SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
บทนํา
การใหบริการดานการแพทยและสาธารณสุขเปนหนาที่ของ
กระทรวงสาธารณสุข โดยมีเปาหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มี
ความสุข และระบบสุขภาพมีความยั่งยืน แตในการปฏิบัติงานอาจมีเหตุ
ไมพึงประสงคเกิดขึ้นได กอใหเกิดปญหาความไมเขาใจกันระหวางบุคลากร
ทางการแพทยกับผูปวยและญาติ ซึ่งมีประเด็นทั้งในขอเท็จจริงและขอ
กฎหมาย ดังนั้นในการปฏิบัติงาน บุคลากรทางการแพทยตองยึดมั่น
ในมาตรฐานการรักษาพยาบาล มาตรฐานจริยธรรมและปฏิบัติตาม
หลักเกณฑหรือแนวทางที่กฎหมายบัญญัติ เพื่อเปนการปองกันปญหา
ความขัดแยงดังกลาว และปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัยของผูปวยและ
ความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย (2P safety Goals) หนังสือฉบับนี้
ถือเปนแนวทางหนึ่งของการปฏิบัติที่จะชวยลดปญหาความขัดแยงและ
ปฏิบัติใหถูกตองเหมาะสม จึงสมควรที่บุคลากรทางการแพทยจะไดศึกษาไว
เปนความรูและแนวทางปฏิบัติตอไป
นายพิศิษฐ ศรีประเสริฐ
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
คํานํา
หนังสือฉบับนี้ เปนการรวบรวมปญหา ขอสงสัย ในประเด็นที่
เกิดขึ้นในการใหหัตถการทางการแพทยและสาธารณสุข ที่เจาหนาที่และ
บุคลากรทางการแพทยพบอยูบอย ๆ และเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับ
กฎหมายและจริยธรรม โดยหนังสือถาม-ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย
การบริการทางการแพทย ฉบับที่ ๒ ซึ่งผูเขียนไดนําขอหารือ คําถามและ
ประสบการณของแพทย พยาบาล ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมาปรับ
กับบทกฎหมายตอเนื่องกับฉบับที่ ๑ ที่ไดรับความสนใจจากผูที่เกี่ยวของ
พอสมควร ผูเขียนหวังวาหนังสือฉบับนี้จะเปนสวนหนึ่งของความปลอดภัย
ของบุคลากร (Personal Safety ) ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
และชวยใหบุคลากรทางการแพทยไดเขาใจและปฏิบัติไดอยางถูกตอง มั่นใจ
ทําใหผูปวยไดรับการรักษาที่ดี มีคุณภาพ อันมุงสูความปลอดภัยของผูปวย
(Patient Safety) ตอไป
กลุมระงับขอพิพาททางการแพทย
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
สารบัญ
หนา
แมไมอยู ยินยอมอยางไร ๕
OPD กับการใหขอมูล ๖
พยาบาลทําเกินวิชาชีพพยาบาล ๘
มีเงินแตไมจาย ๑๐
ตางดาวกับคารักษา ๑๑
ตางดาวตายแตตังคยังไมจาย ทําอยางไร ๑๒
เมื่อผูปวยหนี ๑๔
เมื่อญาติขอ (เวชระเบียน) ๑๖
โรงพยาบาลอื่นขอเวชระเบียน ๑๗
คาสําเนาเวชระเบียนเรียกเก็บจากใคร ๑๙
หนังสือรับรองกับการแกไข ๒๐
ทําอยางไรเมื่อแพทยไมออกใบรับรองแพทย ๒๒
แคสงสัย จดบันทึกไดเลยหรือไม ๒๔
หมอเห็นไมตรงกันทําอยางไร ๒๕
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
หนา
แจงหมอแลวแตหมอไมมา ๒๖
แรกรับไมมีขอบงชี้ แตเขาทรุดหนัก (ตาย) ๒๘
ชวยดวยหมอโดนแอบถาย ๓๐
ไมใชหมอรักษาไดไหม ๓๔
หนังสือรับรองการตายกับใบชันสูตร ๓๖
เจาหนาที่บาดเจ็บชวยดวย ๓๘
เกิดเหตุขณะกําลังเดินทาง ๔๓
ผูปวยจิตเวชแอบหนีไปกระโดดตึก ๔๓
ตายกลางทางใครรับผิด ๔๔
เหยื่อลําดับที่สอง ๔๖
สงตอตางดาวอยางไรใหปลอดภัย ๔๙
สั่งการรักษาทางไลน (Line) ๕๐
ความสําคัญของความยินยอมกับผูปวยนอก ๕๑
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๕
สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑. แมไมอยู ยินยอมอยางไร
ผูปวยเปนเด็กอายุ ๑๖ ป บิดามารดาอยูตางจังหวัดประสบอุบัติเหตุ
จําเปนตองทําการเย็บแผล ฉีดยาชา ตองมีการใหขอมูลและความยินยอม
หรือไม มีวิธีปฏิบัติอยางไร
กรณีผูปวยเปนเด็กหรือผูเยาว ตองมีผูแทนโดยชอบธรรม คือ บิดา
มารดา เปนผูรับขอมูล และแสดงความยินยอม เวนแตเปนกรณีฉุกเฉิน
ผูปวยในภาวะมีอันตรายรายแรงจําเปนตองทําการรักษาเปนการดวน
ก็สามารถทําการรักษาไดเลย ในการใหความยินยอมกฎหมายไมไดกําหนดให
ตองทําเปนหนังสือ ดังนั้น เจาหนาที่สามารถใชวิธีโทรศัพทหาบิดามารดาเด็ก
เลาอาการใหฟง แจงวิธีการรักษา ความเสี่ยงเทาที่ทําได แลวขออนุญาต
ทําการรักษา เมื่อไดรับอนุญาตแลวใหบันทึกการติดตอทางโทรศัพทนี้ไวใน
เวชระเบียนผูปวย วามีการใหขอมูลแกบิดามารดาผูปวย และไดรับความ
ยินยอมใหทําการรักษาแลว ลงชื่อเจาหนาที่ผูติดตอ และใหผูปวยลงชื่อดวย
เปนหลักฐาน ในกรณีไมสามารถติดตอได และจําเปนตองรีบทําการรักษา
ใหบันทึกไวในเวชระเบียนวา ผูปวยรายนี้จําเปนตองทําการรักษาดวยการ
เย็บแผล ฉีดยาชา เพื่อปองกันอันตรายรายแรงที่จะเกิดขึ้นจากการติดเชื้อ
หรืออื่น ๆ และไมสามารถติดตอผูใหความยินยอมได ลงชื่อผูทําการรักษา
และใหผูปวยลงชื่อดวย (ถาทําได) แลวแพทยทําการรักษาไดเลย
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๖
๒. OPD กับการใหขอมูล
การรักษาผูปวยนอก (OPD) ตองมีการใหขอมูลดวยหรือไม
เดิมเรื่องการใหขอมูลเปนสิทธิของผูปวย ตามคําประกาศสิทธิผูปวย
พ.ศ. ๒๕๔๑ และที่แกไขเพิ่มเติมป พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกระทรวงสาธารณสุข
และสหวิชาชีพทางการแพทย แตไมไดบังคับวาตองบอก เจาหนาที่เลยเขาใจวา
ถาไมถามก็ไมตองใหขอมูลก็ได ตอมามีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๕๐ มาตรา ๘ กําหนดใหผูใหบริการดานสาธารณสุขตองแจงขอมูล
เกี่ยวกับการใหบริการดานสาธารณสุขแกผูรับบริการอยางเพียงพอ
เพื่อประกอบการตัดสินใจรับหรือไมรับบริการ จากบทบัญญัติดังกลาว
เจาหนาที่ตองแจงขอมูลเกี่ยวกับการใหบริการรักษาพยาบาลทุกครั้ง ถือเปน
หนาที่ตามกฎหมาย การไมปฏิบัติตามจะมีความผิดวินัย ความผิดทาง
จริยธรรม และอาจสงผลตอความรับผิดทางแพงและทางอาญา เพราะจะ
เกี่ยวเนื่องกับการใหความยินยอม โดยแนวทางพิจารณาของศาล
ความยินยอมตองมาจากการรับทราบขอมูลอยางเพียงพอและอยางเขาใจ
ของผูปวยหรือผูมีหนาที่รับทราบขอมูลและใหความยินยอมตามกฎหมาย
มิฉะนั้นจะถือวาเจาหนาที่ประมาทเลินเลอไมปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด
แลวทําใหเกิดความเสียหายกับผูปวย ดังนั้น ไมวาผูปวยนอกหรือผูปวยใน
กอนทําการรักษาจะตองมีการใหขอมูลการรักษาพยาบาลอยางเพียงพอ และ
ไดรับความยินยอม จึงจะทําการรักษาพยาบาลได เวนแตจะเปนไปตาม
ขอยกเวนที่กฎหมายกําหนด
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๗
สําหรับขอมูลที่ตองใหควรประกอบดวย
๑. อาการสําคัญและการวินิจฉัยของแพทย
๒. แนวทางการรักษา
๓. ความเสี่ยงของการรักษา
๔. ทางเลือกของการรักษา
๕. ความเสี่ยงของทางเลือกของการรักษา
๖. แนวทางปฏิบัติของผูปวยกอนและหลังรักษา
๗. คาใชจาย
กรณีผูปวยนอก โรงพยาบาลอาจทําตรายางประทับที่มีขอความตาม
ขอ ๑ - ๗ (ถาเปนโรงพยาบาลรัฐบาล ขอ ๗. อาจใชคําวา ตามสิทธิของ
ผูปวย ก็ได ) ประทับลงบนเวชระเบียน เพื่อใหแพทยไดใหขอมูลและบันทึก
โดยในตอนทายอาจเพิ่มขอความ “ขาพเจาไดรับทราบขอมูลแลว และ
ยินยอมใหทําการรักษา” ลงชื่อผูปวย/ผูกระทําแทนผูปวย และลงชื่อแพทย
พยาบาล ในกรณีไมยินยอมใหบันทึกไว และใหลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐาน
และไมทําการรักษา เพราะใน มาตรา ๘ วรรคแรกตอนทาย บัญญัติวา
“ถาผูรับบริการปฏิเสธผูใหรับบริการ จะใหบริการนั้นไมได”
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๘
๓. พยาบาลทําเกินวิชาชีพพยาบาล
แพทยมอบหมายใหพยาบาลทํางานเกินขอบเขตวิชาชีพพยาบาล
ทําไดหรือไม ใครจะเปนผูรับผิดชอบหากเกิดเหตุไมพึงประสงค
พยาบาลประกอบวิชาชีพภายใตกรอบและขอบเขตที่กําหนดตาม
พระราชบัญญัติการพยาบาลและผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แกไขเพิ่มเติม
แตแพทยสามารถมอบหมายใหพยาบาลประกอบวิชาชีพเวชกรรมบางอยางได
โดยมีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งเปนไป
ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยบุคคล ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม
กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล
สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่น หรือสภากาชาดไทย มอบหมาย
ใหประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยการมอบหมายมีดังนี้
๑). การมอบหมายใหประกอบวิชาชีพตามที่กําหนดใน
ระเบียบฯ โดยมีเงื่อนไขที่ตองทําครบทุกขอคือ
- เปนการประกอบวิชาชีพที่กําหนดไวในระเบียบฯ เชน
พยาบาลเจาะเลือด เย็บแผล ฉีดเซรุมแกพิษงู สวนปสสาวะ เปนตน (ขอ ๗)
- ตองเปนการปฏิบัติราชการหรืออยูในระหวางปฏิบัติ
ราชการตามหนาที่หรือตามที่ไดรับมอบหมาย
- ตองอยูในความควบคุมของเจาหนาที่ซึ่งเปนผูประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม
๒). การมอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรม
นอกเหนือจากที่ระบุไวในระเบียบฯ (ขอ ๑๘) มีเงื่อนไขที่ตองทําครบทุกขอ คือ
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๙
- มอบใหกระทําเปนการเฉพาะราย หรือ เฉพาะกรณีเทานั้น
- ตองมอบเปนลายลักษณอักษร
- ตองอยูภายใตการควบคุมของเจาหนาที่ซึ่งเปนผูประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม
- ผูบังคับบัญชาที่เปนเจาหนาที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม
เปนผูสั่งการ หรือมอบหมาย
ซึ่งการมอบหมายดังกลาวทั้ง ๒ กรณี แพทยหรือผูบังคับบัญชา
ที่เปนแพทย ตองพิจารณาถึงความเหมาะสม ความรูความสามารถ
ประสบการณ ทักษะ ของผูที่ไดรับมอบหมายดวย นอกจากนี้ในการ
มอบหมาย ตองอยูภายใตหลักการวา แพทยไมวาง หรือไมสามารถ
ปฏิบัติงานสวนนั้นได เพราะตามเจตนารมณของระเบียบฯ เปนการแกไข
ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาลของรัฐ หากมี
แพทยอยูในที่นั้นและสามารถประกอบวิชาชีพรักษาได ถือวาเปนหนาที่ของ
แพทยโดยตรง จะมอบหมายบุคคลอื่นตามระเบียบฯ เฉพาะกรณีมีเหตุอัน
จําเปนเทานั้น และพยาบาลตองระมัดระวังวาตองเปนการกระทําในการ
ปฏิบัติหนาที่ราชการเทานั้น จะไปทําที่โรงพยาบาลเอกชน หรือ คลินิก หรือ
ที่ใด ๆ ไมได จะมีความผิดฐานประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาต
มีโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๒๖ และมาตรา ๔๓
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๐
๔. มีเงินแตไมจาย
ผูปวยเขามารักษาโรค นอนอยูโรงพยาบาล ๒ เดือน ไมยอมจายเงิน
คารักษาพยาบาลตองทําอยางไร
การตกลงรักษาพยาบาลตามกฎหมาย ถือเปนการทําสัญญาชนิดหนึ่ง
เรียกวาสัญญาตางตอบแทน คือ แพทยมีหนาที่รักษาพยาบาลผูปวย
และผูปวยมีหนาที่จายคาตอบแทนการรักษาพยาบาลนั้นบางกรณี โดยทาง
