SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แนวทางปองกันการฟองรอง: กรณีการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน∗

                                                                                            ไพศาล ลิ้มสถิตย*

         การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินมีความแตกตางจากการบําบัดรักษาผูปวยทั่วไป เพราะเปนกรณีที่
ตองมีการดําเนินการอยางเรงดวน เพื่อปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการ
ปวยนั้น ๆ ของผูปวยฉุกเฉินนั้น การสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายและจริยธรรม
ในเรื่องนี้จึงมีความสําคัญเชนกัน ซึ่งนาจะชวยใหสรางความเชื่อมั่นใหแกบุคลากรทางการแพทยและ
สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉิน และปองกันขอพิพาทหรือการฟองรองที่อาจเกิดขึ้น


1. การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน
         1.1 สิทธิผูปวยกับความยินยอมในการรับการบําบัดรักษา
         การดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ยทั่ ว ไปที่ มี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจด ว ยตนเองคื อ ผู ป ว ยยั ง มี
สติสัมปชัญญะและมีความสามารถในการไตรตรอง ตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผลนั้น ผูใหบริการ
สาธารณสุขหรือแพทย พยาบาลจะตองใหความสําคัญกับการใหความยินยอมในการรับการบําบัดรักษา
ของผูปวยเปนลําดับแรก เนื่องจากผูปวยที่มีความสามารถตามกฎหมาย ยอมมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับ
ตนเอง (right to self-determination) โดยแพทยสมาคมโลกไดรับรองในเรื่องไวใน “ปฏิญญาสิลบอน
วาดวย สิทธิผูปวย” (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient1)
                 
         โดยทั่วไปแลว แพทยเปนผูมีหนาที่แจงขอมูลเกี่ยวกับลักษณะอาการ ความเจ็บปวย ขั้นตอนการ
รักษา ความเสี่ยงภาวะแทรกซอน (complication) หรือผลที่ไมพึงประสงค (adverse outcome) ที่อาจจะ
เกิดขึ้นจากการรักษานั้น ๆ และควรใชภาษาที่คนทั่วไปสามารถเขาใจไดงาย เลี่ยงไมใชศัพทเทคนิค
หลักการในเรื่องนี้เรียกวา “ความยินยอมที่ไดรับการบอกกลาว” (informed consent) ซึ่งถือเปนสิทธิ
ผูปวยอยางหนึ่ง ดังที่มีการจัดทําเปน “คําประกาศสิทธิผูปวย” ของสภาวิชาชีพสาธารณสุขในประเทศ
ไทย เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2541 มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการใหความยินยอมของผูปวยที่สอดคลองกันกับ
ปฏิญญาสิลบอนวาดวย “สิทธิผูปวย” ขางตน ดังนี้

∗
  เอกสารประกอบประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน ครั้งที่ 15 “ฉุกเฉินกาวไกล” (EM forward) จัดโดย
โรงพยาบาลราชวิถี รวมกับ สมาคมเวชศาสตรฉุกเฉินแหงประเทศไทย ระหวางวันที่ 9-11 กรกฎาคม 2555
*
  นบ., นม. นักวิชาการศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
1
  “ปฏิญญาวาดวยสิทธิผูปวยของแพทยสมาคมโลก” แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ และนายไพศาล ลิ้มสถิตย
(วารสารคลินิก, ปที่ 24 ฉบับที่ 10, ตุลาคม 2551), หนา 922-924.


                                                      1
“3. ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลอยางเพียงพอ และเขาใจชัดเจน
จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ เพื่อใหผูปวยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไมยินยอมใหผู
ประกอบวิชาชีพดานสุขภาพปฏิบัตตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน”
                                    ิ
         ในกรณีผูปวยเด็กที่มีอายุต่ํากวา 18 ป หรือผูที่มีความบกพรองทางกายหรือจิตซึ่งไมสามารถใช
สิทธิดวยตนเองได หากเปนการรักษาที่มีความเสี่ยง ก็ตองใหบิดา มารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรม หรือ
       
