีกรม
 คุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค
 และ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
       (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จํานวนสามคน
       (๔) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค
 ดานบริการสุขภาพ จํานวนสามคน
                                                                  56




                                                                       28
รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
    สาธารณสุข พ.ศ. ....
    มาตรา ๒๐ “กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบ
บริการสาธารณสุข”
    มาตรา ๒๑ การจายเงินสมทบของสถานพยาบาลเอกชน




                                                                           57




    รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
    สาธารณสุข พ.ศ. ....
       มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้
ตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ภายในสามปนับแต
วันที่ไดรูถึงความเสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความ
เสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย
       ในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคํา
                                 ี
ขอดวยตนเองได ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งไดรับการ
มอบหมายเปนหนังสือจากผูเสียหาย แลวแตกรณี อาจยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งได
       การยืนคําขอตามมาตรานี้จะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ทั้งนี้ ตาม
วิธีการ รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ
                                                                           58




                                                                                 29
รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ
   สาธารณสุข พ.ศ. ....
     มาตรา ๓๓ การทําสัญญาประนีประนอมยอมความ
     มาตรา ๓๘ กระบวนการไกลเกลี่ย
     มาตรา ๔๒ การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความ
เสียหายของสถานพยาบาล
     มาตรา ๔๕ การเปดโอกาสใหศาลพิจารณาโทษจําเลยใน
คดีอาญา โดยศาลอาจไมลงโทษเลยก็ได

                                                                 59




   ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากร
   ทางการแพทยและสาธารณสุข
1. มีกลไกการพัฒนาระบบบริการและการบริหารความเสี่ยง
2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝกอบรม ที่เนนการใหบริการ
สุขภาพดวยหัวใจความเปนมนุษย
3. เสนอใหมีกฎหมายเยียวยาผูเสียหายเบื้องตน โดยไมตองฟองศาล
4. ปฏิรูปกลไกควบคุมผูประกอบวิชาชีพ (แพทยสภา) เพื่อใหมีความ
อิสระ มีความนาเชื่อถือ ปราศจากการครอบงําของกลุมผลประโยชน
และไมแสดงตัวเปนคูขัดแยงกับกลุมผูปวยหรือประชาชน

                                                                 60




                                                                      30

More Related Content

What's hot

กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurancethaitrl
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553JantongDiamond1
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2patientrightsth
 

What's hot (19)

พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurance
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
Living wills1
Living wills1Living wills1
Living wills1
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
22 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_255322 medical guide_government officer_cgd_2553
22 medical guide_government officer_cgd_2553
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
 

Similar to ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2larnpho
 
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้งetcenterrbru
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉtaem
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)larnpho
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48skwtngps
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48skwtngps
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48skwtngps
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (20)

การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
2523
25232523
2523
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง06 1 ปัญหาการทำแท้ง
06 1 ปัญหาการทำแท้ง
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
ความเป็นมาเครือข่ายฯ +ร่างพ.ร.บ
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