พิจารณาของศาลเห็นวา มีลักษณะเปนสัญญาจางทําของ ตามมาตรา ๕๘๗
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งบัญญัติวา “อันวาจางทําของนั้น
คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกวาผูรับจาง ตกลงจะทําการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
จนสําเร็จใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูวาจาง และผูวาจางตกลงจะให
สินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้น”
กรณีนี้ เมื่อผูปวยมาถึงโรงพยาบาลและแพทยทําการรักษาแลว
ถือวาสัญญาการรักษพยาบาลเกิดขึ้นโดยไมจําตองมีตัวหนังสือสัญญา
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อผูปวยไมยอมชําระคา
รักษาพยาบาล ถือวา.ผิดสัญญา เจาหนาที่ตองทําการแจงหนี้และ
กําหนดเวลาการชําระหนี้เปนลายลักษณอักษร โดยทําเปนหนังสือของ
โรงพยาบาล ลงทายโดย ผูอํานวยการหรือผูรับมอบอํานาจจากผูอํานวยการ
โรงพยาบาล สงใหผูปวยรับทราบ เมื่อครบกําหนดเวลาที่ระบุไวในหนังสือ
ทวงหนี้แลว ผูปวยไมชําระหนี้ ก็ใหสงเรื่องไปตนสังกัด เพื่อทําการฟองคดี
ภายในอายุความ ๒ ป นับแตวันที่ปฏิเสธการชําระหนี้ เจาหนาที่ไมมีอํานาจ
ยึดทรัพยสินหรือบัตรประชาชนหรือสิ่งใด ๆ ของผูปวยไวเปนหลักประกัน
หากฝาฝนจะมีความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญา
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๑
๕. ตางดาวกับคารักษา
คนไขตางดาวไมมีเงิน จะตองทําอยางไร หรือถามีเงินแตไมยอม
จายคารักษาพยาบาล จะทําอยางไร
กรณีผูปวยตางดาวมารักษาพยาบาลแลวไมมีเงินจายคา
รักษาพยาบาล เจาหนาที่ก็จะตองดําเนินการทําหนังสือแจงหนี้และ
กําหนดเวลาใหชําระเงินสงใหผูปวยทราบโดยอาจตองทําหนังสือที่มีภาษา
ของประเทศผูปวยดวยหรือไมก็ตองมีลามแปลใหผูปวยฟงและรับทราบ
หลังจากครบกําหนดเวลาแลวผูปวยยังไมจายเงินคารักษาพยาบาล
โรงพยาบาลอาจตองประสานงานไปที่สถานทูตเพื่อขอใหติดตอญาติหรือ
ผูปวยมาดําเนินการ และตองสงเรื่องไปยังตนสังกัดเพื่อเตรียมฟองคดีภายใน
อายุความ ๒ ป สวนกรณีมีเงินแตไมยอมจายก็ตองปฏิบัติเชนเดียวกัน และ
การกระทําของผูปวยอาจเขาขายโกงเจาหนี้ซึ่งเปนความผิดทางอาญาซึ่ง
โรงพยาบาลตองสงเรื่องใหตนสังกัด
ดําเนินการตอไป อยางไรก็ตามเพื่อเปน
การขยายอายุความฟองรองคดี เจาหนี้
อาจขอใหผูปวยทําหนังสือรับสภาพหนี้ไว
เพราะมีอายุความฟองรองถึง ๑๐ ป หาก
เจาหนาที่ไดดําเนินการตามกระบวนการ
ดังกลาวครบถวนแลว แมวาในทายที่สุด
จะไมสามารถบังคับใหผูปวยชําระหนี้ได
เจาหนาที่ไมตองรับผิดแตอยางใดเพราะ
ไดดําเนินการตามระเบียบราชการแลว
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๒
๖. ตางดาวตายแตตังคยังไมจาย ทําอยางไร
คนไขตางดาวเสียชีวิตที่โรงพยาบาล มีทรัพยสินอยูแตยังไมไดชําระ
คารักษาพยาบาล เจาหนาที่ควรทําอยางไร
ตามหลักกฎหมายทั่วไป ทรัพยสินของบุคคลที่เสียชีวิตถือเปนมรดก
ตกทอดแกทายาทหรือผูรับพินัยกรรม แตรายละเอียดยอมเปนไปตาม
กฎหมายของประเทศที่ผูปวยมีสัญชาติ กรณีผูปวยตางชาติเสียชีวิต
เจาหนาที่ควรติดตอญาติหรือคนรูจักของผูปวยเพื่อใหแจงทายาทหรือญาติ
มาจัดการศพ หากไมมีใหติดตอสถานทูตประเทศที่ผูปวยมีสัญชาติ แจงการ
ตายและทรัพยสินรวมทั้งหนี้สินที่ตองชําระคารักษาพยาบาลดวย เชน
สถานทูตของสหรัฐอเมริกาจะมีแนวทางปฏิบัติกรณีพลเมืองอเมริกันเสียชีวิต
ในตางประเทศ เปนตน
สวนผูปวยที่เปนคนไทยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลและมีเงินหรือ
ทรัพยสมบัติติดตัวมาดวยนั้น หากไมมีทายาทโดยธรรมหรือผูรับพินัยกรรม
หรือการตั้งมูลนิธิตามพินัยกรรม เงินหรือทรัพยสินของผูปวยเปนมรดกตก
ทอดแกแผนดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๗๕๓ กรณี
ผูปวยเสียชีวิตและยังคงมีทายาท เงินหรือทรัพยสินนั้นยอมตกทอดแก
ทายาท หรือกรณีผูปวยกลับบานโดยไมขอรับทรัพยสินกลับไปเมื่อทาง
โรงพยาบาลไดดําเนินการติดตามเจาของซึ่งเปนผูปวยหรือทายาทหรือญาติ
ของผูปวยใหมารับทรัพยสินแลว ไมมีบุคคลใดมารับทรัพยสินคืน โดย
โรงพยาบาลไดเก็บรักษาทรัพยสินที่ตกคางดังกลาวซึ่งเปนสังหาริมทรัพยไว
เพื่อใหเจาของมาติดตามขอรับคืนเปนเวลาถึง ๕ ปแลว โรงพยาบาลอาจถือ
ไดวาเงินสดหรือทรัพยสินที่ตกคางดังกลาวเปนทรัพยสินไมมีเจาของ
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๓
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๑๙ ซึ่งบุคคลอาจไดมา
ซึ่งกรรมสิทธิ์แหงสังหาริมทรัพยอันไมมีเจาของโดยถือตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๑๘ โดยโรงพยาบาลอาจนําเงินสดเขาเปน
รายไดแผนดินหรือนําทรัพยสินอื่น ๆ ออกขายทอดตลาดแลวนําเงินเขาเปน
รายไดแผนดินได (หนังสือสํานักงานอัยการสูงสุดที่ อส ๐๐๑๗/๗๑๕๒
ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๓)
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๔
๗. เมื่อผูปวยหนี
ผูปวยหลังฟอกเลือด มักพบความดันต่ํากวาเกณฑหรือสูงกวาเกณฑ
กรณีดังตอไปนี้ ควรทําอยางไร
ก. พยาบาลบอกใหรอวัดความดันกอนกลับบาน แตคนไขหนีกลับ
ใหบันทึกอยางไร
ข. ผูปวยใน โรงพยาบาลจะสงกลับเตียงที่ตึกพักรักษาตัว แตผูปวย
เดินกลับเองโดยไมรอเวรเปล จะบันทึกการพยาบาลอยางไร
การบันทึกพฤติกรรมของผูปวยนับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ
รักษาพยาบาล เพราะการประพฤติปฏิบัติของผูปวยที่ไมยอมทําตาม
คําแนะนําของแพทย พยาบาล หรือเจาหนาที่อาจถือเปนการปฏิเสธ
การใหบริการสาธารณสุขได
กรณี ก. พยาบาลบอกใหรอวัดความดันกอนกลับบาน แตคนไขหนี
กลับกอน ใหบันทึกอยางไร ตองดูวา พยาบาลไดแจงหรือบอกหรือไมวา
จําเปนตองวัดความดันกอนกลับบานพรอมเหตุผล ถาพยาบาลบอกแลวถือ
วาพยาบาลไดใหขอมูลการใหบริการรักษาพยาบาลแลว แตผูปวยหนีกลับ
บานถือวาผูปวยปฏิเสธการรักษาหรือการวัดความดัน เขาขายตามมาตรา ๘
แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ เรื่อง การใหขอมูลดาน
สุขภาพและผูปวยปฏิเสธ พยาบาลตองบันทึกการใหขอมูลและพฤติกรรม
การหนีกลับบานของผูปวยในเวชระเบียนหรือบันทึกการพยาบาลไวเปน
หลักฐานแลวลงชื่อพยาบาล วัน เวลา บันทึกไวดวย
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๕
กรณี ข. การที่ผูปวยเดินกลับหองพักเองโดยไมรอเวรเปล ก็ตอง
บันทึกไววาไดแจงใหผูปวยรอเวรเปลกอนแลว แตผูปวยไมยอมรอและเดิน
ดวยตนเองกลับหองพัก โดยบันทึกไวในเวชระเบียนหรือบันทึกการพยาบาล
ลงชื่อพยาบาล วัน เวลาไว เพื่อเปนหลักฐานพิสูจนวาพยาบาลไดดําเนินการ
ตามมาตรฐานการดูแลผูปวยแลวแตผูปวยปฏิเสธ จึงไมตองรับผิดชอบหากมี
เหตุไมพึงประสงคเกิดขึ้น ทั้งนี้เปนไปตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
ดังนั้น ในกรณี แพทย พยาบาล หรือเจาหนาที่ไดใหขอมูลคําแนะนํา
ขอปฏิบัติแกผูปวยใหบันทึกไวเสมอ เพราะอาจเปนหลักฐานสําคัญในการ
พิสูจนถึงการดูแลรักษาผูปวยวาถูกตองตามมาตรฐานหรือไม
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๖
๘. เมื่อญาติขอ (เวชระเบียน)
กรณีผูปวยใสเครื่องชวยหายใจ ไมรูสึกตัวอยูที่โรงพยาบาลแหงหนึ่ง
แลวเจาหนาที่ของโรงพยาบาลนั้นใหญาติมาขอเวชระเบียน ทางโรงพยาบาล
เจาของเวชระเบียนตองใหหรือไม (ผูปวยไมมีบุตร บิดา มารดา เพราะ
เสียชีวิตหมดแลว)
ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗
กําหนดใหขอมูลในเวชระเบียนเปนความลับของผูปวย จะใหผูอื่นเมื่อเปนไป
ตามความประสงคของเจาของขอมูลหรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไวเทานั้น
หากผูใดฝาฝนมีความผิดตามกฎหมายถึงขั้นจําคุกได แตกรณีนี้มีเหตุขัดของ
ไมสามารถหาทายาทผูปวยได และผูปวยไมสามารถแสดงเจตนาไดเมื่อญาติ
มาขอตองใหญาติแสดงหลักฐานในเรื่องนี้ และตองมีหลักฐานจาก
โรงพยาบาลที่ผูปวยรักษาตัวอยูมาดวยวาจําเปนตองใชขอมูลในการ
รักษาพยาบาลผูปวย โรงพยาบาลเจาของขอมูลตรวจสอบแลวเห็นวาถูกตอง
ก็เสนอผูมีอํานาจอนุญาตใหนําขอมูลเวชระเบียน (สําเนา) ไปได ซึ่งลักษณะ
อยางนี้ถือเปนเหตุจําเปนและเปนประโยชนกับผูปวย จึงไมถือวาเจาหนาที่
ประมาทเลินเลอเปดเผยขอมูลหรือเจตนาเปดเผยขอมูลผูปวยใหไดรับ
ความเสียหายแตอยางใด
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๗
๙. โรงพยาบาลอื่นขอเวชระเบียน
โรงพยาบาลอื่นสงหนังสือราชการมาเพื่อขอสําเนาเวชระเบียน
โดยไมมีความยินยอมของผูปวยและสําเนาบัตรประชาชนของผูปวย
โรงพยาบาลตองดําเนินการถายสําเนาเวชระเบียนสงใหหรือไม
การพิจารณาการขอเวชระเบียนจากหนวยงานหรือโรงพยาบาลอื่น
ตองพิจารณาดังนี้
- กรณีโรงพยาบาลหรือหนวยงานที่ขออยูในสังกัดเดียวกัน เชน สังกัด
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สังกัดกรมการแพทย เปนตน
ถาพิจารณาวัตถุประสงคเปนประโยชนตอผูปวยก็สามารถสงสําเนา
เวชระเบียนใหไดเพราะถือเปนหนวยงานเดียวกัน และไมใชกรณีที่
จะทําใหเกิดความเสียหาย
- กรณีหนวยงานอื่นนอกสังกัด ตองพิจารณาวาหนวยงานที่ขอมี
อํานาจตามกฎหมายที่จะขอเอกสารหรือไม เชน หนวยงาน
ทางการทหารมาขอเวชระเบียนของพลทหารเพราะสงสัยวาเปนโรคจิต
หรือสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหงชาติ (ป.ป.ช.) สงสัยวา เจาหนาที่จะมีจิตผิดปกติจึงอยากขอ
ขอมูลประวัติผูปวยของเจาหนาที่ดังกลาว เปนตน หากในกฎหมาย
เฉพาะของหนวยงานทางการทหารหรือ ป.ป.ช. ไมไดใหอํานาจ
เรียกเอกสารไว โรงพยาบาลก็ไมตองสงสําเนาเวชระเบียนให
โดยอางอิง มาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๕๐ แตถาเปนกรณีคณะกรรมการจริยธรรมหรือคณะกรรมการ
สอบสวนตามกฎหมายวิชาชีพทางการแพทยขอเอกสารเวชระเบียน
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๘
เมื่อพิจารณาตามกฎหมายวิชาชีพแลว จะเห็นวามีบทบัญญัติ
ใหอํานาจคณะกรรมการดังกลาวเรียกเอกสารจากผูครอบครองได
หากไมใหโดยไมมีเหตุผลอันสมควรตองมีโทษจําคุก ถือเปนกรณีมี
กฎหมายเฉพาะบัญญัติไวจึงตองสงเอกสารเวชระเบียนดังกลาว
ใหหนวยงานนั้นตามที่กฎหมายกําหนด
แตไมวากรณีใด ๆ ก็ตามหากหนวยงานนั้นไดรับความยินยอมจาก
ผูปวยเจาของขอมูลโดยมีหลักฐานมาแสดง โรงพยาบาลผูครอบครอง
เวชระเบียนก็จะตองสงมอบสําเนาขอมูลดังกลาวใหกับผูขอได ทั้งนี้ภายใต
ขอบเขตการยินยอมและการยินยอมนั้นตองเปนความประสงคของเจาของ
ขอมูลนั้นเอง
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๑๙
๑๐. คาสําเนาเวชระเบียนเรียกเก็บจากใคร
คาสําเนาเวชระเบียน จะสามารถเก็บกับโรงพยาบาลที่ขอสําเนา
จะไดหรือไม เพราะบางครั้งจํานวนหนาของเวชระเบียนและเอกสารตาง ๆ
ที่ขอถายสําเนาอาจมีจํานวนมาก และเปนภาระแกโรงพยาบาลเจาของขอมูล