ผูท่ปกครองดูแลใหความยินยอมแทนผูปวย
     ี
          อยางไรก็ดี การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินจะมีหลักเกณฑในการปฏิบัติที่แตกตางออกไปจาก
หลักการขางตน กลาวคือ ผูปวยฉุกเฉินบางรายจะอยูในสภาพหมดสติ มีอาการปวยหนัก หรืออยูในภาวะ
ที่ไมสามารถตัดสินใจใหความยินยอมดวยตนเองได ในทางกฎหมายและสิทธิผูปวย จึงถือเปนกรณี
ยกเวนที่แพทยไมตองขอความยินยอมในการรักษาจากผูปวยได หากเปนกรณีการรักษาผูปวยฉุกเฉิน เพื่อ
ปองกันการเสียชีวิต อันตราย หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น แตก็ตองกระทํา
เทาที่มีความจําเปนตามสถานการณในขณะนั้น อีกทั้งยังถือเปนหนาที่ตามกฎหมายและจริยธรรมที่จะตอง
ชวยเหลือรักษาผูปวยฉุกเฉิน2 คําประกาศสิทธิผูปวยของไทยไดกําหนดเรื่องนี้ไวในขอ 4 มีเนื้อหาวา
        “4. ผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบ
วิชาชีพดานสุขภาพโดยทันทีตามความจําเปนแกกรณี โดยไมคํานึงวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือ
หรือไม”


           พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา 3 ไดใหนิยามคําวา “ผูปวยฉุกเฉิน” ดังนี้
        “ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน ซึ่งเปน
ภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและ
การบําบัดรักษาอยางทันทวงทีเพื่อปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวย
นั้น
       ผูปวยที่เขากรณีผูปวยฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน จะตองเปนบุคคลที่มีลักษณะ
ครบ 3 ประการ คือ
           1) บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน
       2) อาการบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน เปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของ
อวัยวะสําคัญ


2
    แสวง บุญเฉลิมวิภาส และเอนก ยมจินดา, กฎหมายการแพทย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน, 2540), หนา 65.


                                                      2
3) จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและการบําบัดรักษาอยางทันทวงที เพื่อปองกันการ
เสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น
        1.2 การใหความยินยอมตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 8
          พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 8 เปนกฎหมายฉบับแรกที่บัญญัติเรื่องการให
ความยินยอมในการรับบริการสาธารณสุขของผูรับบริการ (คือ ผูปวยหรือผูที่มีสุขภาพแข็งแรง) ไววา
บุคลากรดานสาธารณสุขมีห น าที่แ จงข อมูลที่เ กี่ยวกั บสุขภาพของผูปว ยใหทราบกอ นที่จ ะตัด สิ น ว า
ผูรับบริการมีสทธิที่จะรับบริการหรือการดูแลรักษาทางการแพทยหรือไมก็ไดตามหลัก patient autonomy
               ิ
ซึ่งสอดคลองกับหลักสิทธิผูปวยที่กลาวมาแลว ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 8 วรรคแรก ดังนี้ 3
         “ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรดานสาธารณสุขตองแจงขอมูลดานสุขภาพที่เกี่ยวของกับ
การใหบริการใหผูรับบริ การทราบอยางเพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับ
หรือไมรับบริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรบบริการใด จะใหบริการนั้นมิได”
                                                     ั


        ขอยกเวนเรื่องการใหความยินยอมในกรณีผูปวยหรือผูรับบริการสาธารณสุขทั่วไปที่ตัดสินใจ
ดวยตนเองได มีบัญญัติไวในมาตรา 8 วรรคทาย แบงเปน 2 กรณีคือ
        “ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับกรณีดังตอไปนี้
        (1) ผูรับบริการอยูในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจําเปนตองใหความชวยเหลือเปน
การรีบดวน
          (2) ผูรับบริการไมอยูในฐานะที่จะรับทราบขอมูลได และไมอาจแจงใหบุคคลซึ่งเปนทายาทโดย
ธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูปกครอง ผูปกครองดูแล ผูพิทักษ หรือผูอนุบาลของ
ผูรับบริการ แลวแตกรณี รับทราบขอมูลแทนในขณะนั้นได”


         กรณีที่ 1 เมื่อผูรับบริการอยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต และมีความจําเปนตองชวยเหลือเปน
การรีบดวน เชน กรณีผูปวยประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินหรือผูปวยหมดสติที่มีอาการเจ็บปวยที่อาจเปน
อันตรายถึงชีวิต แพทยยอมสามารถชวยใหรักษาได เพราะเปนกรณีที่ไมอาจติดตอหรือขอความยินยอม
จากผูปวยหรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูปวยได


3
 ไพศาล ลิ้มสถิตย, การใหความยินยอมในการรักษาของผูรับบริการสาธารณสุข : กฎหมายและแนวปฏิบัติของไทยและ
ตางประเทศ ในหนังสือ แสวง บุญเฉลิมวิภาส และไพศาล ลิ้มสถิตย (บรรณาธิการ), การใหความยินยอมในการรับ
บริการสาธารณสุข และความเขาใจเกี่ยวกับมาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 (กรุงเทพ ฯ: ศูนยกฎหมาย
สุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2554), หนา 80-86.


                                                   3
ในกรณีที่นาจะเขาขายกรณีที่ 1 คือ “ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต” และ “ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน” ตามที่ระบุ
                   
ไวในหลักเกณฑการตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินของผูรับบริการสาธารณสุข ตาม “ประกาศ
คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและมาตรฐานการ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. 2554” ขอ 44 (ลงวันที่ 15 กันยายน 2554)
        ตัวอยางอาการของผูปวยฉุกเฉินวิกฤต เชน ผูปวยที่มีภาวะหัวใจหยุดเตน หายใจไมออกหอบ
รุนแรง หยุดหายใจ ภาวะช็อก ชักตลอดเวลาหรือชักจนตัวเขียว                  เลือดออกมากอยางรวดเร็วและ
ตลอดเวลา สวนตัวอยางกรณีผูปวยฉุกเฉินเรงดวน เชน ผูปวยที่ไมรูสึกตัว ชัก เปนอัมพาต หรือ ตาบอด
หูหนวกทันที และเจ็บปวดมากทุรนทุราย ถูกพิษหรือรับยาเกินขนาด ไดรับอุบัติเหตุโดยเฉพาะมีบาดแผล
ที่ใหญมากหลายแหง
          กรณีที่ 2 เมื่อผูรับบริการไมอยูในสภาพที่จะสื่อสาร หรือรับทราบขอมูลจากผูอื่นได และไมอาจ
แจงใหบิดามารดา ผูปกครอง ผูพิทักษ ผูอนุบาลตามกฎหมายได 5 แมวาจะไมอยูในภาวะถึงขั้นเสี่ยง
อันตรายถึงชีวิต แพทยก็สามารถใหการรักษาผูปวยไดโดยไมตองขอความยินยอม เชน ผูปวยที่หมดสติ
ผูปวยจิตเวชหรือผูปวยที่มีความผิดปกติทางจิต6 หรือกรณีผูประสบอุบัติเหตุที่เมาสุราอยางหนัก กรณีนี้
อาจเปนกรณีผปวยฉุกเฉินหรือไมก็ไดคือ เปนผูปวยทั่วไป หรืออาจเปน “ผูปวยฉุกเฉินไมรุนแรง”7
               ู

4
    ขอ 4
          “(1) ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรบบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามตอชีวิต ซึ่ง
                                                        ั
หากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทันทีเพื่อแกไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแลว ผูปวยจะมี
โอกาสเสียชีวิตไดสูง หรือทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น
ไดอยางฉับไว
          ใหใชสัญลักษณ “สีแดง” สําหรับผูปวยฉุกเฉินวิกฤต
          (2) ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน ไดแก บุคคลที่ไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวด
                     
รุนแรงอันจําเปนตองไดรับปฏิบัติการแพทยอยางรีบดวน มิฉะนั้นจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉิน
นั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ซึ่งสงผลใหเสียชีวิตหรือพิการในระยะตอมาได
          ใหใชสัญลักษณ “สีเหลือง” สําหรับผูปวยฉุกเฉินเรงดวน”
5
  ในกรณีนี้ ผูเขียนเห็นวา ควรรวมถึงญาติใกลชิด หรือผูที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูรบบริการดวยในกรณีที่ไมมีญาติพี่
                                                                                       ั
นอง เชน ผูที่อยูกนฉันทสามีภริยา แตไมไดจดทะเบียนสมรส คนใกลชิด
                       ิ
6
  พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 มาตรา 3 บัญญัติวา
          “ความผิดปกติทางจิต” หมายความวา อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ ความคิด
ความจํา สติปญญา ประสาทการรับรู หรือการรูเวลา สถานที่หรือบุคคล รวมทั้งอาการผิดปกติของจิตใจที่เกิดจากสุรา
หรือสารอื่นที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
7
  ขอ 4
          (3) ผูปวยฉุกเฉินไมรุนแรง ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันไมรุนแรง อาจ
รอรับปฏิบัติการแพทยไดในชวงระยะเวลาหนึ่งหรือเดินทางไปรับบริการสาธารณสุขดวยตนเองได แตจําเปนตองใช