  • 1. ชาวฉุกเฉินสบายใจ..ไมถูกฟอง ? ไพศาล ลิ้มสถิตย ศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน ครั้งที่ 15 “ฉุกเฉินกาวไกล” 11 กรกฎาคม 2555 1 เนื้อหาการบรรยาย การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน  สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากร ทางการแพทยและสาธารณสุข 2 1
  • 2. มูลเหตุของปญหาความสัมพันธจาก การใหบริการสาธารณสุข (บริการสุขภาพ) 1. รูปแบบของการใหบริการรักษาผูปวยเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต 2. ภาระงานของบุคลากรทางการแพทย และความคาดหวังของผูปวย หรือผูรับบริการสาธารณสุข 3. ปญหาทักษะการสื่อสารของฝายผูใหการรักษา(แพทย, พยาบาล) 4. การขาดความเขาใจกฎหมายของผูปฏิบัติงาน และกฎหมายที่ ลาสมัย ขาดกลไกระงับขอพิพาทที่เหมาะสม 5. การสรางกระแสใหเกิดความกลัว ความหวาดระแวงวา จะถูกรองเรียน ถูกฟองรองตามกฎหมาย 3 ปฏิญญาวาดวย “สิทธิผูปวย” ของแพทยสมาคมโลก (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient) แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ และนายไพศาล ลิมสถิตย ้ 3. สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง ก. ผูปวยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองโดยอิสระ โดยที่แพทยจะตองแจงใหผูปวย ทราบถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจนั้น 4. ผูปวยที่ไมรูสึกตัว ก. กรณีผูปวยไมรูสึกตัวหรือไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองได แพทยจะตอง ไดรับความยินยอมจากผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมายที่ไดรับการอธิบายขอมูลแลว ข. กรณีที่ไมอาจมีผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมาย เมื่อมีความจําเปนรีบดวนที่จะตองให การรักษาทางการแพทย ใหสันนิษฐานวาผูปวยใหความยินยอมแลว เวนแตเปนที่ ชัดเจนและปราศจากขอสงสัยวาจะขัดตอการแสดงเจตนาหรือความคิดเห็นแตเดิมของ ผูปวย ซึ่งประสงคจะไมใหความยินยอมในสภาพการณเชนนั้น ค. อยางไรก็ตาม แพทยควรจะพยายามชวยชีวิตของผูปวยที่ไมรสึกตัวในทุกกรณีที่ ู ผูปวยพยายามจะฆาตัวตาย 4 2
  • 3. ประกาศสิทธิผูปวย (16 เมษายน 2541) เพื่อใหความสัมพันธระหวางผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพกับผูปวย ตั้งอยู บนพื้นฐานของความเขาใจอันดีและเปนที่ไววางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภา การพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบ โรคศิลปะ จึงไดรวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผูปวยไว ดังตอไปนี้ 1. ผูปวยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะไดรับบริการดานสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว ในรัฐธรรมนูญ 2. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับบริการจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยไมมี การเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกตางดานฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บปวย 5 ประกาศสิทธิผูปวย (16 เมษายน 2541) 3. ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสทธิที่จะไดรับทราบขอมูลอยาง ิ เพียงพอและเขาใจชัดเจนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ เพื่อใหผปวย ู สามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไมยินยอมใหผูประกอบวิชาชีพ ดานสุขภาพปฏิบัตตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน ิ 4. ผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวต มีสิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือ ิ รีบดวนจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยทันทีตามความจําเปนแก  กรณี โดยไมคานึงวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือหรือไม ํ  6 3
  • 4. การใหความยินยอมของผูปวยตามกฎหมาย คือ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ 2550 7 มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรดานสาธารณสุขตองแจง ขอมูลดานสุขภาพที่เกี่ยวของกับการใหบริการใหผูรับบริการทราบอยาง เพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไมรับ บริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรับบริการใด จะใหบริการนั้น มิได ในกรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแกผูรับบริการเพราะเหตุที่ ผูรับบริการปกปดขอเท็จจริงที่ตนรูและควรบอกใหแจง หรือแจงขอความ อันเปนเท็จ ผูใหบริการไมตองรับผิดชอบในความเสียหายหรืออันตรายนั้น  เวนแตเปนกรณีที่ผูใหบริการประมาทเลินเลออยางรายแรง 8 4