นั้น ๆ
เอกสารเวชระเบียนและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ถือเปนขอมูล
ขาวสารของทางราชการ ตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐ นอกจากกรณีผูมีสิทธิขอขอมูลดานสุขภาพที่ตองปฏิบัติตาม
มาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งการเรียก
คาธรรมเนียมการขอสําเนา โรงพยาบาลเจาของขอมูลสามารถเรียกเก็บได
ตามประกาศคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ เรื่อง การเรียก
คาธรรมเนียมการขอสําเนา หรือ ขอสําเนาที่มีคํารับรองถูกตองของเอกสาร
ของขอมูลขาวสารของราชการ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒ เชน (๑) ขนาด
กระดาษ เอ ๔ หนาละไมเกิน ๑ บาท เปนตน ในกรณีเปนโรงพยาบาลสังกัด
เดียวกันอาจเรียกเก็บหรือไมก็ไดแลวแตนโยบายของผูบังคับบัญชา
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๐
๑๑. หนังสือรับรองกับการแกไข
หนังสือหรือใบรับรองทางการแพทยตาง ๆ เชน ใบรับรองแพทย
หนังสือรับรองการเกิด หนังสือรับรองการตาย เปนตน ผูปวยหรือผูเกี่ยวของ
จะขอแกไขขอความไดหรือไม
เอกสารตาง ๆ เกี่ยวกับผูปวยที่อยูในความครอบครองหรือที่ออก
โดยหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐ ถือเปนเอกสารขอมูลขาวสารของ
ทางราชการ จึงตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ.๒๕๔๐ โดยมาตรา ๒๕ บัญญัติวา “ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ หรือ
มาตรา ๑๕ บุคคลยอมมีสิทธิที่จะไดรูถึงขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน
และเมื่อบุคคลนั้นมีคําขอเปนหนังสือ หนวยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลขอมูล
ขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลนั้น หรือผูกระทําการแทนบุคคลนั้นไดตรวจดู
หลังไดรับสําเนาขอมูลขาวสารสวนบุคคลสวนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น และใหนํา
มาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม
การเปดเผยรายงานการแพทยที่เกี่ยวกับบุคคลใด ถากรณีมีเหตุ
อันสมควร เจาหนาที่ของรัฐจะเปดเผยตอเฉพาะแพทยที่บุคคลนั้นมอบหมาย
ก็ได
ถาบุคคลใดเห็นวาขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนสวนใด
ไมถูกตองตามความเปนจริง ใหมีสิทธิยื่นคําขอเปนหนังสือใหหนวยงานของ
รัฐที่ควบคุมดูแลขอมูลขาวสารแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลขาวสารสวน
นั้นได ซึ่งหนวยงานของรัฐจะตองพิจารณาคําขอดังกลาว และแจงใหบุคคล
นั้นทราบโดยไมชักชา
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๑
ในกรณีที่หนวยงานของรัฐไมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูล
ขาวสารใหตรงตามที่มีคําขอ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัย
การเปดเผยขอมูลขาวสารภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งไม
ยินยอมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลขาวสาร โดยยื่นอุทธรณตอ
คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและไมวากรณีใด ๆ ใหเจาของขอมูล
มีสิทธิรองขอใหหนวยงานของรัฐหมายเหตุคําขอของตนแนบไวกับขอมูล
ขาวสารที่เกี่ยวของได
ใหบุคคลตามที่กําหนดในกฎกระทรวงมีสิทธิดําเนินการตาม มาตรา
๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรานี้ แทนผูเยาว คนไรความสามารถ คนเสมือนไร
ความสามารถ หรือเจาของขอมูลที่ถึงแกกรรมแลวได”
จะเห็นไดวา
๑.เจาของขอมูลหรือผูปวย มีสิทธิตรวจดูและขอสําเนา
ขอมูลของตนเองได โดยทําคําขอเปนหนังสือ
๒.หนวยงานหรือโรงพยาบาลอาจลบหรือตัดทอนขอความ
ในสวนที่ตองหามมิใหเปดเผย หรือที่ไมเกี่ยวของกับวัตถุประสงคของผูขอได
๓.เจาของขอมูลมีสิทธิขอแกไขขอมูลได ถาเห็นวา
ไมถูกตองตามความเปนจริง โดยขอใหหนวยงานหรือโรงพยาบาล
ที่ครอบครองขอมูลนั้น เปลี่ยนแปลงแกไข หรือลบได
๔.หนวยงานหรือโรงพยาบาลตองตรวจสอบขอเท็จจริงกอน
แลวจึงพิจารณาไมแกไข หรือแกไข หรือเปลี่ยนแปลง หรือลบ ตามที่เจาของ
ขอมูลขอ แตถาไมแกไข ไมเปลี่ยนแปลง หรือไมลบ ตองแจงใหผูขอทราบ
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๒
และแจงสิทธิการอุทธรณ โดยใหยื่นอุทธรณตอคณะกรรมการขอมูลขาวสาร
ของราชการ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันไดรับแจงคําสั่ง
ดังนั้น เมื่อหนวยงานหรือโรงพยาบาลตรวจสอบแลวเห็นวา เอกสาร
ตาง ๆ เกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพ หรือเวชระเบียน หรือใบรับรองตาง ๆ
ถูกตองแลว ก็ตองมีหนังสือชี้แจงและยืนยันไมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบ
ขอมูลเดิม พรอมแจงสิทธิในการอุทธรณคําสั่ง หากมีการอุทธรณและ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคําสั่งใหหนวยงาน หรือ
โรงพยาบาล แกไข เปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลตามที่ผูขอไดขอมา หนวยงาน
หรือโรงพยาบาลก็ตองดําเนินการตามคําสั่งของคณะกรรมการดังกลาว
๑๒. ทําอยางไรเมื่อแพทยไมออกใบรับรองแพทย
โรงพยาบาลออกใบรับรองแพทยไดหรือไม หากแพทยเจาของไข
ไมยอมทําใบรับรองแพทยใหผูปวย
การออกใบรับรองแพทยถือเปนสิทธิและหนาที่ของแพทยผูทําการ
ตรวจรักษา เพราะเปนผูที่รูขอมูลความเจ็บปวยหรือโรคของผูปวยซึ่งใน
ขอบังคับแพทยสภาวาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.
๒๕๔๙ ขอ ๒๕ “ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตองไมเจตนาทุจริตในการออก
ใบรับรองแพทย” โดยหลักการแพทย เมื่อทําการตรวจโรคหรือตรวจรางกาย
ของผูปวยแลว หากผูปวยขอใหแพทยออกใบรับรองแพทยให แพทยไมควร
ปฏิเสธ ซึ่งใบรับรองแพทยมี ๒ ลักษณะคือ ใบรับรองวามีอาการเจ็บปวยจริง
กับใบรับรองแพทยวา ไมไดเจ็บปวย แลวแตกรณีวาจะนําไปใชในเรื่องอะไร
เชน กรณีนําไปประกอบการลาหยุดงาน หรือนําไปสมัครงาน หรือนําไป
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๓
ประกอบการรักษาตัวตอเนื่อง หรือเพื่อเปนการยืนยันสุขภาพของผูปวย เปน
ตน การออกใบรับรองแพทยเปนเรื่องเฉพาะตัวของแพทยแตละคน สวนการ
ประทับตราโรงพยาบาลหรือคลินิก เปนการแสดงสถานะของแพทยในขณะ
ตรวจและออกใบรับรองแพทย เชน ประทับตราโรงพยาบาลของรัฐก็
หมายถึง การตรวจและออกใบรับรองแพทยในฐานะแพทยของโรงพยาบาล
แหงนั้น เปนตน ซึ่งการประทับตราดังกลาวมีผลในทางความนาเชื่อถือของ
ใบรับรองแพทยที่บางหนวยงานหรือสังคมใหการยอมรับมากกวา
โรงพยาบาลหรือคลินิกของเอกชน สวนกรณีหากมีเหตุที่แพทยไมออก
ใบรับรองแพทยให และผูปวยจะเปนตองใชขอมูลความเห็นทางการแพทย
ตอสุขภาพ รางกาย จิตใจของตน และเปนเหตุจําเปนเรงดวน โรงพยาบาล
อาจออกหนังสือรับรองการมาตรวจรักษาของผูปวยได โดยอาจเปนการสรุป
การรักษาหรือสรุปขอมูลเกี่ยวกับสุขภาพของผูปวยที่ปรากฏในประวัติผูปวย
หรือเวชระเบียน แตหนังสือฉบับนี้ไมใชใบรับรองแพทย เพราะผูลงนามไมใช
แพทยที่ทําการตรวจรักษา แตเปนผูอํานวยการโรงพยาบาลหรือผูไดรับ
มอบหมาย โดยถือเปนหนังสือของโรงพยาบาล กรณีเชนนี้ ตองไปถาม
หนวยงานที่ตองการใบรับรองแพทยวาจะใชแทนไดหรือไม อยางไร
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๔
๑๓. แคสงสัย จดบันทึกไดเลยหรือไม
พยาบาลเห็นอาการผูปวยแลวสงสัยวาจะเปนอาการของโรคหัวใจ
จะสามารถเขียนลงไปในบันทึกการพยาบาล หรือเวชระเบียนไดหรือไม
บันทึกการพยาบาล (Nurse’s Note) เปนแบบฟอรมสําหรับการ
บันทึกของพยาบาลในการดูแลผูปวย ประกอบดวยขอมูล ปญหา อาการ
และการพยาบาลที่ผูปวยไดรับในแตละเวร ตั้งแตแรกรับจนถึงการวางแผน
จําหนายผูปวย การประเมินผลภายหลังการใหการพยาบาล ซึ่งพยาบาล
สามารถบันทึกตามความเปนจริงได แตการบันทึกวา ผูปวยมีอาการตาง ๆ
แลวบอกวานาจะเปนโรคนั้นโรคนี้ แมจะเปนความเห็นแตถือเปนการ
วินิจฉัยโรค ซึ่งไมใชการประกอบวิชาชีพพยาบาลแตเปนการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรม แมวาจากประสบการณและความรูที่มีอยูจะสามารถสันนิษฐานได
ก็ไมสมควรจะบันทึกเชนนั้น นอกจากนี้การบันทึกความเห็นในลักษณะ
ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลรายแกแพทยผูเปนเจาของไขหรือแพทยเวรได
เพราะอาจทําใหบุคคลอื่น เชน ศาล อัยการ หรือทนายความ เปนตน นําไป
อางอิงไดวา อาการในลักษณะนั้นพยาบาลยังรูเลยวาเปนอาการของโรค
แตทําไมแพทยไมรูหรือไมทําการรักษา ถาผูปวยเสียชีวิตหรือมีอาการหนัก
ขึ้นอาจมีผลตอการสูคดีของแพทยได ดังนั้นพยาบาลควรบันทึกแตเฉพาะใน
บทบาทหนาที่ตามหลักวิชาชีพพยาบาลเทานั้น ไมควรกาวลวงไปวินิจฉัยโรค
ซึ่งเปนการกระทําที่เกินหนาที่
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๕
๑๔. หมอเห็นไมตรงกันทําอยางไร
ในการดูแลผูปวยหากจําเปนตองทําการผาตัด โดยศัลยแพทย
มีความเห็นใหทําการผาตัดโดยเร็ว แตวิสัญญีแพทยบอกวาผูปวยยังไมพรอม
ควรจะผาตัดเลยหรือไม
ในการรักษาพยาบาลโดยหลักแพทยเจาของไขจะเปนผูตัดสินใจ
แตกรณีเปนเรื่องที่ตองอาศัยแพทยเฉพาะทางเขามาทําการรักษาก็ตองรับฟง
เหตุผลดวย การรักษาพยาบาลผูเกี่ยวของทุกคนมีสวนสัมพันธกับผูปวย
หรือที่เรียกวาสหวิชาชีพ การตัดสินใจตองอยูในสภาพที่มีความพรอมและ
ผูปวยตองมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงนอยที่สุด กรณีการผาตัดวิสัญญีแพทย
เปนผูมีสวนเกี่ยวของที่สําคัญเพราะความเสี่ยงจากการใชยาสลบหรือยาชา
อาจเปนอันตรายตอผูปวย เมื่อวิสัญญีแพทยแจงวายังไมพรอมศัลยแพทย
ควรรับฟง การพิจารณาคดีของศาลจะดูในทุกมิติ หากเห็นวามีความเสี่ยงสูง
ตอการเกิดความเสียหายแตยังฝาฝนกระทําผูกระทําอาจมีความผิดได ดังนั้น
กรณีนี้ศัลยแพทยตองรับฟงเหตุผลของวิสัญญีและยังไมควรผาตัด อยางไรก็ตาม
กรณีเรงดวนฉุกเฉินหากลาชาผูปวยอาจไดรับอันตรายยิ่งกวาก็อาจตองผาตัด
ทันที การพิจารณาตองชั่งน้ําหนักทําอยางไหนเสี่ยงกวากันโดยถือความ
ปลอดภัยของผูปวยเปนที่ตั้งและสิ่งสําคัญที่สุดคือ ตองมีการบันทึกความ
จําเปนเรงดวนไวในเวชระเบียนดวย เพื่อเปนหลักฐานหากมีการฟองรอง
เกิดขึ้น
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๖
๑๕. แจงหมอแลวแตหมอไมมา
ผูปวยในอาการเปลี่ยนแปลงในทางไมดี พยาบาลแจงแพทยแลว
แพทยยังไมมาดูคนไข พยาบาลควรทําอยางไร และบันทึกไวในบันทึกการ
พยาบาลไดหรือไม หากมีเหตุไมพึงประสงคเกิดขึ้นพยาบาลตองรับผิดดวย
หรือไม
กรณีผูปวยใน พยาบาลเปนผูใหการดูแลมากกวาแพทยเพราะ
พยาบาลจะตองอยูดูแลตลอดเวลา แตแพทยมาดูเปนเวลาเทานั้น ดังนั้น
พยาบาลตองปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานจริยธรรม
มีหลายกรณีที่ผูปวยเสียชีวิตแตญาติไมติดใจเพราะพยาบาลปฏิบัติหนาที่นี้
ดวยเมตตาธรรม แพทยเอาใจใสพูดจาดี อธิบายขอสงสัยตาง ๆ โดย
ไมหงุดหงิดรําคาญ การที่ผูปวยในมีอาการเปลี่ยนแปลง พยาบาลมีหนาที่
ตองรายงานแพทยและบันทึกรายละเอียดไวไมวาแพทยจะสั่งการอยางไร
หรือจะมาดูผูปวยหรือไม โดยในระหวางรอแพทยหรือแพทยยังไมมา หรือยัง
ติดตอแพทยไมได พยาบาลตองปฏิบัติหนาที่ตามหลักวิชาการ คอยดู
สถานการณและพูดคุยกับญาติ ในกรณีอาการคอนขางหนัก แพทยเจาของ
ไขยังไมมาใหแจงแพทยทานอื่น ๆ ตามระบบที่มีอยู ในการพิจารณาของศาล
จะดูวาพยาบาลทําหนาที่เต็มที่แลวหรือไมในขอบเขตงานของพยาบาล แมวา
ตอมาผูปวยจะเสียชีวิตหรือพิการพยาบาลก็จะไมมีความผิด สําหรับแพทย
เมื่อไดรับรายงานอาการของผูปวยสามารถใชดุลยพินิจในการสั่งการรักษา
หรือมาดูผูปวยได แตในกรณีมีการแจงตามในครั้งที่ ๒ แพทยควรตองมาดู
ผูปวยหากไมสามารถมาไดใหแจงพยาบาลวาติดภารกิจอะไร พยาบาลบันทึก
ไวในบันทึกการพยาบาล และแพทยหรือพยาบาลตองติดตอแพทยทานอื่น
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๗
หรือแพทยเวรใหมาดูผูปวย จากแนวคําพิพากษาของศาลการไมมาดูผูปวย
โดยไมมีขออางที่มีเหตุผลและเปนความจําเปนจริง ๆ ศาลจะถือวาประมาท
เลินเลอได กระทรวงสาธารณสุขเคยแพคดีเพราะแพทยไมมาดูอาการผูปวย
ทั้งที่ไดรับรายงานจากพยาบาลแลว โดยไมมีเหตุผลที่รับฟงไดวามีเหตุที่
สําคัญจริง ๆที่มาไมไดและไมมีการแจงหรือมอบหมายใหแพทยอื่นมาดูแล
แทน ดังนั้น ในโรงพยาบาลที่มีแพทยหลายทานควรจัดระบบการดูแลผูปวย
ฉุกเฉินหรือเกิดอาการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลันไว สําหรับพยาบาลเพียงแต
รายงานอาการและปฏิบัติหนาที่ใหดีที่สุดก็จะไมมีความผิดใด ๆ และอาจเปน
สิ่งที่จะชวยใหญาติผูปวยและผูปวยเขาใจสถานการณและไมติดใจเอาความ
ได
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๘
๑๖. แรกรับไมมีขอบงชี้ แตเขาทรุดหนัก (ตาย)
ผูปวยเด็กมารับการรักษาที่แผนกผูปวยนอก แพทยตรวจแลวเห็นวา
อาการไมรายแรงไมเขาเกณฑรับไวเปนผูปวยใน จึงสั่งยาใหไปรับประทานที่
บานและใหกลับบาน ปรากฏวาในคืนวันนั้นผูปวยมีอาการทรุดหนักเดินทาง
ไปโรงพยาบาลใกลบานและตองสงตัวกลับมาที่โรงพยาบาลแรก ซึ่งไมมีเตียง
รับผูปวยระหวางรักษาในโรงพยาบาลที่มีเตียงวาง ผูปวยเสียชีวิตแพทย
โรงพยาบาลแรกตองรับผิดชอบหรือไม อยางไร และโรงพยาบาลแรกควร
เตรียมการอยางไรบาง
การตรวจรักษาผูปวยนอกมีความสําคัญ แพทยตองระมัดระวังและ
เอาใจใสโดยเฉพาะเด็ก โดยหลักการตามแนวคําพิพากษาของศาล ผูปวย
ที่ไดรับอนุญาตใหกลับบานหมายถึงผูปวยที่มีอาการอยูในขั้นปลอดภัยหรือ
หายจากโรคภัยแลว ซึ่งแพทยตองมีความแนใจวา ขณะที่ผูปวยกลับบาน
ผูปวยไมมีอาการที่รุนแรงหรืออยูในเกณฑปลอดภัย และไมมีสัญญาณหรือ
ลักษณะที่นาจะเปนอันตรายกอนวันนัดครั้งตอไป โดยตองมีการใหขอมูล
และความยินยอมตามกฎหมายใหครบถวน (การใหขอมูลและความยินยอม
จะบอกถึงการตรวจวินิจฉัยเบื้องตนและการทําความเขาใจกับผูปวยใน
สาระสําคัญของการรักษาแลว) และตองบอกรวมทั้งเขียนในเวชระเบียนดวยวา
ถามีอาการผิดปกติใหรีบมาพบแพทยโดยเร็ว ทุกครั้ง กรณีนี้แพทยและทีม
ตรวจสอบเวชระเบียนและเอกสารอื่นที่เกี่ยวของกับการตรวจรักษาผูปวยวา
มีขอบกพรองอะไรหรือไม แตหามแกไขเพิ่มเติมเวชระเบียนโดยพลการ
แลวสรุปการตรวจรักษาไว สําหรับการตอบคําถามญาติผูปวยโรงพยาบาล
ตองสงเจาหนาที่ไปงานศพและแสดงความเสียใจพรอมทั้งดูสถานการณวา
มีปญหาอะไรหรือไม ทาทีของญาติผูปวยเปนอยางไร ทั้งนี้ยังไมควรใหแพทย
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๒๙
ไปงานศพในครั้งแรกเพราะอาจเปนอันตรายได สวนการเตรียมพรอมในการ
แกไขปญหาทีมบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลตองตรวจสอบทั้งสวนการ
ดําเนินการรักษาของโรงพยาบาล และติดตอขอเอกสารเวชระเบียนจาก
โรงพยาบาลที่ผูปวยไปเสียชีวิต เพื่อดูวาสาเหตุการตายคืออะไร เกี่ยวเนื่อง
กับการตรวจรักษาครั้งแรกหรือไม เพื่อเปนขอมูลไว หากขอมูลยังไมพรอมไม
ควรแถลงขาวหรือใหขอมูลแกบุคคลภายนอกรวมทั้งญาติผูปวยดวย
เพราะอาจคลาดเคลื่อนได แตตองดําเนินการในเวลาอันรวดเร็ว การใหขอมูล
เนนการเลาถึงกระบวนการตรวจรักษาไมบอกวามีผูทําผิดหรือไม เพราะอาจ
เปนความผิดทางอาญาที่จะแกไขยากในภายหลัง โดยใหยืนยันวาแพทย
พยาบาลและเจาหนาที่ไดปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ไมควรบอกวา
ไดทําตามมาตรฐานวิชาชีพแลวเพราะในชั้นนี้ญาติผูปวยกําลังเสียใจอาจ
โกรธแคน การยืนยันวาทําถูกตองอาจทําใหสถานการณในการพูดคุยแยลง
การขอโทษไมไดแปลวาเปนการสารภาพผิดแตเปนการแสดงความเสียใจใน
เหตุการณที่เกิดขึ้น (ในชั้นการใหขอมูลขอใหแจงดวยวา การรักษาไมได
แปลวาจะหายแน ๆ อาจมีเหตุการณแทรกซอนทําใหเกิดอันตรายไดแต
แพทยก็จะพยายามรักษาอยางเต็มที่) สวนกรณีญาติผูปวยโพสตขอความ
และภาพลงในเว็บไซต โรงพยาบาลไมควรตอบโต ควรโพสตแสดงความ
เสียใจและแจงวาขณะนี้โรงพยาบาลกําลังตรวจสอบขอเท็จจริงอยู จากนั้นก็
เขาสูกระบวนการเจรจาไกลเกลี่ย ในกรณีญาติผูปวยติดใจ ซึ่งกรณีนี้หาก
พิสูจนไดวาอาการของผูปวยในขณะใหกลับบานปลอดภัยและไมมีสัญญาณ
จะเกิดความไมปกติที่รุนแรงในระหวางรอวันนัดรวมทั้งแจงดวยวาถามี
อาการผิดปกติใหรีบมาพบแพทยโดยเร็ว ถือวาแพทยปฏิบัติหนาที่ตาม
มาตรฐานวิชาชีพแลว อยางไรก็ตามหากโรงพยาบาลมีเกณฑการรับผูปวยไว
ในโรงพยาบาลเกี่ยวกับโรคนี้ดวยก็จะชวยไดมาก
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๓๐
๑๗. ชวยดวยหมอโดนแอบถาย
กรณีที่ญาติผูปวยถายรูปผูปวย แพทยหรือพยาบาล ในขณะทําการ
ตรวจรักษา รวมทั้งไมไดตรวจรักษา แลวนําไปโพสตในเว็บไซต จะมีความผิด
อะไรหรือไม แพทย พยาบาลหรือเจาหนาที่ ควรทําอยางไร
การถายภาพบุคคลอื่นกําลังเปนประเด็นสําคัญ เพราะขณะนี้ทุกคน
มีกลองถายรูปประจําตัวอยูในโทรศัพทมือถือ สามารถถายรูปบุคคลอื่นหรือ
ตนเองไดทันที แตการถายรูปบุคคลอื่นในบางกรณีอาจถือเปนการละเมิด
ตอกฎหมาย เพราะถือเปนการลวงล้ําในสิทธิสวนบุคคลที่มีกฎหมายคุมครอง
ดังนี้
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจาก
ที่บัญญัติคุมครองไวเปนการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแลว การใดที่มิไดหามหรือ
จํากัดไวในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพที่
จะทําการนั้นได และไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเทาที่การใช
สิทธิหรือเสรีภาพเชนวานั้นไมกระทบกระเทือนหรือเปนอันตรายตอ
ความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
และไมละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น
สิทธิหรือเสรีภาพใดที่รัฐธรรมนูญใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
หรือใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แมยังไมมีการ
ตรากฎหมายนั้นขึ้นใชบังคับ บุคคลหรือชุมชนยอมสามารถใชสิทธิหรือ
เสรีภาพนั้นไดตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๓๑
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่ไดรับความคุมครองตาม
รัฐธรรมนูญ สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญเพื่อใชสิทธิทางศาล
หรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได
บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ
หรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ยอมมีสิทธิที่จะไดรับการ
เยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๓๒ บุคคลยอมมีสิทธิในความเปนอยูสวนตัว เกียรติยศ
ชื่อเสียงและครอบครัว
การกระทําอันเปนการละเมิดหรือกระทบตอสิทธิของบุคคลตาม
วรรคหนึ่งหรือการนําขอมูลสวนบุคคลไปใชประโยชนไมวาในทางใด ๆ
จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ตราขึ้น
เพียงเทาที่จําเปน เพื่อประโยชนสาธารณะ
จากบทบัญญัติมาตรา ๓๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
แสดงถึงความคุมครองสิทธิของบุคคลในความเปนอยูสวนตัว เกียรติยศ
ชื่อเสียงและครอบครัว รวมทั้งการนําขอมูลสวนบุคคลไปใชประโยชน ซึ่งจะ
ทําไดเฉพาะกรณีมีกฎหมายกําหนดเพื่อประโยชนสาธารณะเทานั้น หากมี
ผูฝาฝน ผูถูกละเมิดสามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญใชสิทธิทางศาลได
แมจะไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะในเรื่องนั้น ๆ ตามมาตรา ๒๕ วรรค
สาม นอกจากนี้ในเรื่องขอมูลดานสุขภาพของบุคคล มีพระราชบัญญัติ
สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗ ใหความคุมครอง ผูฝาฝนมีโทษจําคุก
ไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ซึ่งการ
กระทําตาง ๆ ที่อาจเขาขายเปนละเมิดดังกลาวนั้น หากผูถูกกระทํายินยอม
ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
๓๒
ใหผูกระทําสามารถทําได ความยินยอมจะเปนเหตุยกเวนความรับผิดได
กรณีนี้ตองพิจารณาเปน ๓ สวน คือ
๑.การถายภาพผูปวย ผูมีอํานาจยินยอมใหถายภาพคือ ตัวผูปวย
หรือทายาทในกรณีผูปวยไมมีสติสัมปชัญญะ หรือมีสติสัมปชัญญะ
แตไมสามารถใหความยินยอมได เชน เปนอัมพาต เปนตน ถาผูปวยอนุญาต
ผูประสงคจะถายรูปก็สามารถดําเนินการได ในสวนของเจาหนาที่หรือ
โรงพยาบาลตองแจงเรื่องความยินยอมใหผูถายรูปทราบกอนเสมอ เนื่องจาก
ผูปวยเขามาอยูในความดูแลของโรงพยาบาล ถือวาโรงพยาบาลมีหนาที่ตอง
คุมครองขอมูลดานสุขภาพของบุคคลดวย โดยเฉพาะกรณีผูปวยไมมี
สติสัมปชัญญะปจจุบันมีรูปของผูปวยถูกนําไปเผยแพรในสื่อตาง ๆ จํานวนมาก
ซึ่งผูปวยอาจไมทราบขอกฎหมาย ทําใหเกิดความเสียหายได
๒. การถายภาพแพทยหรือเจาหนาที่ เปนการถายภาพบุคคลที่ไมใช
ผูปวยจึงไมเปนขอมูลดานสุขภาพของผูปวยที่โรงพยาบาลตองคุมครอง
แตการที่เราจะถายภาพบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคนก็ตามอาจเปนการ
ลวงละเมิดสิทธิของผูถูกถาย เนื่องจากบุคคลทุกคนไดรับการคุมครองโดย
รัฐธรรมนูญในสิทธิในรางกาย จิตใจ ความเปนสวนตัว เกียรติยศ และชื่อเสีย
การถายภาพเปนการนําขอมูลสวนบุคคลของผูถูกถายไป ถาไมไดรับอนุญาต
จะถือเปนการละเมิดสิทธิดังกลาวไดแมวาจะยังไมเกิดความเสียหายก็ตาม
โดยหลักแลวผูถูกถายมีสิทธิขอใหผูถายลบรูปภาพนั้นไดดวย กรณีนี้แมจะไม
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว (ในขณะนี้) ก็ตาม แตรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทยคุมครองตามมาตรา ๒๕ และมาตรา ๓๒ กลาวโดยสรุป คือ
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2