                                                           4
2. การปองกันปญหาฟองรอง
          โดยทั่วไปนั้น ผูรับบริการหรือผูปวยมักจะไมฟองรองผูใหบริการ เพราะสังคมไทยยังใหความ
เคารพ นับถือบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขอยูมาก แตสาเหตุที่ทําใหเกิดการรองเรียนหรือการ
ฟองรองตามกฎหมาย มักเกิดจากหลายสาเหตุดวยกัน เชน ปญหาการสื่อสารขอมูลกับผูปวยหรือญาติ
ผูปวย ปญหาความสัมพันธระหวางแพทย พยาบาลกับผูปวย การปกปดขอมูลหรือความจริงที่ควรแจงให
ผูปวยหรือญาติทราบ ปญหาความคาดหวังของผูปวย ขอจํากัดในการใหบริการของผูใหบริการ ปญหาการ
รัก ษาที่ไ ม เ ปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย รวมถึงความล า สมัย ของกฎหมายและกระบวนการ
ยุติธรรมในปจจุบัน
         การฟองรองตามกฎหมายของผูปวยหรือญาติผูปวยแบงไดเปน 2 กรณีคือ
         1) การฟองคดีแพง
          การฟองเปนคดีแพงจะเปนกรณีละเมิด กลาวคือ ผูที่มีสิทธิฟองคดีละเมิดไดตองเปนผูเสียหาย
โดยเปนความเสียหายตอชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ หรือทรัพยสิน และตองปรากฏวา มีผูกระทําละเมิด
โดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4208 โดยกฎหมายกําหนด
วา หากผูทําละเมิดเปนลูกจางหรือพนักงานของนายจางหรือองคกรใด นายจางก็ตองรวมรับผิดกับลูกจาง
ดวย ตาม มาตรา 4259 เชน หากแพทยหรือพยาบาลที่เปนพนักงานหรือลูกจางของโรงพยาบาลเอกชนถูก
ผูปวยฟองรองเรียกคาเสียหายทางแพง โรงพยาบาลเอกชนในฐานะนายจางก็ตองมีสวนรวมรับผิดชอบกับ
                                                                                
แพทยหรือพยาบาลดวย แมวาจะมีการฟองคดีแพงไปแลว แตก็สามารถยอมความได ถามีการไกลเกลี่ย
ตกลงเรื่องคาเสียหายหรือคาสินไหมทดแทนกันได
       ข อ แตกต า งระหว า งบุ ค ลากรด า นการแพทย แ ละสาธารณสุ ข ในภาคเอกชนกั บ ภาครั ฐ ก็ คื อ
บุคลากรที่เปนเจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐ จะไดรับความคุมครองตามกฎหมายคือ “พระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539” ซึ่งเปนกฎหมายที่มีเจตนารมณเพื่อคุมครองเจาหนาที่
ของหนวยงานของรัฐ ซึ่งมิไดปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชนเฉพาะตัวหรือประโยชนของเอกน รัฐจึงเห็นวา
ไมควรใหเจาหนาที่ในภาครัฐตองรับผิดในความเสียหายเหมือนเอกชนทั่วไป ดังนั้น พ.ร.บ.ความรับผิด

ทรัพยากรและหากปลอยไวเกินเวลาอันสมควรแลวจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น
หรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้นได
8
          “มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แก
รางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสนหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูน้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหม
                                          ิ                                           ั
ทดแทนเพื่อการนั้น”
9
          “มาตรา 425 นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น”