  • 5. มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 (ตอ) ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบงคับกับกรณีดงตอไปนี้ ั ั (1) ผูรับบริการอยูในภาวะทีเ่ สี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจําเปนตอง ใหความชวยเหลือเปนการรีบดวน (2) ผูรับบริการไมอยูในฐานะที่จะรับทราบขอมูลได และไมอาจแจงให บุคคลซึ่งเปนทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูปกครอง ผูปกครองดูแล ผูพิทักษ หรือผูอนุบาลของผูรับบริการ แลวแตกรณี รับทราบขอมูลแทนในขณะนั้นได 9 นิยามสําคัญใน พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 “การแพทยฉุกเฉิน” หมายความวา การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา การ ฝกอบรม การคนควาและการวิจัยเกี่ยวกับการประเมิน การจัดการ การ บําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน และการปองกันการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน “ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวย กะทันหัน ซึ่งเปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและการบําบัดรักษาอยางทันทวงทีเพื่อ ปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น 10 5
  • 6. ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและมาตรฐาน  การปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. 2554 “(1) ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวย กะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามตอชีวิต ซึ่งหากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทนทีั เพื่อแกไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแลว ผูปวยจะมีโอกาสเสียชีวิตไดสูง หรือทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของ ผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้นไดอยางฉับไว (2) ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน ไดแก บุคคลที่ไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่ง มีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจําเปนตองไดรับปฏิบัติ การแพทยอยางรีบดวน มิฉะนั้นจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของ ผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ซึ่งสงผลให เสียชีวิตหรือพิการในระยะตอมาได 11 ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษา ผูปวยฉุกเฉิน กฎหมายแพง กฎหมายอาญา พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุข 12 6
  • 7. การฟองรอง รองเรียน กฎหมายแพง – คาเสียหาย กฎหมายอาญา – ความผิดและโทษ กฎหมายวิชาชีพ – พ.ร.บ. วิชาชีพ วินัย – วินัยขาราชการ 13 การเรียกคาเสียหายกรณีละเมิด มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี  ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคา สินไหมทดแทนเพื่อการนั้น มาตรา 438 คาสินไหมทดแทนจะพึงใชโดยสถานใดเพียงใดนั้น ให ศาลวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด อนึ่งคาสินไหมทดแทนนั้น ไดแกการคืนทรัพยสินอันผูเ สียหายตอง เสียไปเพราะละเมิดหรือใชราคาทรัพยสินนัน รวมทั้งคาเสียหายอันจะพึง ้ บังคับใหใชเพือความเสียหายอยางใด ๆ อันไดกอขึ้นนั้นดวย ่ 14 7
  • 8. พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือ ผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปน กรรมการหรือฐานะอื่นใด “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวน ราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของ รัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตาม พระราชบัญญัตินดวยี้ 15 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผล แหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวได โดยตรง แตจะฟองเจาหนาทีไมได ่ ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงาน ของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของ รัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง 16 8