More Related Content

Similar to ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2

ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)larnpho
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmchrmsmc
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 

Similar to ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2 (20)

ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 

More from larnpho

คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)larnpho
 
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3larnpho
 
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1larnpho
 
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...larnpho
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...larnpho
 
CV Larnpho B Vong (2022).pdf
CV Larnpho B Vong (2022).pdfCV Larnpho B Vong (2022).pdf
CV Larnpho B Vong (2022).pdflarnpho
 

More from larnpho (6)

คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์(สำหรับแพทย์จบใหม่)
 
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
 
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
 
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
 
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
 
CV Larnpho B Vong (2022).pdf
CV Larnpho B Vong (2022).pdfCV Larnpho B Vong (2022).pdf
CV Larnpho B Vong (2022).pdf
 

ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2

  • 1.
  • 2. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒)
  • 3. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) บทนํา การใหบริการดานการแพทยและสาธารณสุขเปนหนาที่ของ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีเปาหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มี ความสุข และระบบสุขภาพมีความยั่งยืน แตในการปฏิบัติงานอาจมีเหตุ ไมพึงประสงคเกิดขึ้นได กอใหเกิดปญหาความไมเขาใจกันระหวางบุคลากร ทางการแพทยกับผูปวยและญาติ ซึ่งมีประเด็นทั้งในขอเท็จจริงและขอ กฎหมาย ดังนั้นในการปฏิบัติงาน บุคลากรทางการแพทยตองยึดมั่น ในมาตรฐานการรักษาพยาบาล มาตรฐานจริยธรรมและปฏิบัติตาม หลักเกณฑหรือแนวทางที่กฎหมายบัญญัติ เพื่อเปนการปองกันปญหา ความขัดแยงดังกลาว และปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัยของผูปวยและ ความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย (2P safety Goals) หนังสือฉบับนี้ ถือเปนแนวทางหนึ่งของการปฏิบัติที่จะชวยลดปญหาความขัดแยงและ ปฏิบัติใหถูกตองเหมาะสม จึงสมควรที่บุคลากรทางการแพทยจะไดศึกษาไว เปนความรูและแนวทางปฏิบัติตอไป นายพิศิษฐ ศรีประเสริฐ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 4. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) คํานํา หนังสือฉบับนี้ เปนการรวบรวมปญหา ขอสงสัย ในประเด็นที่ เกิดขึ้นในการใหหัตถการทางการแพทยและสาธารณสุข ที่เจาหนาที่และ บุคลากรทางการแพทยพบอยูบอย ๆ และเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับ กฎหมายและจริยธรรม โดยหนังสือถาม-ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย ฉบับที่ ๒ ซึ่งผูเขียนไดนําขอหารือ คําถามและ ประสบการณของแพทย พยาบาล ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมาปรับ กับบทกฎหมายตอเนื่องกับฉบับที่ ๑ ที่ไดรับความสนใจจากผูที่เกี่ยวของ พอสมควร ผูเขียนหวังวาหนังสือฉบับนี้จะเปนสวนหนึ่งของความปลอดภัย ของบุคลากร (Personal Safety ) ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และชวยใหบุคลากรทางการแพทยไดเขาใจและปฏิบัติไดอยางถูกตอง มั่นใจ ทําใหผูปวยไดรับการรักษาที่ดี มีคุณภาพ อันมุงสูความปลอดภัยของผูปวย (Patient Safety) ตอไป กลุมระงับขอพิพาททางการแพทย สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 5. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) สารบัญ หนา แมไมอยู ยินยอมอยางไร ๕ OPD กับการใหขอมูล ๖ พยาบาลทําเกินวิชาชีพพยาบาล ๘ มีเงินแตไมจาย ๑๐ ตางดาวกับคารักษา ๑๑ ตางดาวตายแตตังคยังไมจาย ทําอยางไร ๑๒ เมื่อผูปวยหนี ๑๔ เมื่อญาติขอ (เวชระเบียน) ๑๖ โรงพยาบาลอื่นขอเวชระเบียน ๑๗ คาสําเนาเวชระเบียนเรียกเก็บจากใคร ๑๙ หนังสือรับรองกับการแกไข ๒๐ ทําอยางไรเมื่อแพทยไมออกใบรับรองแพทย ๒๒ แคสงสัย จดบันทึกไดเลยหรือไม ๒๔ หมอเห็นไมตรงกันทําอยางไร ๒๕
  • 6. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) หนา แจงหมอแลวแตหมอไมมา ๒๖ แรกรับไมมีขอบงชี้ แตเขาทรุดหนัก (ตาย) ๒๘ ชวยดวยหมอโดนแอบถาย ๓๐ ไมใชหมอรักษาไดไหม ๓๔ หนังสือรับรองการตายกับใบชันสูตร ๓๖ เจาหนาที่บาดเจ็บชวยดวย ๓๘ เกิดเหตุขณะกําลังเดินทาง ๔๓ ผูปวยจิตเวชแอบหนีไปกระโดดตึก ๔๓ ตายกลางทางใครรับผิด ๔๔ เหยื่อลําดับที่สอง ๔๖ สงตอตางดาวอยางไรใหปลอดภัย ๔๙ สั่งการรักษาทางไลน (Line) ๕๐ ความสําคัญของความยินยอมกับผูปวยนอก ๕๑
  • 7. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๕ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑. แมไมอยู ยินยอมอยางไร ผูปวยเปนเด็กอายุ ๑๖ ป บิดามารดาอยูตางจังหวัดประสบอุบัติเหตุ จําเปนตองทําการเย็บแผล ฉีดยาชา ตองมีการใหขอมูลและความยินยอม หรือไม มีวิธีปฏิบัติอยางไร กรณีผูปวยเปนเด็กหรือผูเยาว ตองมีผูแทนโดยชอบธรรม คือ บิดา มารดา เปนผูรับขอมูล และแสดงความยินยอม เวนแตเปนกรณีฉุกเฉิน ผูปวยในภาวะมีอันตรายรายแรงจําเปนตองทําการรักษาเปนการดวน ก็สามารถทําการรักษาไดเลย ในการใหความยินยอมกฎหมายไมไดกําหนดให ตองทําเปนหนังสือ ดังนั้น เจาหนาที่สามารถใชวิธีโทรศัพทหาบิดามารดาเด็ก เลาอาการใหฟง แจงวิธีการรักษา ความเสี่ยงเทาที่ทําได แลวขออนุญาต ทําการรักษา เมื่อไดรับอนุญาตแลวใหบันทึกการติดตอทางโทรศัพทนี้ไวใน เวชระเบียนผูปวย วามีการใหขอมูลแกบิดามารดาผูปวย และไดรับความ ยินยอมใหทําการรักษาแลว ลงชื่อเจาหนาที่ผูติดตอ และใหผูปวยลงชื่อดวย เปนหลักฐาน ในกรณีไมสามารถติดตอได และจําเปนตองรีบทําการรักษา ใหบันทึกไวในเวชระเบียนวา ผูปวยรายนี้จําเปนตองทําการรักษาดวยการ เย็บแผล ฉีดยาชา เพื่อปองกันอันตรายรายแรงที่จะเกิดขึ้นจากการติดเชื้อ หรืออื่น ๆ และไมสามารถติดตอผูใหความยินยอมได ลงชื่อผูทําการรักษา และใหผูปวยลงชื่อดวย (ถาทําได) แลวแพทยทําการรักษาไดเลย
  • 8. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๖ ๒. OPD กับการใหขอมูล การรักษาผูปวยนอก (OPD) ตองมีการใหขอมูลดวยหรือไม เดิมเรื่องการใหขอมูลเปนสิทธิของผูปวย ตามคําประกาศสิทธิผูปวย พ.ศ. ๒๕๔๑ และที่แกไขเพิ่มเติมป พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกระทรวงสาธารณสุข และสหวิชาชีพทางการแพทย แตไมไดบังคับวาตองบอก เจาหนาที่เลยเขาใจวา ถาไมถามก็ไมตองใหขอมูลก็ได ตอมามีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘ กําหนดใหผูใหบริการดานสาธารณสุขตองแจงขอมูล เกี่ยวกับการใหบริการดานสาธารณสุขแกผูรับบริการอยางเพียงพอ เพื่อประกอบการตัดสินใจรับหรือไมรับบริการ จากบทบัญญัติดังกลาว เจาหนาที่ตองแจงขอมูลเกี่ยวกับการใหบริการรักษาพยาบาลทุกครั้ง ถือเปน หนาที่ตามกฎหมาย การไมปฏิบัติตามจะมีความผิดวินัย ความผิดทาง จริยธรรม และอาจสงผลตอความรับผิดทางแพงและทางอาญา เพราะจะ เกี่ยวเนื่องกับการใหความยินยอม โดยแนวทางพิจารณาของศาล ความยินยอมตองมาจากการรับทราบขอมูลอยางเพียงพอและอยางเขาใจ ของผูปวยหรือผูมีหนาที่รับทราบขอมูลและใหความยินยอมตามกฎหมาย มิฉะนั้นจะถือวาเจาหนาที่ประมาทเลินเลอไมปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด แลวทําใหเกิดความเสียหายกับผูปวย ดังนั้น ไมวาผูปวยนอกหรือผูปวยใน กอนทําการรักษาจะตองมีการใหขอมูลการรักษาพยาบาลอยางเพียงพอ และ ไดรับความยินยอม จึงจะทําการรักษาพยาบาลได เวนแตจะเปนไปตาม ขอยกเวนที่กฎหมายกําหนด
  • 9. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๗ สําหรับขอมูลที่ตองใหควรประกอบดวย ๑. อาการสําคัญและการวินิจฉัยของแพทย ๒. แนวทางการรักษา ๓. ความเสี่ยงของการรักษา ๔. ทางเลือกของการรักษา ๕. ความเสี่ยงของทางเลือกของการรักษา ๖. แนวทางปฏิบัติของผูปวยกอนและหลังรักษา ๗. คาใชจาย กรณีผูปวยนอก โรงพยาบาลอาจทําตรายางประทับที่มีขอความตาม ขอ ๑ - ๗ (ถาเปนโรงพยาบาลรัฐบาล ขอ ๗. อาจใชคําวา ตามสิทธิของ ผูปวย ก็ได ) ประทับลงบนเวชระเบียน เพื่อใหแพทยไดใหขอมูลและบันทึก โดยในตอนทายอาจเพิ่มขอความ “ขาพเจาไดรับทราบขอมูลแลว และ ยินยอมใหทําการรักษา” ลงชื่อผูปวย/ผูกระทําแทนผูปวย และลงชื่อแพทย พยาบาล ในกรณีไมยินยอมใหบันทึกไว และใหลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐาน และไมทําการรักษา เพราะใน มาตรา ๘ วรรคแรกตอนทาย บัญญัติวา “ถาผูรับบริการปฏิเสธผูใหรับบริการ จะใหบริการนั้นไมได”
  • 10. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๘ ๓. พยาบาลทําเกินวิชาชีพพยาบาล แพทยมอบหมายใหพยาบาลทํางานเกินขอบเขตวิชาชีพพยาบาล ทําไดหรือไม ใครจะเปนผูรับผิดชอบหากเกิดเหตุไมพึงประสงค พยาบาลประกอบวิชาชีพภายใตกรอบและขอบเขตที่กําหนดตาม พระราชบัญญัติการพยาบาลและผดุงครรภ พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แกไขเพิ่มเติม แตแพทยสามารถมอบหมายใหพยาบาลประกอบวิชาชีพเวชกรรมบางอยางได โดยมีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งเปนไป ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยบุคคล ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่น หรือสภากาชาดไทย มอบหมาย ใหประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยการมอบหมายมีดังนี้ ๑). การมอบหมายใหประกอบวิชาชีพตามที่กําหนดใน ระเบียบฯ โดยมีเงื่อนไขที่ตองทําครบทุกขอคือ - เปนการประกอบวิชาชีพที่กําหนดไวในระเบียบฯ เชน พยาบาลเจาะเลือด เย็บแผล ฉีดเซรุมแกพิษงู สวนปสสาวะ เปนตน (ขอ ๗) - ตองเปนการปฏิบัติราชการหรืออยูในระหวางปฏิบัติ ราชการตามหนาที่หรือตามที่ไดรับมอบหมาย - ตองอยูในความควบคุมของเจาหนาที่ซึ่งเปนผูประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ๒). การมอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรม นอกเหนือจากที่ระบุไวในระเบียบฯ (ขอ ๑๘) มีเงื่อนไขที่ตองทําครบทุกขอ คือ