                                                         5
ทางละเมิดของเจาหนาที่ จึงกําหนดหนวยงานของรัฐเปนผูรับผิดตอผูเสียหายในคดีแพงแทน ผูเสียหาย
ไม ส ามารถฟ อ งเจ า หน าที่ ใ ห ช ดใช ค า เสี ย หายได โ ดยตรง แตผู เ สี ย หายตอ งฟอ งเรี ย กค า เสี ย หายจาก
หนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัดแทน ดังที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจาหนาที่ มาตรา 510
         อยางไรก็ดี หากเปนกรณีที่เจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง เมื่อหนวยงานไดชดใชคาสินไหม ฯ ไปแลว ก็สามารถเรียกใหเจาหนาที่ดังกลาวรวมชดใช
ดวยได โดยไมตองชดใชเต็มจํานวนตามความเสียหายก็ได ตาม มาตรา 811 กลาวคือ ถาเปนกรณีเจาหนาที่
ในหนวยงานกระทําการโดยประมาทเลินเลอที่ไมถึงขนาดประมาทเลินเลออยางรายแรง เจาหนาที่ผูนั้นก็
ไมตองรับผิดชดใชคาสินไหม ฯ หรือความเสียหายที่หนวยงานถูกฟองรองตามกฎหมาย
         2) การฟองคดีอาญา
        บุคลากรดานการแพทยและสาธารณสุขโดยเฉพาะแพทย อาจถูกฟองรองเปนคดีอาญาจากการ
ใหบริการสาธารณสุขไดเชนเดียวกันเหมือนกับผูประกอบอาชีพหรือผูประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ไมวาจะเปน
นักกฎหมาย ทนายความ วิศวกร สถาปนิก ฯลฯ เพราะมนุษยทุกคนยอมมีความเสมอภาคภายใตกฎหมาย
ตามหลักการที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550) มาตรา 30 ผูใหบริการ
สาธารณสุขก็อาจถูกฟองในคดีอาญาไดเชนเดียวกัน ซึ่งในตางประเทศก็ถือหลักการเดียวกันนี้ ไมมี
กฎหมายประเทศใดที่บัญญัติยกเวนความผิดทางอาญาของแพทย พยาบาล หรือบุคลากรทางการแพทยแต
อยางใด เพราะยังมีแพทยบางกลุมที่ไมมีความรูจริง โดยกลาวอางวาสามารถเสนอรางกฎหมายยกเวน
ความรับผิดของบุคลากรทางการแพทยได ทั้ง ๆ ที่ขัดตอกฎหมายรัฐธรรมนูญอยางชัดเจน
          กรณีที่บุคลากรทางการแพทยอาจถูกฟองเปนคดีอาญา มักจะเปนกรณีกระทําโดยประมาทเปน
เหตุใหผูอื่นถึงแกความตายหรือเปนอันตรายตอรางกาย ซึ่งมีหลักเกณฑการพิจารณาในประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 59 วรรคหนึ่งและวรรคสี่ คือ ตองเปนการกระทําโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลใน


10
           “มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติ
หนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได
           ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงาน
ของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง”
11
           “มาตรา 8 ในกรณีท่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่
                              ี
ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิด ชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถา
เจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง
           สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการ
กระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของความเสียหายก็ได”