  • 9. พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหม ทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงาน ของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิด ชดใชคาสินไหม ทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทําการ นั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได เพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความ เปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของ ความเสียหายก็ได 17 หลักความรับผิดทางอาญา การกระทําโดยเจตนา การกระทําโดยประมาท 18 9
  • 10. ความหมายของการกระทําโดยประมาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสี่ กระทําโดยประมาท ไดแกกระทําความผิดมิใชโดย เจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่ง บุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหา ไดใชใหเพียงพอไม 19 การคนหาความจริงวาประมาทหรือไม คอนขางชัดเจน ก้ํากึ่ง ไมถือวาประมาท ฉีดยาผิด, Kcl เกิดการอุดในเสนเลือด ผลเกิดจากพยาธิสภาพ ใหเลือดผิด โลหิตระหวางการคลอด ของโรค หรือเหตุแทรก ลืมเครื่องมือไวในทอง (Aminotic fluid ซอนที่เปนผลจากการ ผูปวย embolism) วินิจฉัยตามปกติหรือ การติดเชื้อ ทําใหตาย รักษาโรคตามมาตรฐาน เด็กตกเตียง ตายระหวางวางยาสลบ กรณี Reye’s ผาสมองแลวตาย ฯลฯ syndrome 20 10
  • 11. สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๒๘ เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉิน ใหหนวยปฏิบติการ   ั สถานพยาบาล และผูปฏิบัติการ ดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้ (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัตการฉุกเฉิน ิ ตามลําดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน (๒) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวย ปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นกอนการสงตอ เวนแตมแพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวย ี ฉุกเฉินจะเปนประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวย  ฉุกเฉินนัน ้ (๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินตองเปนไปตามความจํา เปนและขอบงชี้ทาง การแพทยฉุกเฉิน โดยมิใหนําสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถใน การรับผิดชอบคาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมได  รับการปฏิบัติการฉุกเฉินอยางทันทวงที หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผูปฏิบัติการใหดาเนินการ ํ ปฏิบัติการฉุกเฉินเปนไปตามหลักการตามวรรคหนึ่ง 21 สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชนในการปฏิบติการฉุกเฉินใหเปนไปตามหลักการตามมาตรา ๒๘ ั กพฉ. มีอํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้ (๑) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือขอจํากัดของผูปฏิบัตการ ิ หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล (๒) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัตการ หนวยปฏิบัติการ ิ และสถานพยาบาล (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน (๔) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการรายงานของหนวยปฏิบัตการและ ิ สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบุคลากร พาหนะ สถานที่ และ อุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉิน ... 22 11
  • 12. ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๕ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายตอผูปวยฉุกเฉิน ซึ่งหากปลอยไว เชนนั้นจะเปนอันตรายตอชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวย ของผูปวยฉุกเฉินไดใหสถานพยาบาลมีอํานาจหนาที่ดําเนินการตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทั้งมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ แหงพระราชบัญญัติ สถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎที่ออกตามกฎหมายดังกลาวโดยอนุโลม ตลอดจนกระทําการใด ๆ อันจะมีผลเปนการควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลรายจาก อันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นไดอยางทันทวงทีตามสมควรแกกรณี 23 ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ) ในกรณีที่แพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปน ประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวย ของผูปวยฉุกเฉินนั้น หรือเกินขีดความสามารถตามนัยแหงมาตรา ๒๘ (๒) แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานพยาบาล อาจแจงตอหนวยปฏิบติการที่ปฏิบัติการอํานวยการเพื่อดําเนินการให ั สถานพยาบาลอื่นใดที่มีขีดความสามารถเพียงพอรับปฏิบัติการฉุกเฉินแก ผูปวยฉุกเฉินรายนั้นตอไดทนทวงที ทั้งนี้ในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการ ั ตามขางตนได ใหแจงตอ สพฉ. 24 12