  • 11. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๙ - มอบใหกระทําเปนการเฉพาะราย หรือ เฉพาะกรณีเทานั้น - ตองมอบเปนลายลักษณอักษร - ตองอยูภายใตการควบคุมของเจาหนาที่ซึ่งเปนผูประกอบ วิชาชีพเวชกรรม - ผูบังคับบัญชาที่เปนเจาหนาที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม เปนผูสั่งการ หรือมอบหมาย ซึ่งการมอบหมายดังกลาวทั้ง ๒ กรณี แพทยหรือผูบังคับบัญชา ที่เปนแพทย ตองพิจารณาถึงความเหมาะสม ความรูความสามารถ ประสบการณ ทักษะ ของผูที่ไดรับมอบหมายดวย นอกจากนี้ในการ มอบหมาย ตองอยูภายใตหลักการวา แพทยไมวาง หรือไมสามารถ ปฏิบัติงานสวนนั้นได เพราะตามเจตนารมณของระเบียบฯ เปนการแกไข ปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาลของรัฐ หากมี แพทยอยูในที่นั้นและสามารถประกอบวิชาชีพรักษาได ถือวาเปนหนาที่ของ แพทยโดยตรง จะมอบหมายบุคคลอื่นตามระเบียบฯ เฉพาะกรณีมีเหตุอัน จําเปนเทานั้น และพยาบาลตองระมัดระวังวาตองเปนการกระทําในการ ปฏิบัติหนาที่ราชการเทานั้น จะไปทําที่โรงพยาบาลเอกชน หรือ คลินิก หรือ ที่ใด ๆ ไมได จะมีความผิดฐานประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาต มีโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๒๖ และมาตรา ๔๓
  • 12. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๐ ๔. มีเงินแตไมจาย ผูปวยเขามารักษาโรค นอนอยูโรงพยาบาล ๒ เดือน ไมยอมจายเงิน คารักษาพยาบาลตองทําอยางไร การตกลงรักษาพยาบาลตามกฎหมาย ถือเปนการทําสัญญาชนิดหนึ่ง เรียกวาสัญญาตางตอบแทน คือ แพทยมีหนาที่รักษาพยาบาลผูปวย และผูปวยมีหนาที่จายคาตอบแทนการรักษาพยาบาลนั้นบางกรณี โดยทาง พิจารณาของศาลเห็นวา มีลักษณะเปนสัญญาจางทําของ ตามมาตรา ๕๘๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งบัญญัติวา “อันวาจางทําของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกวาผูรับจาง ตกลงจะทําการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จนสําเร็จใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูวาจาง และผูวาจางตกลงจะให สินจางเพื่อผลสําเร็จแหงการที่ทํานั้น” กรณีนี้ เมื่อผูปวยมาถึงโรงพยาบาลและแพทยทําการรักษาแลว ถือวาสัญญาการรักษพยาบาลเกิดขึ้นโดยไมจําตองมีตัวหนังสือสัญญา ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อผูปวยไมยอมชําระคา รักษาพยาบาล ถือวา.ผิดสัญญา เจาหนาที่ตองทําการแจงหนี้และ กําหนดเวลาการชําระหนี้เปนลายลักษณอักษร โดยทําเปนหนังสือของ โรงพยาบาล ลงทายโดย ผูอํานวยการหรือผูรับมอบอํานาจจากผูอํานวยการ โรงพยาบาล สงใหผูปวยรับทราบ เมื่อครบกําหนดเวลาที่ระบุไวในหนังสือ ทวงหนี้แลว ผูปวยไมชําระหนี้ ก็ใหสงเรื่องไปตนสังกัด เพื่อทําการฟองคดี ภายในอายุความ ๒ ป นับแตวันที่ปฏิเสธการชําระหนี้ เจาหนาที่ไมมีอํานาจ ยึดทรัพยสินหรือบัตรประชาชนหรือสิ่งใด ๆ ของผูปวยไวเปนหลักประกัน หากฝาฝนจะมีความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญา
  • 13. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๑ ๕. ตางดาวกับคารักษา คนไขตางดาวไมมีเงิน จะตองทําอยางไร หรือถามีเงินแตไมยอม จายคารักษาพยาบาล จะทําอยางไร กรณีผูปวยตางดาวมารักษาพยาบาลแลวไมมีเงินจายคา รักษาพยาบาล เจาหนาที่ก็จะตองดําเนินการทําหนังสือแจงหนี้และ กําหนดเวลาใหชําระเงินสงใหผูปวยทราบโดยอาจตองทําหนังสือที่มีภาษา ของประเทศผูปวยดวยหรือไมก็ตองมีลามแปลใหผูปวยฟงและรับทราบ หลังจากครบกําหนดเวลาแลวผูปวยยังไมจายเงินคารักษาพยาบาล โรงพยาบาลอาจตองประสานงานไปที่สถานทูตเพื่อขอใหติดตอญาติหรือ ผูปวยมาดําเนินการ และตองสงเรื่องไปยังตนสังกัดเพื่อเตรียมฟองคดีภายใน อายุความ ๒ ป สวนกรณีมีเงินแตไมยอมจายก็ตองปฏิบัติเชนเดียวกัน และ การกระทําของผูปวยอาจเขาขายโกงเจาหนี้ซึ่งเปนความผิดทางอาญาซึ่ง โรงพยาบาลตองสงเรื่องใหตนสังกัด ดําเนินการตอไป อยางไรก็ตามเพื่อเปน การขยายอายุความฟองรองคดี เจาหนี้ อาจขอใหผูปวยทําหนังสือรับสภาพหนี้ไว เพราะมีอายุความฟองรองถึง ๑๐ ป หาก เจาหนาที่ไดดําเนินการตามกระบวนการ ดังกลาวครบถวนแลว แมวาในทายที่สุด จะไมสามารถบังคับใหผูปวยชําระหนี้ได เจาหนาที่ไมตองรับผิดแตอยางใดเพราะ ไดดําเนินการตามระเบียบราชการแลว
  • 14. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๒ ๖. ตางดาวตายแตตังคยังไมจาย ทําอยางไร คนไขตางดาวเสียชีวิตที่โรงพยาบาล มีทรัพยสินอยูแตยังไมไดชําระ คารักษาพยาบาล เจาหนาที่ควรทําอยางไร ตามหลักกฎหมายทั่วไป ทรัพยสินของบุคคลที่เสียชีวิตถือเปนมรดก ตกทอดแกทายาทหรือผูรับพินัยกรรม แตรายละเอียดยอมเปนไปตาม กฎหมายของประเทศที่ผูปวยมีสัญชาติ กรณีผูปวยตางชาติเสียชีวิต เจาหนาที่ควรติดตอญาติหรือคนรูจักของผูปวยเพื่อใหแจงทายาทหรือญาติ มาจัดการศพ หากไมมีใหติดตอสถานทูตประเทศที่ผูปวยมีสัญชาติ แจงการ ตายและทรัพยสินรวมทั้งหนี้สินที่ตองชําระคารักษาพยาบาลดวย เชน สถานทูตของสหรัฐอเมริกาจะมีแนวทางปฏิบัติกรณีพลเมืองอเมริกันเสียชีวิต ในตางประเทศ เปนตน สวนผูปวยที่เปนคนไทยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลและมีเงินหรือ ทรัพยสมบัติติดตัวมาดวยนั้น หากไมมีทายาทโดยธรรมหรือผูรับพินัยกรรม หรือการตั้งมูลนิธิตามพินัยกรรม เงินหรือทรัพยสินของผูปวยเปนมรดกตก ทอดแกแผนดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๗๕๓ กรณี ผูปวยเสียชีวิตและยังคงมีทายาท เงินหรือทรัพยสินนั้นยอมตกทอดแก ทายาท หรือกรณีผูปวยกลับบานโดยไมขอรับทรัพยสินกลับไปเมื่อทาง โรงพยาบาลไดดําเนินการติดตามเจาของซึ่งเปนผูปวยหรือทายาทหรือญาติ ของผูปวยใหมารับทรัพยสินแลว ไมมีบุคคลใดมารับทรัพยสินคืน โดย โรงพยาบาลไดเก็บรักษาทรัพยสินที่ตกคางดังกลาวซึ่งเปนสังหาริมทรัพยไว เพื่อใหเจาของมาติดตามขอรับคืนเปนเวลาถึง ๕ ปแลว โรงพยาบาลอาจถือ ไดวาเงินสดหรือทรัพยสินที่ตกคางดังกลาวเปนทรัพยสินไมมีเจาของ
  • 15. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๓ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๑๙ ซึ่งบุคคลอาจไดมา ซึ่งกรรมสิทธิ์แหงสังหาริมทรัพยอันไมมีเจาของโดยถือตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๑๘ โดยโรงพยาบาลอาจนําเงินสดเขาเปน รายไดแผนดินหรือนําทรัพยสินอื่น ๆ ออกขายทอดตลาดแลวนําเงินเขาเปน รายไดแผนดินได (หนังสือสํานักงานอัยการสูงสุดที่ อส ๐๐๑๗/๗๑๕๒ ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๓)
  • 16. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๔ ๗. เมื่อผูปวยหนี ผูปวยหลังฟอกเลือด มักพบความดันต่ํากวาเกณฑหรือสูงกวาเกณฑ กรณีดังตอไปนี้ ควรทําอยางไร ก. พยาบาลบอกใหรอวัดความดันกอนกลับบาน แตคนไขหนีกลับ ใหบันทึกอยางไร ข. ผูปวยใน โรงพยาบาลจะสงกลับเตียงที่ตึกพักรักษาตัว แตผูปวย เดินกลับเองโดยไมรอเวรเปล จะบันทึกการพยาบาลอยางไร การบันทึกพฤติกรรมของผูปวยนับเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ รักษาพยาบาล เพราะการประพฤติปฏิบัติของผูปวยที่ไมยอมทําตาม คําแนะนําของแพทย พยาบาล หรือเจาหนาที่อาจถือเปนการปฏิเสธ การใหบริการสาธารณสุขได กรณี ก. พยาบาลบอกใหรอวัดความดันกอนกลับบาน แตคนไขหนี กลับกอน ใหบันทึกอยางไร ตองดูวา พยาบาลไดแจงหรือบอกหรือไมวา จําเปนตองวัดความดันกอนกลับบานพรอมเหตุผล ถาพยาบาลบอกแลวถือ วาพยาบาลไดใหขอมูลการใหบริการรักษาพยาบาลแลว แตผูปวยหนีกลับ บานถือวาผูปวยปฏิเสธการรักษาหรือการวัดความดัน เขาขายตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ เรื่อง การใหขอมูลดาน สุขภาพและผูปวยปฏิเสธ พยาบาลตองบันทึกการใหขอมูลและพฤติกรรม การหนีกลับบานของผูปวยในเวชระเบียนหรือบันทึกการพยาบาลไวเปน หลักฐานแลวลงชื่อพยาบาล วัน เวลา บันทึกไวดวย
  • 17. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๕ กรณี ข. การที่ผูปวยเดินกลับหองพักเองโดยไมรอเวรเปล ก็ตอง บันทึกไววาไดแจงใหผูปวยรอเวรเปลกอนแลว แตผูปวยไมยอมรอและเดิน ดวยตนเองกลับหองพัก โดยบันทึกไวในเวชระเบียนหรือบันทึกการพยาบาล ลงชื่อพยาบาล วัน เวลาไว เพื่อเปนหลักฐานพิสูจนวาพยาบาลไดดําเนินการ ตามมาตรฐานการดูแลผูปวยแลวแตผูปวยปฏิเสธ จึงไมตองรับผิดชอบหากมี เหตุไมพึงประสงคเกิดขึ้น ทั้งนี้เปนไปตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติ สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนั้น ในกรณี แพทย พยาบาล หรือเจาหนาที่ไดใหขอมูลคําแนะนํา ขอปฏิบัติแกผูปวยใหบันทึกไวเสมอ เพราะอาจเปนหลักฐานสําคัญในการ พิสูจนถึงการดูแลรักษาผูปวยวาถูกตองตามมาตรฐานหรือไม
  • 18. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๖ ๘. เมื่อญาติขอ (เวชระเบียน) กรณีผูปวยใสเครื่องชวยหายใจ ไมรูสึกตัวอยูที่โรงพยาบาลแหงหนึ่ง แลวเจาหนาที่ของโรงพยาบาลนั้นใหญาติมาขอเวชระเบียน ทางโรงพยาบาล เจาของเวชระเบียนตองใหหรือไม (ผูปวยไมมีบุตร บิดา มารดา เพราะ เสียชีวิตหมดแลว) ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗ กําหนดใหขอมูลในเวชระเบียนเปนความลับของผูปวย จะใหผูอื่นเมื่อเปนไป ตามความประสงคของเจาของขอมูลหรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไวเทานั้น หากผูใดฝาฝนมีความผิดตามกฎหมายถึงขั้นจําคุกได แตกรณีนี้มีเหตุขัดของ ไมสามารถหาทายาทผูปวยได และผูปวยไมสามารถแสดงเจตนาไดเมื่อญาติ มาขอตองใหญาติแสดงหลักฐานในเรื่องนี้ และตองมีหลักฐานจาก โรงพยาบาลที่ผูปวยรักษาตัวอยูมาดวยวาจําเปนตองใชขอมูลในการ รักษาพยาบาลผูปวย โรงพยาบาลเจาของขอมูลตรวจสอบแลวเห็นวาถูกตอง ก็เสนอผูมีอํานาจอนุญาตใหนําขอมูลเวชระเบียน (สําเนา) ไปได ซึ่งลักษณะ อยางนี้ถือเปนเหตุจําเปนและเปนประโยชนกับผูปวย จึงไมถือวาเจาหนาที่ ประมาทเลินเลอเปดเผยขอมูลหรือเจตนาเปดเผยขอมูลผูปวยใหไดรับ ความเสียหายแตอยางใด
  • 19. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๗ ๙. โรงพยาบาลอื่นขอเวชระเบียน โรงพยาบาลอื่นสงหนังสือราชการมาเพื่อขอสําเนาเวชระเบียน โดยไมมีความยินยอมของผูปวยและสําเนาบัตรประชาชนของผูปวย โรงพยาบาลตองดําเนินการถายสําเนาเวชระเบียนสงใหหรือไม การพิจารณาการขอเวชระเบียนจากหนวยงานหรือโรงพยาบาลอื่น ตองพิจารณาดังนี้ - กรณีโรงพยาบาลหรือหนวยงานที่ขออยูในสังกัดเดียวกัน เชน สังกัด สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สังกัดกรมการแพทย เปนตน ถาพิจารณาวัตถุประสงคเปนประโยชนตอผูปวยก็สามารถสงสําเนา เวชระเบียนใหไดเพราะถือเปนหนวยงานเดียวกัน และไมใชกรณีที่ จะทําใหเกิดความเสียหาย - กรณีหนวยงานอื่นนอกสังกัด ตองพิจารณาวาหนวยงานที่ขอมี อํานาจตามกฎหมายที่จะขอเอกสารหรือไม เชน หนวยงาน ทางการทหารมาขอเวชระเบียนของพลทหารเพราะสงสัยวาเปนโรคจิต หรือสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ (ป.ป.ช.) สงสัยวา เจาหนาที่จะมีจิตผิดปกติจึงอยากขอ ขอมูลประวัติผูปวยของเจาหนาที่ดังกลาว เปนตน หากในกฎหมาย เฉพาะของหนวยงานทางการทหารหรือ ป.ป.ช. ไมไดใหอํานาจ เรียกเอกสารไว โรงพยาบาลก็ไมตองสงสําเนาเวชระเบียนให โดยอางอิง มาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ แตถาเปนกรณีคณะกรรมการจริยธรรมหรือคณะกรรมการ สอบสวนตามกฎหมายวิชาชีพทางการแพทยขอเอกสารเวชระเบียน