                                                           6
ภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหาได
ใชใหเพียงพอไม
         สิ่งที่ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขจะตองคํานึงถึงก็คือ การบําบัดรักษาผูปวยทั่วไปรวมถึง
ผูปวยฉุกเฉินนั้น ไดใชความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตาม “วิสัย” แลวหรือไม ซึ่ง
จะตองพิจารณาวาการใหการรักษาผูปวยรายนั้น ๆ สอดคลองกับ “มาตรฐานการดูแลรักษา” (standard of
care) หรือไม เพียงใด กลาวคือ แพทยหรือพยาบาลรายนั้นไดทําการรักษาผูปวยตามมาตรฐานหรือ
หลักเกณฑที่ไดรับการฝกอบรมมาหรือไม
          ในปจจุบัน การใหการรักษาผูปวยฉุกเฉินไดกําหนด“มาตรฐานและหลั ก เกณฑ เ กี่ ย วกั บ ระบบ
การแพทยฉุกเฉิน ฉบับที่ 1”12 ไวเปนการเฉพาะ ซึ่ง “ผูปฏิบัติการ13” ตาม พระราชบัญญัติการแพทย
ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 อาทิเชน แพทย (แพทย แพทยฉุกเฉิน) พยาบาล (พยาบาลฉุกเฉิน พยาบาลกูชีพ) เวช
กรฉุกเฉินระดับตาง ๆ และบุคลากรที่เกี่ยวของ ควรถือปฏิบัติตามอยางเครงครัด มิฉะนั้น หากเกิดความ
เสียหายตอผูปวยหรือผูรับบริการขึ้น ก็อาจเขาขายกระทําการโดยประมาทตามกฎหมายได
          พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีเหตุผลในการออกกฎหมายฉบับนี้คือ ทําให
ผูปวยฉุกเฉินไดรับการคุมครองสิทธิในการเขาถึงระบบการแพทยฉุกเฉินอยางทั่วถึง เทาเทียม มีคุณภาพ
มาตรฐาน โดยไดรับการชวยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและทันตอเหตุการณมากขึ้น และมี
การแตงตั้งคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เพื่อกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
การแพทยฉุกเฉิน ตลอดจนกําหนดใหมีสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติขึ้นเปนหนวยรับผิดชอบการ
บริหารจัดการ สิ่งที่ผูปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.การแพทยฉุกเฉิน พึงยึดถือปฏิบัติในการปฏิบัติการฉุกเฉิน มี
หลักการ เกณฑมาตรฐาน วิธีการและแนวปฏิบัติ ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 28 และ มาตรา 29 ดังนี้

        “มาตรา 28 เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉิน ใหหนวยปฏิบัติการ สถานพยาบาล
และผูปฏิบัติการ ดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้
        (1) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ตามลําดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน
        (2) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวยปฏิบัติการ
หรือสถานพยาบาลนั้นกอนการสงตอ เวนแตมีแพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปน
ประโยชนตอการปองกันการเสียชีวตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้น
                                   ิ


12
   “มาตรฐานและหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบการแพทยฉุกเฉิน ฉบับที่ 1” (นนทบุรี: สถาบันการแพทยฉุกเฉิน, 2553).
13
   “ผูปฏิบัติการ” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินตามที่คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน
กําหนด


                                                      7
(3) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินตองเปนไปตามความจํา เปนและขอบงชี้ทางการแพทย
ฉุกเฉิน โดยมิใหนําสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรับผิดชอบ
คาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมไดรับการปฏิบัติการ
ฉุกเฉินอยางทันทวงที
         หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผูปฏิบัติการใหดําเนินการปฏิบัติการ
ฉุกเฉินเปนไปตามหลักการตามวรรคหนึ่ง”

       “มาตรา 29 เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉินใหเปนไปตามหลักการตามมาตรา 28 กพฉ. มี
อํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้
       (1) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือขอจํากัดของผูปฏิบัติการ
หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
       (2) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ
และสถานพยาบาล
       (3) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
       (4) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการรายงานของหนวยปฏิบัติการและ
สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบุคลากร พาหนะ สถานที่ และ
อุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉิน . . .”


        สิ่งที่ตองพิจารณาวา ผูใหบริการสาธารณสุขจะกระทําผิดตามกฎหมายอาญาหรือไมในลําดับ
ตอไปคือ ตองพิจารณาถึง “พฤติการณ” คือ สภาวะแวดลอมในขณะนั้นวา ผูใหบริการสามารถใหการ
ชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินไดมากนอยเพียงใด เชน มีอุปกรณ เครื่องมือชวยชีวิตอะไรบาง สถานที่ที่ประสบ
เหตุเปนอุปสรรคตอการติดตอสื่อสารหรือขนยายผูปวยไปยังสถานพยาบาลใกลเคียงหรือไม ปจจัย
แวดลอมเหลานี้คือ พฤติการณที่จะใชในการพิจารณาประกอบดวยเสมอ
        สําหรับ การรองเรียนผูประกอบวิชาชีพตามกฎหมายวิชาชีพตาง ๆ นั้น สวนใหญเปนกรณีการไม
ปฏิบัติตามจรรยาบรรณหรือหลักจริยธรรมแหงวิชาชีพนั้น ๆ ซึ่งมีกฎหมายวิชาชีพบัญญัติไวเปนการ
เฉพาะ เชน พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525, พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ พ.ศ. 2528 แตไมขอกลาวถึงรายละเอียดในบทความนี้
         ประเด็นที่ควรพิจารณาคือ การปฏิบัติหนาที่ของผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
ที่จะตองปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว โดยหลักการแลวไมควรปฏิบัติงานนอก
ขอบเขตงานในวิชาชีพของตนเอง เวนแตจะเปนพยาบาลที่ไดรับการฝกอบรมเปนการเฉพาะแลว และมี
ระเบียบหรือกฎหมายรองรับใหดําเนินการได ตัวอยางเชน “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยบุคคล


                                                8
ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล
องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่นหรือสภากาชาดไทย มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความ
ควบคุมของเจาหน าที่ ซึ่งเป นผู ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” ที่กํ าหนดใหพยาบาลสามารถ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมบางอยางได เชน การปฐมพยาบาล, การลางกระเพาะอาหารโดยใชสายยาง กรณี
สงสัยวาจะไดรับสารพิษ, การชะลาง ทําแผล ตกแตงบาดแผล ฯลฯ


3. แนวทางการปองกันปญหาความขัดแยงหรือขอพิพาททางกฎหมาย
        มีขอมูลทางสถิติที่นาสนใจคือ ปจจุบันแนวโนมการฟองรองหรือรองเรียนการประกอบวิชาชีพ
ดานสาธารณสุขมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีตเปนอยางมาก ซึ่งมีปจจัยหลายประการเขามาเกี่ยวของดัง
กลาวถึงในตอนตน
      แนวทางการป องกันความขั ดแยงหรื อขอพิพาททางกฎหมายที่มี ประสิทธิภาพ ไม ใ ชมีเ พีย ง
มาตรการทางกฎหมายเทานั้น ผูเขียนเห็นวาควรมี
        1. การพัฒนาคุณภาพบริการ ความปลอดภัย และการบริหารความเสี่ยง ตามแนวทางของ
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ของสถาบัน
รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน)
         2. การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝกอบรมผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุข ที่เนน
เรื่องการใหบริการสุขภาพดวยหัวใจความเปนมนุษย
         3. การเสนอใหมีกฎหมายเยียวยาความเสียหายเบื้องตนแกผูเสียหาย
       4. การปฏิรูปกลไกควบคุมผูประกอบวิชาชีพ (แพทยสภา) เพื่อใหมีความอิสระ มีความนาเชื่อถือ
ปราศจากการครอบงําของกลุมผลประโยชน และไมเปนคูขัดแยงกับกลุมผูปวยหรือประชาชน โดยมี
กรณีศึกษาแพทยสภาอังกฤษ (General Medical Council) ที่มีการปฏิรูปองคกรและโครงสรางการ
พิจารณาคดีการรองเรียนแพทยรูปแบบใหม14
         ในที่นี้ขอกลาวถึงเฉพาะขอ 3 คือการเสนอใหมีกฎหมายเยียวยาความเสียหายเบื้องตน และมี
กลไกระงับขอพิพาททางเลือก กฎหมายปจจุบันที่มีสวนชวยปองกันปญหาขอพิพาทหรือการฟองรองผู
ประกอบวิชาชีพที่ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉินได คือ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.
2545 ซึ่ ง เป น กฎหมายสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ป ระชาชนสามารถเข า ถึ ง บริ ก ารสาธารณสุ ข อย า งทั่ ว ถึ ง และมี

14
  ไพศาล ลิ้มสถิตย, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ “การศึกษากลไกอภิบาลผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมในตางประเทศ :
กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด และแอฟริกาใต” สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สวรส.).