  • 13. ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ผูใดเจ็บปวยฉุกเฉินหรือพบผูปวยฉุกเฉินซึ่งอาจเปนอันตรายตอชีวิต หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนัน ้ อันเนื่องจากสถานพยาบาลไมไดปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิแจง สพฉ. หรือผูไดรับมอบหมาย เพื่อดําเนินการใหมีการปฏิบัติการฉุกเฉินตอ ผูปวยฉุกเฉินนั้นตามสมควรแกกรณี ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ให สพฉ. จัดใหมชองทางสําหรับการแจงดังกลาวไดโดยสะดวกและ ี ทันทวงที แลวประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ 25 ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๗ สถานพยาบาล รวมทั้งผูปฏิบัติการในสถานพยาบาล ที่ ปฏิบัติตามหลักเกณฑเงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ. กําหนด มีสิทธิ ไดรับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน การอุดหนุนการดําเนินการเกียวกับ ่ การแพทยฉุกเฉิน หรือคาชดเชยในการปฏิบัติการฉุกเฉินจากกองทุน ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ กพฉ. กําหนด . . . 26 13
  • 14. สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏวา ผูปฏิบติการ หนวย ั ปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กําหนดและการ กระทําดังกลาวเปนความผิดตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือระเบียบทีเ่ กี่ยวของ ให กพฉ.ดําเนินการ อยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) ตักเตือนเปนหนังสือใหผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบติใหั ถูกตอง (๒) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายที่มีอํานาจควบคุมการดําเนินการของหนวย ปฏิบัตการ เพื่อพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ิ (๓) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการทางวินัยแกผูดําเนินการ สถานพยาบาลของรัฐหรือหนวยงานของรัฐ (๔) แจงเรื่องไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการดานจริยธรรมกับ ผูปฏิบัติการซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพดานการแพทยและการสาธารณสุข 27 กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุข (พระราชบัญญัติการแพทย พ.ศ.2466) พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ (พ.ศ. 2479, 2542) พ.ร.บ. วิชาชีพเวชกรรม (พ.ศ.2511, 2525) พ.ร.บ. วิชาชีพพยาบาล (พ.ศ.2528, 2540) พ.ร.บ. วิชาชีพเภสัชกรรม (พ.ศ.2537) พ.ร.บ. วิชาชีพทันตกรรม (พ.ศ.2537) พ.ร.บ. วิชาชีพเทคนิคการแพทย (พ.ศ.2547) พ.ร.บ. วิชาชีพกายภาพบําบัด (พ.ศ.2547) 28 14
  • 15. พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. 2528 “การประกอบวิชาชีพการพยาบาล” หมายความวา การปฏิบัติหนาที่การ พยาบาลตอบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทําตอไปนี้ (๑) การสอน การแนะนํา การใหคําปรึกษาและการแกปญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (๒) การกระทําตอรางกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดลอม เพื่อการ แกปญหาความเจ็บปวย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟนฟู สภาพ (๓) การกระทําตามวิธีที่กําหนดไวในการรักษาโรคเบื้องตน และการใหภูมิคุมกันโรค (๔) ชวยเหลือแพทยกระทําการรักษาโรค 29 “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่นหรือสภากาชาดไทย มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความควบคุมของเจาหนาที่ซ่ง ึ เปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” และ ฉบับที่ 2 (2540) 30 15