  • 20. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๘ เมื่อพิจารณาตามกฎหมายวิชาชีพแลว จะเห็นวามีบทบัญญัติ ใหอํานาจคณะกรรมการดังกลาวเรียกเอกสารจากผูครอบครองได หากไมใหโดยไมมีเหตุผลอันสมควรตองมีโทษจําคุก ถือเปนกรณีมี กฎหมายเฉพาะบัญญัติไวจึงตองสงเอกสารเวชระเบียนดังกลาว ใหหนวยงานนั้นตามที่กฎหมายกําหนด แตไมวากรณีใด ๆ ก็ตามหากหนวยงานนั้นไดรับความยินยอมจาก ผูปวยเจาของขอมูลโดยมีหลักฐานมาแสดง โรงพยาบาลผูครอบครอง เวชระเบียนก็จะตองสงมอบสําเนาขอมูลดังกลาวใหกับผูขอได ทั้งนี้ภายใต ขอบเขตการยินยอมและการยินยอมนั้นตองเปนความประสงคของเจาของ ขอมูลนั้นเอง
  • 21. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๑๙ ๑๐. คาสําเนาเวชระเบียนเรียกเก็บจากใคร คาสําเนาเวชระเบียน จะสามารถเก็บกับโรงพยาบาลที่ขอสําเนา จะไดหรือไม เพราะบางครั้งจํานวนหนาของเวชระเบียนและเอกสารตาง ๆ ที่ขอถายสําเนาอาจมีจํานวนมาก และเปนภาระแกโรงพยาบาลเจาของขอมูล นั้น ๆ เอกสารเวชระเบียนและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ถือเปนขอมูล ขาวสารของทางราชการ ตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นอกจากกรณีผูมีสิทธิขอขอมูลดานสุขภาพที่ตองปฏิบัติตาม มาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งการเรียก คาธรรมเนียมการขอสําเนา โรงพยาบาลเจาของขอมูลสามารถเรียกเก็บได ตามประกาศคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ เรื่อง การเรียก คาธรรมเนียมการขอสําเนา หรือ ขอสําเนาที่มีคํารับรองถูกตองของเอกสาร ของขอมูลขาวสารของราชการ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒ เชน (๑) ขนาด กระดาษ เอ ๔ หนาละไมเกิน ๑ บาท เปนตน ในกรณีเปนโรงพยาบาลสังกัด เดียวกันอาจเรียกเก็บหรือไมก็ไดแลวแตนโยบายของผูบังคับบัญชา
  • 22. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๐ ๑๑. หนังสือรับรองกับการแกไข หนังสือหรือใบรับรองทางการแพทยตาง ๆ เชน ใบรับรองแพทย หนังสือรับรองการเกิด หนังสือรับรองการตาย เปนตน ผูปวยหรือผูเกี่ยวของ จะขอแกไขขอความไดหรือไม เอกสารตาง ๆ เกี่ยวกับผูปวยที่อยูในความครอบครองหรือที่ออก โดยหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐ ถือเปนเอกสารขอมูลขาวสารของ ทางราชการ จึงตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ โดยมาตรา ๒๕ บัญญัติวา “ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ หรือ มาตรา ๑๕ บุคคลยอมมีสิทธิที่จะไดรูถึงขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน และเมื่อบุคคลนั้นมีคําขอเปนหนังสือ หนวยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลขอมูล ขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลนั้น หรือผูกระทําการแทนบุคคลนั้นไดตรวจดู หลังไดรับสําเนาขอมูลขาวสารสวนบุคคลสวนที่เกี่ยวกับบุคคลนั้น และใหนํา มาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม การเปดเผยรายงานการแพทยที่เกี่ยวกับบุคคลใด ถากรณีมีเหตุ อันสมควร เจาหนาที่ของรัฐจะเปดเผยตอเฉพาะแพทยที่บุคคลนั้นมอบหมาย ก็ได ถาบุคคลใดเห็นวาขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนสวนใด ไมถูกตองตามความเปนจริง ใหมีสิทธิยื่นคําขอเปนหนังสือใหหนวยงานของ รัฐที่ควบคุมดูแลขอมูลขาวสารแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลขาวสารสวน นั้นได ซึ่งหนวยงานของรัฐจะตองพิจารณาคําขอดังกลาว และแจงใหบุคคล นั้นทราบโดยไมชักชา
  • 23. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๑ ในกรณีที่หนวยงานของรัฐไมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูล ขาวสารใหตรงตามที่มีคําขอ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัย การเปดเผยขอมูลขาวสารภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งไม ยินยอมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลขาวสาร โดยยื่นอุทธรณตอ คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและไมวากรณีใด ๆ ใหเจาของขอมูล มีสิทธิรองขอใหหนวยงานของรัฐหมายเหตุคําขอของตนแนบไวกับขอมูล ขาวสารที่เกี่ยวของได ใหบุคคลตามที่กําหนดในกฎกระทรวงมีสิทธิดําเนินการตาม มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรานี้ แทนผูเยาว คนไรความสามารถ คนเสมือนไร ความสามารถ หรือเจาของขอมูลที่ถึงแกกรรมแลวได” จะเห็นไดวา ๑.เจาของขอมูลหรือผูปวย มีสิทธิตรวจดูและขอสําเนา ขอมูลของตนเองได โดยทําคําขอเปนหนังสือ ๒.หนวยงานหรือโรงพยาบาลอาจลบหรือตัดทอนขอความ ในสวนที่ตองหามมิใหเปดเผย หรือที่ไมเกี่ยวของกับวัตถุประสงคของผูขอได ๓.เจาของขอมูลมีสิทธิขอแกไขขอมูลได ถาเห็นวา ไมถูกตองตามความเปนจริง โดยขอใหหนวยงานหรือโรงพยาบาล ที่ครอบครองขอมูลนั้น เปลี่ยนแปลงแกไข หรือลบได ๔.หนวยงานหรือโรงพยาบาลตองตรวจสอบขอเท็จจริงกอน แลวจึงพิจารณาไมแกไข หรือแกไข หรือเปลี่ยนแปลง หรือลบ ตามที่เจาของ ขอมูลขอ แตถาไมแกไข ไมเปลี่ยนแปลง หรือไมลบ ตองแจงใหผูขอทราบ
  • 24. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๒ และแจงสิทธิการอุทธรณ โดยใหยื่นอุทธรณตอคณะกรรมการขอมูลขาวสาร ของราชการ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันไดรับแจงคําสั่ง ดังนั้น เมื่อหนวยงานหรือโรงพยาบาลตรวจสอบแลวเห็นวา เอกสาร ตาง ๆ เกี่ยวกับขอมูลดานสุขภาพ หรือเวชระเบียน หรือใบรับรองตาง ๆ ถูกตองแลว ก็ตองมีหนังสือชี้แจงและยืนยันไมแกไขเปลี่ยนแปลง หรือลบ ขอมูลเดิม พรอมแจงสิทธิในการอุทธรณคําสั่ง หากมีการอุทธรณและ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคําสั่งใหหนวยงาน หรือ โรงพยาบาล แกไข เปลี่ยนแปลง หรือลบขอมูลตามที่ผูขอไดขอมา หนวยงาน หรือโรงพยาบาลก็ตองดําเนินการตามคําสั่งของคณะกรรมการดังกลาว ๑๒. ทําอยางไรเมื่อแพทยไมออกใบรับรองแพทย โรงพยาบาลออกใบรับรองแพทยไดหรือไม หากแพทยเจาของไข ไมยอมทําใบรับรองแพทยใหผูปวย การออกใบรับรองแพทยถือเปนสิทธิและหนาที่ของแพทยผูทําการ ตรวจรักษา เพราะเปนผูที่รูขอมูลความเจ็บปวยหรือโรคของผูปวยซึ่งใน ขอบังคับแพทยสภาวาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ ขอ ๒๕ “ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตองไมเจตนาทุจริตในการออก ใบรับรองแพทย” โดยหลักการแพทย เมื่อทําการตรวจโรคหรือตรวจรางกาย ของผูปวยแลว หากผูปวยขอใหแพทยออกใบรับรองแพทยให แพทยไมควร ปฏิเสธ ซึ่งใบรับรองแพทยมี ๒ ลักษณะคือ ใบรับรองวามีอาการเจ็บปวยจริง กับใบรับรองแพทยวา ไมไดเจ็บปวย แลวแตกรณีวาจะนําไปใชในเรื่องอะไร เชน กรณีนําไปประกอบการลาหยุดงาน หรือนําไปสมัครงาน หรือนําไป
  • 25. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๓ ประกอบการรักษาตัวตอเนื่อง หรือเพื่อเปนการยืนยันสุขภาพของผูปวย เปน ตน การออกใบรับรองแพทยเปนเรื่องเฉพาะตัวของแพทยแตละคน สวนการ ประทับตราโรงพยาบาลหรือคลินิก เปนการแสดงสถานะของแพทยในขณะ ตรวจและออกใบรับรองแพทย เชน ประทับตราโรงพยาบาลของรัฐก็ หมายถึง การตรวจและออกใบรับรองแพทยในฐานะแพทยของโรงพยาบาล แหงนั้น เปนตน ซึ่งการประทับตราดังกลาวมีผลในทางความนาเชื่อถือของ ใบรับรองแพทยที่บางหนวยงานหรือสังคมใหการยอมรับมากกวา โรงพยาบาลหรือคลินิกของเอกชน สวนกรณีหากมีเหตุที่แพทยไมออก ใบรับรองแพทยให และผูปวยจะเปนตองใชขอมูลความเห็นทางการแพทย ตอสุขภาพ รางกาย จิตใจของตน และเปนเหตุจําเปนเรงดวน โรงพยาบาล อาจออกหนังสือรับรองการมาตรวจรักษาของผูปวยได โดยอาจเปนการสรุป การรักษาหรือสรุปขอมูลเกี่ยวกับสุขภาพของผูปวยที่ปรากฏในประวัติผูปวย หรือเวชระเบียน แตหนังสือฉบับนี้ไมใชใบรับรองแพทย เพราะผูลงนามไมใช แพทยที่ทําการตรวจรักษา แตเปนผูอํานวยการโรงพยาบาลหรือผูไดรับ มอบหมาย โดยถือเปนหนังสือของโรงพยาบาล กรณีเชนนี้ ตองไปถาม หนวยงานที่ตองการใบรับรองแพทยวาจะใชแทนไดหรือไม อยางไร
  • 26. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๔ ๑๓. แคสงสัย จดบันทึกไดเลยหรือไม พยาบาลเห็นอาการผูปวยแลวสงสัยวาจะเปนอาการของโรคหัวใจ จะสามารถเขียนลงไปในบันทึกการพยาบาล หรือเวชระเบียนไดหรือไม บันทึกการพยาบาล (Nurse’s Note) เปนแบบฟอรมสําหรับการ บันทึกของพยาบาลในการดูแลผูปวย ประกอบดวยขอมูล ปญหา อาการ และการพยาบาลที่ผูปวยไดรับในแตละเวร ตั้งแตแรกรับจนถึงการวางแผน จําหนายผูปวย การประเมินผลภายหลังการใหการพยาบาล ซึ่งพยาบาล สามารถบันทึกตามความเปนจริงได แตการบันทึกวา ผูปวยมีอาการตาง ๆ แลวบอกวานาจะเปนโรคนั้นโรคนี้ แมจะเปนความเห็นแตถือเปนการ วินิจฉัยโรค ซึ่งไมใชการประกอบวิชาชีพพยาบาลแตเปนการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม แมวาจากประสบการณและความรูที่มีอยูจะสามารถสันนิษฐานได ก็ไมสมควรจะบันทึกเชนนั้น นอกจากนี้การบันทึกความเห็นในลักษณะ ดังกลาวอาจทําใหเกิดผลรายแกแพทยผูเปนเจาของไขหรือแพทยเวรได เพราะอาจทําใหบุคคลอื่น เชน ศาล อัยการ หรือทนายความ เปนตน นําไป อางอิงไดวา อาการในลักษณะนั้นพยาบาลยังรูเลยวาเปนอาการของโรค แตทําไมแพทยไมรูหรือไมทําการรักษา ถาผูปวยเสียชีวิตหรือมีอาการหนัก ขึ้นอาจมีผลตอการสูคดีของแพทยได ดังนั้นพยาบาลควรบันทึกแตเฉพาะใน บทบาทหนาที่ตามหลักวิชาชีพพยาบาลเทานั้น ไมควรกาวลวงไปวินิจฉัยโรค ซึ่งเปนการกระทําที่เกินหนาที่
  • 27. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๕ ๑๔. หมอเห็นไมตรงกันทําอยางไร ในการดูแลผูปวยหากจําเปนตองทําการผาตัด โดยศัลยแพทย มีความเห็นใหทําการผาตัดโดยเร็ว แตวิสัญญีแพทยบอกวาผูปวยยังไมพรอม ควรจะผาตัดเลยหรือไม ในการรักษาพยาบาลโดยหลักแพทยเจาของไขจะเปนผูตัดสินใจ แตกรณีเปนเรื่องที่ตองอาศัยแพทยเฉพาะทางเขามาทําการรักษาก็ตองรับฟง เหตุผลดวย การรักษาพยาบาลผูเกี่ยวของทุกคนมีสวนสัมพันธกับผูปวย หรือที่เรียกวาสหวิชาชีพ การตัดสินใจตองอยูในสภาพที่มีความพรอมและ ผูปวยตองมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงนอยที่สุด กรณีการผาตัดวิสัญญีแพทย เปนผูมีสวนเกี่ยวของที่สําคัญเพราะความเสี่ยงจากการใชยาสลบหรือยาชา อาจเปนอันตรายตอผูปวย เมื่อวิสัญญีแพทยแจงวายังไมพรอมศัลยแพทย ควรรับฟง การพิจารณาคดีของศาลจะดูในทุกมิติ หากเห็นวามีความเสี่ยงสูง ตอการเกิดความเสียหายแตยังฝาฝนกระทําผูกระทําอาจมีความผิดได ดังนั้น กรณีนี้ศัลยแพทยตองรับฟงเหตุผลของวิสัญญีและยังไมควรผาตัด อยางไรก็ตาม กรณีเรงดวนฉุกเฉินหากลาชาผูปวยอาจไดรับอันตรายยิ่งกวาก็อาจตองผาตัด ทันที การพิจารณาตองชั่งน้ําหนักทําอยางไหนเสี่ยงกวากันโดยถือความ ปลอดภัยของผูปวยเปนที่ตั้งและสิ่งสําคัญที่สุดคือ ตองมีการบันทึกความ จําเปนเรงดวนไวในเวชระเบียนดวย เพื่อเปนหลักฐานหากมีการฟองรอง เกิดขึ้น