  • 16. กฎหมายอืน ๆ ่ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... 31 พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการ สาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพือยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตน หรือเพื่อ ่ ยุติการทรมานจากการเจ็บปวยได การดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง เมื่อผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขไดปฏิบัติตามเจตนาของบุคคล ตามวรรคหนึ่งแลวมิใหถือวาการกระทํานั้นเปนความผิดและใหพนจากความ  รับผิดทั้งปวง 32 16
  • 17. วัตถุประสงคของ living will/ advance directives เอกสารแสดงเจตจํานงลวงหนาเปนเอกสารที่จัดทําเปน ลายลักษณอกษรพรอมลายมือชื่อ หรือเปนคํากลาวตอหนาบุคคลที่ ั เปนพยานซึ่งไดบันทึกตามความตองการของเขาเกี่ยวกับการรักษา ทางการแพทย ที่เขาประสงคหรือไมประสงคจะรับการรักษา เมื่อ บุคคลผูนนไมรูสึกตัวหรือไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองได ั้ ในขณะนั้น Source: The World Medical Association Statement on Advance Directives 33 แนวคิดเรืองหนังสือแสดงเจตนาฯ (Living Will) ่ เปนสิทธิผูปวย ไดรับการรับรองตามปฏิญญาลิสบอนวาดวยสิทธิ ผูปวย (The World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient) (1981, 2005) 10. สิทธิในศักดิ์ศรีของผูปวย  ค. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการรักษาพยาบาลในวาระสุดทายอยางมี มนุษยธรรม และมีสิทธิที่จะไดรับความชวยเหลือทุกอยาง เพื่อจะชวยใหผูปวย เสียชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีโดยสงบเทาที่จะทําได 34 17
  • 18. ความเขาใจเกี่ยวกับภาวะใกลตาย ศาสตราจารยแพทยหญิงสุมาลี นิมมานนิตย เมื่อใกลตาย ความออนเพลียเปนสิ่งที่ควรยอมรับ ไมจําเปนตอง ใหการรักษาใดๆ สําหรับความออนเพลียที่เกิดขึ้น เพราะจะเกิด ผลเสียมากกวาผลดี ควรใหผูปวยในระยะนี้ไดพักผอนใหเต็มที่ คนใกลตายจะเบื่ออาหาร และกินอาหารนอยลง จากการศึกษา พบวาความเบื่ออาหารที่เกิดขึ้นเปนผลดีมากกวาผลเสีย เพราะทํา ใหมีสารคีโตนในรางกายเพิ่มขึ้น สารคีโตนจะทําใหผูปวยรูสึก  สบายขึ้น และบรรเทาอาการเจ็บปวดได 35 “กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการตาม หนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปนไป เพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมาน จากการเจ็บปวย พ.ศ. 2553” (เลม 127 ตอนที่ 65ก ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2553 (มีผลใชบังคับวันที่ 20 พฤษภาคม 2554) 36 18
  • 19. เนื้อหาของกฎกระทรวง คํานิยาม “หนังสือแสดงเจตนา” หมายความวา หนังสือซึ่งบุคคล แสดงเจตนาไวลวงหนาวาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่ เปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตนหรือเพื่อ ยุติการทรมานจากการเจ็บปวย 37 คํานิยาม “บริการสาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ สุดทายของชีวิตหรือเพือยุติการทรมานจากการเจ็บปวย” ่ หมายความวา วิธการที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมนํามาใชกับผูทํา ี หนังสือแสดงเจตนาเพื่อประสงคจะยืดการตายในวาระสุดทายของ ชีวิตออกไป โดยไมทําใหผูทําหนังสือแสดงเจตนาพนจากความ ตายหรือยุติการทรมานจากการเจ็บปวย ทั้งนี้ ผูทําหนังสือแสดง เจตนายังคงไดรับการดูแลรักษาแบบประคับประคอง 38 19
  • 20. คํานิยาม “วาระสุดทายของชีวิต” หมายความวาภาวะของผูทําหนังสือแสดง เจตนาอันเกิดจากการบาดเจ็บหรือโรคที่ไมอาจรักษาใหหายไดและจากการ พยากรณโรคตามมาตรฐานทางการแพทยเห็นวา ภาวะนั้นนําไปสูการตาย อยางหลีกเลี่ยงไมไดในระยะเวลาอันใกลจะถึง และใหรวมถึงภาวะของ ผูทําหนังสือแสดงเจตนาที่ไดรับการวินิจฉัยตามมาตรฐานทางการแพทยวา มีการสูญเสียหนาที่อยางถาวรของเปลือกสมองใหญที่ทําใหขาด ความสามารถในการรับรูและติดตอสื่อสารอยางถาวร โดยปราศจาก พฤติกรรมการตอบสนองใดๆ ที่แสดงถึงการรับรูได จะมีเพียงปฏิกริยาสนองตอบอัตโนมัติเทานั้น (PVS) ิ 39 40 20
  • 21. 41 ประเทศอังกฤษ General Medical Council (GMC) Withholding and withdrawing life-prolonging treatments: Good practice in decision-making This guidance develops the advice in Good Medical Practice (2006). It sets out the standards of practice expected of doctors when they consider whether to withhold or withdraw life-prolonging treatments. 42 21