  • 28. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๖ ๑๕. แจงหมอแลวแตหมอไมมา ผูปวยในอาการเปลี่ยนแปลงในทางไมดี พยาบาลแจงแพทยแลว แพทยยังไมมาดูคนไข พยาบาลควรทําอยางไร และบันทึกไวในบันทึกการ พยาบาลไดหรือไม หากมีเหตุไมพึงประสงคเกิดขึ้นพยาบาลตองรับผิดดวย หรือไม กรณีผูปวยใน พยาบาลเปนผูใหการดูแลมากกวาแพทยเพราะ พยาบาลจะตองอยูดูแลตลอดเวลา แตแพทยมาดูเปนเวลาเทานั้น ดังนั้น พยาบาลตองปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานจริยธรรม มีหลายกรณีที่ผูปวยเสียชีวิตแตญาติไมติดใจเพราะพยาบาลปฏิบัติหนาที่นี้ ดวยเมตตาธรรม แพทยเอาใจใสพูดจาดี อธิบายขอสงสัยตาง ๆ โดย ไมหงุดหงิดรําคาญ การที่ผูปวยในมีอาการเปลี่ยนแปลง พยาบาลมีหนาที่ ตองรายงานแพทยและบันทึกรายละเอียดไวไมวาแพทยจะสั่งการอยางไร หรือจะมาดูผูปวยหรือไม โดยในระหวางรอแพทยหรือแพทยยังไมมา หรือยัง ติดตอแพทยไมได พยาบาลตองปฏิบัติหนาที่ตามหลักวิชาการ คอยดู สถานการณและพูดคุยกับญาติ ในกรณีอาการคอนขางหนัก แพทยเจาของ ไขยังไมมาใหแจงแพทยทานอื่น ๆ ตามระบบที่มีอยู ในการพิจารณาของศาล จะดูวาพยาบาลทําหนาที่เต็มที่แลวหรือไมในขอบเขตงานของพยาบาล แมวา ตอมาผูปวยจะเสียชีวิตหรือพิการพยาบาลก็จะไมมีความผิด สําหรับแพทย เมื่อไดรับรายงานอาการของผูปวยสามารถใชดุลยพินิจในการสั่งการรักษา หรือมาดูผูปวยได แตในกรณีมีการแจงตามในครั้งที่ ๒ แพทยควรตองมาดู ผูปวยหากไมสามารถมาไดใหแจงพยาบาลวาติดภารกิจอะไร พยาบาลบันทึก ไวในบันทึกการพยาบาล และแพทยหรือพยาบาลตองติดตอแพทยทานอื่น
  • 29. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๗ หรือแพทยเวรใหมาดูผูปวย จากแนวคําพิพากษาของศาลการไมมาดูผูปวย โดยไมมีขออางที่มีเหตุผลและเปนความจําเปนจริง ๆ ศาลจะถือวาประมาท เลินเลอได กระทรวงสาธารณสุขเคยแพคดีเพราะแพทยไมมาดูอาการผูปวย ทั้งที่ไดรับรายงานจากพยาบาลแลว โดยไมมีเหตุผลที่รับฟงไดวามีเหตุที่ สําคัญจริง ๆที่มาไมไดและไมมีการแจงหรือมอบหมายใหแพทยอื่นมาดูแล แทน ดังนั้น ในโรงพยาบาลที่มีแพทยหลายทานควรจัดระบบการดูแลผูปวย ฉุกเฉินหรือเกิดอาการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลันไว สําหรับพยาบาลเพียงแต รายงานอาการและปฏิบัติหนาที่ใหดีที่สุดก็จะไมมีความผิดใด ๆ และอาจเปน สิ่งที่จะชวยใหญาติผูปวยและผูปวยเขาใจสถานการณและไมติดใจเอาความ ได
  • 30. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๘ ๑๖. แรกรับไมมีขอบงชี้ แตเขาทรุดหนัก (ตาย) ผูปวยเด็กมารับการรักษาที่แผนกผูปวยนอก แพทยตรวจแลวเห็นวา อาการไมรายแรงไมเขาเกณฑรับไวเปนผูปวยใน จึงสั่งยาใหไปรับประทานที่ บานและใหกลับบาน ปรากฏวาในคืนวันนั้นผูปวยมีอาการทรุดหนักเดินทาง ไปโรงพยาบาลใกลบานและตองสงตัวกลับมาที่โรงพยาบาลแรก ซึ่งไมมีเตียง รับผูปวยระหวางรักษาในโรงพยาบาลที่มีเตียงวาง ผูปวยเสียชีวิตแพทย โรงพยาบาลแรกตองรับผิดชอบหรือไม อยางไร และโรงพยาบาลแรกควร เตรียมการอยางไรบาง การตรวจรักษาผูปวยนอกมีความสําคัญ แพทยตองระมัดระวังและ เอาใจใสโดยเฉพาะเด็ก โดยหลักการตามแนวคําพิพากษาของศาล ผูปวย ที่ไดรับอนุญาตใหกลับบานหมายถึงผูปวยที่มีอาการอยูในขั้นปลอดภัยหรือ หายจากโรคภัยแลว ซึ่งแพทยตองมีความแนใจวา ขณะที่ผูปวยกลับบาน ผูปวยไมมีอาการที่รุนแรงหรืออยูในเกณฑปลอดภัย และไมมีสัญญาณหรือ ลักษณะที่นาจะเปนอันตรายกอนวันนัดครั้งตอไป โดยตองมีการใหขอมูล และความยินยอมตามกฎหมายใหครบถวน (การใหขอมูลและความยินยอม จะบอกถึงการตรวจวินิจฉัยเบื้องตนและการทําความเขาใจกับผูปวยใน สาระสําคัญของการรักษาแลว) และตองบอกรวมทั้งเขียนในเวชระเบียนดวยวา ถามีอาการผิดปกติใหรีบมาพบแพทยโดยเร็ว ทุกครั้ง กรณีนี้แพทยและทีม ตรวจสอบเวชระเบียนและเอกสารอื่นที่เกี่ยวของกับการตรวจรักษาผูปวยวา มีขอบกพรองอะไรหรือไม แตหามแกไขเพิ่มเติมเวชระเบียนโดยพลการ แลวสรุปการตรวจรักษาไว สําหรับการตอบคําถามญาติผูปวยโรงพยาบาล ตองสงเจาหนาที่ไปงานศพและแสดงความเสียใจพรอมทั้งดูสถานการณวา มีปญหาอะไรหรือไม ทาทีของญาติผูปวยเปนอยางไร ทั้งนี้ยังไมควรใหแพทย
  • 31. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๒๙ ไปงานศพในครั้งแรกเพราะอาจเปนอันตรายได สวนการเตรียมพรอมในการ แกไขปญหาทีมบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลตองตรวจสอบทั้งสวนการ ดําเนินการรักษาของโรงพยาบาล และติดตอขอเอกสารเวชระเบียนจาก โรงพยาบาลที่ผูปวยไปเสียชีวิต เพื่อดูวาสาเหตุการตายคืออะไร เกี่ยวเนื่อง กับการตรวจรักษาครั้งแรกหรือไม เพื่อเปนขอมูลไว หากขอมูลยังไมพรอมไม ควรแถลงขาวหรือใหขอมูลแกบุคคลภายนอกรวมทั้งญาติผูปวยดวย เพราะอาจคลาดเคลื่อนได แตตองดําเนินการในเวลาอันรวดเร็ว การใหขอมูล เนนการเลาถึงกระบวนการตรวจรักษาไมบอกวามีผูทําผิดหรือไม เพราะอาจ เปนความผิดทางอาญาที่จะแกไขยากในภายหลัง โดยใหยืนยันวาแพทย พยาบาลและเจาหนาที่ไดปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถ ไมควรบอกวา ไดทําตามมาตรฐานวิชาชีพแลวเพราะในชั้นนี้ญาติผูปวยกําลังเสียใจอาจ โกรธแคน การยืนยันวาทําถูกตองอาจทําใหสถานการณในการพูดคุยแยลง การขอโทษไมไดแปลวาเปนการสารภาพผิดแตเปนการแสดงความเสียใจใน เหตุการณที่เกิดขึ้น (ในชั้นการใหขอมูลขอใหแจงดวยวา การรักษาไมได แปลวาจะหายแน ๆ อาจมีเหตุการณแทรกซอนทําใหเกิดอันตรายไดแต แพทยก็จะพยายามรักษาอยางเต็มที่) สวนกรณีญาติผูปวยโพสตขอความ และภาพลงในเว็บไซต โรงพยาบาลไมควรตอบโต ควรโพสตแสดงความ เสียใจและแจงวาขณะนี้โรงพยาบาลกําลังตรวจสอบขอเท็จจริงอยู จากนั้นก็ เขาสูกระบวนการเจรจาไกลเกลี่ย ในกรณีญาติผูปวยติดใจ ซึ่งกรณีนี้หาก พิสูจนไดวาอาการของผูปวยในขณะใหกลับบานปลอดภัยและไมมีสัญญาณ จะเกิดความไมปกติที่รุนแรงในระหวางรอวันนัดรวมทั้งแจงดวยวาถามี อาการผิดปกติใหรีบมาพบแพทยโดยเร็ว ถือวาแพทยปฏิบัติหนาที่ตาม มาตรฐานวิชาชีพแลว อยางไรก็ตามหากโรงพยาบาลมีเกณฑการรับผูปวยไว ในโรงพยาบาลเกี่ยวกับโรคนี้ดวยก็จะชวยไดมาก
  • 32. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๓๐ ๑๗. ชวยดวยหมอโดนแอบถาย กรณีที่ญาติผูปวยถายรูปผูปวย แพทยหรือพยาบาล ในขณะทําการ ตรวจรักษา รวมทั้งไมไดตรวจรักษา แลวนําไปโพสตในเว็บไซต จะมีความผิด อะไรหรือไม แพทย พยาบาลหรือเจาหนาที่ ควรทําอยางไร การถายภาพบุคคลอื่นกําลังเปนประเด็นสําคัญ เพราะขณะนี้ทุกคน มีกลองถายรูปประจําตัวอยูในโทรศัพทมือถือ สามารถถายรูปบุคคลอื่นหรือ ตนเองไดทันที แตการถายรูปบุคคลอื่นในบางกรณีอาจถือเปนการละเมิด ตอกฎหมาย เพราะถือเปนการลวงล้ําในสิทธิสวนบุคคลที่มีกฎหมายคุมครอง ดังนี้ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจาก ที่บัญญัติคุมครองไวเปนการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแลว การใดที่มิไดหามหรือ จํากัดไวในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพที่ จะทําการนั้นได และไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเทาที่การใช สิทธิหรือเสรีภาพเชนวานั้นไมกระทบกระเทือนหรือเปนอันตรายตอ ความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไมละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น สิทธิหรือเสรีภาพใดที่รัฐธรรมนูญใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แมยังไมมีการ ตรากฎหมายนั้นขึ้นใชบังคับ บุคคลหรือชุมชนยอมสามารถใชสิทธิหรือ เสรีภาพนั้นไดตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ
  • 33. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๓๑ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่ไดรับความคุมครองตาม รัฐธรรมนูญ สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญเพื่อใชสิทธิทางศาล หรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ หรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ยอมมีสิทธิที่จะไดรับการ เยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๓๒ บุคคลยอมมีสิทธิในความเปนอยูสวนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียงและครอบครัว การกระทําอันเปนการละเมิดหรือกระทบตอสิทธิของบุคคลตาม วรรคหนึ่งหรือการนําขอมูลสวนบุคคลไปใชประโยชนไมวาในทางใด ๆ จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่ตราขึ้น เพียงเทาที่จําเปน เพื่อประโยชนสาธารณะ จากบทบัญญัติมาตรา ๓๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แสดงถึงความคุมครองสิทธิของบุคคลในความเปนอยูสวนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียงและครอบครัว รวมทั้งการนําขอมูลสวนบุคคลไปใชประโยชน ซึ่งจะ ทําไดเฉพาะกรณีมีกฎหมายกําหนดเพื่อประโยชนสาธารณะเทานั้น หากมี ผูฝาฝน ผูถูกละเมิดสามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญใชสิทธิทางศาลได แมจะไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะในเรื่องนั้น ๆ ตามมาตรา ๒๕ วรรค สาม นอกจากนี้ในเรื่องขอมูลดานสุขภาพของบุคคล มีพระราชบัญญัติ สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗ ใหความคุมครอง ผูฝาฝนมีโทษจําคุก ไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ซึ่งการ กระทําตาง ๆ ที่อาจเขาขายเปนละเมิดดังกลาวนั้น หากผูถูกกระทํายินยอม
  • 34. ถาม - ตอบ สารพันปญหาขอกฎหมาย การบริการทางการแพทย (เลม ๒) ๓๒ ใหผูกระทําสามารถทําได ความยินยอมจะเปนเหตุยกเวนความรับผิดได กรณีนี้ตองพิจารณาเปน ๓ สวน คือ ๑.การถายภาพผูปวย ผูมีอํานาจยินยอมใหถายภาพคือ ตัวผูปวย หรือทายาทในกรณีผูปวยไมมีสติสัมปชัญญะ หรือมีสติสัมปชัญญะ แตไมสามารถใหความยินยอมได เชน เปนอัมพาต เปนตน ถาผูปวยอนุญาต ผูประสงคจะถายรูปก็สามารถดําเนินการได ในสวนของเจาหนาที่หรือ โรงพยาบาลตองแจงเรื่องความยินยอมใหผูถายรูปทราบกอนเสมอ เนื่องจาก ผูปวยเขามาอยูในความดูแลของโรงพยาบาล ถือวาโรงพยาบาลมีหนาที่ตอง คุมครองขอมูลดานสุขภาพของบุคคลดวย โดยเฉพาะกรณีผูปวยไมมี สติสัมปชัญญะปจจุบันมีรูปของผูปวยถูกนําไปเผยแพรในสื่อตาง ๆ จํานวนมาก ซึ่งผูปวยอาจไมทราบขอกฎหมาย ทําใหเกิดความเสียหายได ๒. การถายภาพแพทยหรือเจาหนาที่ เปนการถายภาพบุคคลที่ไมใช ผูปวยจึงไมเปนขอมูลดานสุขภาพของผูปวยที่โรงพยาบาลตองคุมครอง แตการที่เราจะถายภาพบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคนก็ตามอาจเปนการ ลวงละเมิดสิทธิของผูถูกถาย เนื่องจากบุคคลทุกคนไดรับการคุมครองโดย รัฐธรรมนูญในสิทธิในรางกาย จิตใจ ความเปนสวนตัว เกียรติยศ และชื่อเสีย การถายภาพเปนการนําขอมูลสวนบุคคลของผูถูกถายไป ถาไมไดรับอนุญาต จะถือเปนการละเมิดสิทธิดังกลาวไดแมวาจะยังไมเกิดความเสียหายก็ตาม โดยหลักแลวผูถูกถายมีสิทธิขอใหผูถายลบรูปภาพนั้นไดดวย กรณีนี้แมจะไม มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว (ในขณะนี้) ก็ตาม แตรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยคุมครองตามมาตรา ๒๕ และมาตรา ๓๒ กลาวโดยสรุป คือ