  • 22. ประเทศอังกฤษ British Medical Association (BMA) End-of-life decisions: BMA views Advance decisions and proxy decision-making in medical treatment and research (2007) Withholding and withdrawing life-prolonging medical treatment: guidance for decision making (3rd edition 2007) End of life - withdrawing and withholding artificial nutrition and hydration (2007) 43 ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรอง บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข 44 22
  • 23. สรุปจํานวนคดีฟองแพทย ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 – 2553)  (เฉพาะโจทยยนฟองกระทรวงสาธารณสุขและสํานักงานปลัดฯ) ื่ คดีแพ ง (121 คดี) * รวมคดีแพงที่ยังอยูในชั้นศาล 64 คดี 31 * ทุนทรัพยที่ฟองประมาณ 739.9 ลานบาท 40 ศาลชั้ น ต น เศษ ศาลอุ ทธรณ ศาลฎี กา * กระทรวงสาธารณสุขชําระตามคําพิพากษา 6 19 ถึง ที่สุ ด จํ า หน า ย แลวประมาณ 15.7 ลานบาท 11 14 ถอนฟ อ ง คดีอาญา (14 คดี) 2 3 1 พนั กงานสอบสวน พนั กงานอั ยการ 2 ศาลชั้ น ต น ศาลอุ ทธรณ 1 5 ถอนฟ อ ง ถึง ที่สุ ด ที่มา : กลุมกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 45 พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 41 ใหคณะกรรมการกันเงินจํานวนไมเกินรอยละหนึ่งของเงิน ที่จะจายใหหนวยบริการไวเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนใหกับผูรับบริการ ในกรณีที่ผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาล ของหนวยบริการ โดยหาผูกระทําผิดมิไดหรือหาผูกระทําผิดไดแตยัง  ไมไดรับความเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด 46 23
  • 24. พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข ในการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน กรณีผูรับบริการ ไดรับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2549 ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑ การจายเงินชวยเหลือเพื่อการชดเชย กรณีผใหบริการไดรบความ ู ั เสียหายจากการใหบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2550 (ฉ.2, 2551) 47 สรุปสถิติการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน ตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ผลการพิจารณา จํานวนเงิน จํานวนคํารอง ปงบประมาณ ไมเขาเกณฑ เขาเกณฑ ชวยเหลือ ตาม (ราย) (ราย) (ราย) ม.41 (บาท) 2547 99 26 73 4,865,000 2548 221 43 178 12,815,000 2549 443 72 371 36,653,500 2550 511 78 433 52,177,535 2551 658 108 550 64,858,148 2552 810 150 660 73,223,000 ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 48 24
  • 25. สรุปจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน และเรื่องอุทธรณ จํานวน(ราย) 900 810 800 700 658 600 เรื่องขอรับ 511 เงินทั้งหมด 500 443 400 300 221 อุทธรณ 200 99 60 58 74 67 100 12 32 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 49 จํานวนผูปวยที่ไดรับความเสียหายและไดรับการชวยเหลือตาม ม.41 (ป46-52) ผูไดรับความ สาขา เสียชีวิต พิการ บาดเจ็บ เสียหาย กุมารเวชกรรม 262 184 20 58 อายุรกรรม 395 289 36 70 ศัลยกรรม 410 216 69 125 สูตินรีเวชกรรม 1,032(46%) 528(51%) 180(18%) 324(31%) อื่นๆ 166 46 51 69 รวม(ยื่นขอ2,742ราย) 2,265(84%) สํานักกฎหมาย สปสช. 1263 กลุมงานพิทกษสทธิ ั ิ 356 646 50 50 25
  • 26. สรุปผลการจายเงินชวยชดเชยความเสียหายผูใหบริการ ม.18(4) ป ประเภท ประเภท ประเภท รวม จายชวยเงิน เสียชีวต พิการ บาดเจ็บ ิ (คน) (ลานบาท) 2547 1 0 10 11 0.20 2548 5 0 41 46 0.93 2549 0 0 48 48 0.32 2550 2 4 191 197 3.54 2551 2 2 469 473 9.40 2552 3 1 660 664 6.88 รวม 13 7 1,419 1,439 21.29 51 รางพ.ร.บ. คุมครองผูเ สียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... “รางพระราชบัญญัติ คุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรบความเสียหายจาก ั การบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ” 52 26
  • 27. เหตุผลของการเสนอราง พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหาย ฯ  การใหการชวยเหลือเบื้องตนกับผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขมีความจํากัด เฉพาะ ผูใชบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติเทานั้น ไมรวมถึงระบบสวัสดิการขาราชการและ ระบบประกันสังคม หรือแมแตการใชบริการของโรงพยาบาลเอกชน ทําใหผูไดรบความเสียหายจาก ั การรับบริการสาธารณสุขไมมีทางเลือก ในการดําเนินการที่จะไดรบการชดเชยความเสียหาย ั การฟองรองตามกระบวนการยุติธรรม มีปญหาหลายประการ และสงผลตอความสัมพันธ ของผูประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขกับผูปวย การมีกฎหมายคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ทีครอบคลุมทุกคนโดยมี ่ เปาหมายเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น ลดคดีความในการฟองรองและความขัดแยงระหวาง แพทยกับคนไข ดังนั้น เมื่อเกิดปญหาความเสียหายดังกลาวจึงควรใหมีการชดเชยผูเสียหายในเวลาอันรวดเร็ว โดยไมตองพิสูจนความรับผิด และสนับสนุนการพัฒนาระบบความปลอดภัยและการปองกันความ เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข รวมทั้งการจัดตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายอันเนื่องมาจาก การรับบริการ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ 53 รางพ.ร.บ.คุมครองผูเ สียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๕ บุคคลผูเสียหายมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตน และเงินชดเชยจากกองทุนตามพระราชบัญญัตนี้ โดยไมตองพิสจน ิ ู ความรับผิด 54 27
  • 28. รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิใหใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ (๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น แมมการ ี ใหบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ (๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุขตาม มาตรฐานวิชาชีพ (๓) ความเสียหายที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการรักษาแลวไมมีผลกระทบ ตอการดํารงชีวิตตามปกติ ทั้งนี้คณะกรรมการอาจประกาศกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใต หลักเกณฑดังกลาวขางตนได 55 รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสราง เสริมความสัมพันธที่ดในระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบดวย ี (๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ (๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย อธิบดีกรม คุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค และ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ (๓) ผูแทนสถานพยาบาล จํานวนสามคน (๔) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค ดานบริการสุขภาพ จํานวนสามคน 56 28
  • 29. รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๒๐ “กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบ บริการสาธารณสุข” มาตรา ๒๑ การจายเงินสมทบของสถานพยาบาลเอกชน 57 รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้ ตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ภายในสามปนับแต วันที่ไดรูถึงความเสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความ เสียหาย แตทั้งนี้ตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย ในกรณีที่ผูเสียหายถึงแกชวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคํา ี ขอดวยตนเองได ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งไดรับการ มอบหมายเปนหนังสือจากผูเสียหาย แลวแตกรณี อาจยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งได การยืนคําขอตามมาตรานี้จะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ทั้งนี้ ตาม วิธีการ รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ 58 29
  • 30. รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข พ.ศ. .... มาตรา ๓๓ การทําสัญญาประนีประนอมยอมความ มาตรา ๓๘ กระบวนการไกลเกลี่ย มาตรา ๔๒ การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความ เสียหายของสถานพยาบาล มาตรา ๔๕ การเปดโอกาสใหศาลพิจารณาโทษจําเลยใน คดีอาญา โดยศาลอาจไมลงโทษเลยก็ได 59 ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากร ทางการแพทยและสาธารณสุข 1. มีกลไกการพัฒนาระบบบริการและการบริหารความเสี่ยง 2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝกอบรม ที่เนนการใหบริการ สุขภาพดวยหัวใจความเปนมนุษย 3. เสนอใหมีกฎหมายเยียวยาผูเสียหายเบื้องตน โดยไมตองฟองศาล 4. ปฏิรูปกลไกควบคุมผูประกอบวิชาชีพ (แพทยสภา) เพื่อใหมีความ อิสระ มีความนาเชื่อถือ ปราศจากการครอบงําของกลุมผลประโยชน และไมแสดงตัวเปนคูขัดแยงกับกลุมผูปวยหรือประชาชน 60 30