                                                       9
ประสิทธิภาพ คนทั่วไปรูจักกันดีในชื่อ โครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา (เดิมชื่อวา 30 บาทรักษา
ทุกโรค) ผูปวยประกันสุขภาพที่ใชบัตรทองเปนเพียงผูปวยกลุมเดียว ที่สามารถไดรับการชวยเหลือ
เบื้องตน ในกรณีที่ผูปวยหรือผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหนวย
บริการในสังกัดของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) โดยบัญญัติไวใน มาตรา 41 แหง
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มีเนื้อหาดังนี้


         “มาตรา 41 ใหคณะกรรมการกันเงินจํานวนไมเกินรอยละหนึ่งของเงินที่จะจายใหหนวยบริการ
ไวเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนใหกับผูรับบริการ ในกรณีที่ผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการ
รักษาพยาบาลของหนวยบริ การ โดยหาผูกระทํ าผิด มิ ได หรือหาผู กระทําผิด ไดแ ตยังไมไ ดรับความ
เสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด”


           ขอ มู ลการยื่น เรื่ อ งขอรั บ เงิ น ช ว ยเหลื อ เบื้ อ งต น ของ สปสช.ระหว า งป พ.ศ. 2547 – 2552 มี
แนวโนมสูงขึ้นอยางมาก โดยในป 2552 มีผูยื่นเรื่องถึง 810 ราย เมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลในป 2547 ที่มีผู
ยื่นเรื่อง 99 ราย (กรุณาดู ตารางดานลางประกอบ) โดยมีผูไดรับเงินชวยเหลือ ฯ ในป 2552 จํานวน 660
ราย 15 อีกทั้งมีขอมูลการศึกษาที่สะทอนใหเห็นวา การชวยเหลือตามมาตรา 41 ทําใหผูปวยหรือญาติ
ผูปวยเปลี่ยนใจ ไมฟองรองดําเนินคดีกับแพทยหรือผูใหบริการ สถานพยาบาล
                       




15
  นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ (รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ), “วิกฤติความสัมพันธ
ระหวางแพทยและผูปวยประสบการณของประเทศตางๆ มาตรา 41 กับ การชวยเหลือผูใชบริการ” (เอกสารประกอบการ
บรรยาย).



                                                       10
สรุปจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน
                                                       และเรื่องอุทธรณ
                     จํานวน(ราย)

                        900                                                       810
                        800
                        700
                                                                       658
                                                                                                 เรื่องขอรับ
                        600                                 511
                                                                                                 เงินทั้งหมด
                        500                         443
                        400
                        300              221                                                     อุทธรณ
                        200    99
                                                       60         58         74      67
                        100         12         32

                          0
                              2547       2548       2549    2550       2551       2552


                                                                   ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
                                                                                                          44




         แนวทางแกปญหาการฟองรองระหวางบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขกับผูปวยในระยะ
ยาวที่นาสนใจคือ การเสนอ “รางพ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” (ราง
รั ฐ บาลและร า งภาคประชาชน) หรื อ ที่ มี ก ารเสนอเปลี่ ย นชื่ อ ร า งกฎหมายนี้ ใ นชั้ น การพิ จ ารณาของ
“คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข” ที่มีปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เปนประธาน วา “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรับความเสียหายจากการ
บริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ”
           หลักการและเหตุผลของราง พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ของ
รัฐบาลและภาคประชาชน ตางก็มีจุดยืนเหมือนกันคือ การเยียวยาความเสียหายใหแกผูปวยที่รับบริการ
สาธารณสุขอยางรวดเร็วและเปนธรรมโดยไมตองพิสูจนความรับผิด ซึ่งเปนหลักการที่เรียกวา “no-fault
compensation” กลาวคือ มีการจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยจากกองทุนตามราง พ.ร.บ.นี้ โดย
ตองฟองรองดําเนินคดีละเมิดที่ใชเวลานานหลายป ตองเสียคาใชจายจํานวนมาก อีกทั้งทําใหเกิดความ
ทุกขแกทุกฝาย สําหรับขั้นตอนพิจารณาจายเงินเยียวยาผูเสียหายตามรางกฎหมายนี้ มิไดมุงเรื่องการหาตัว
ผูที่ตองรับผิดชอบ เหมือนกับการฟองรองคดีแพงทั่วไปที่ตองพิสูจนวา ผูกระทําผิดเปนใคร เปนการ
กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอที่ทําใหเกิดความเสียหายแกผูปวยหรือไม             แนวคิดของราง
พระราชบัญญัตินี้ปรากฏอยูในกฎหมายไทยคือ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545
มาตรา 41 และยังพบกฎหมายในหลายประเทศที่ใชหลักการเดียวกันนี้ เชน ประเทศสวีเดน นิวซีแลนด
ฟนแลนด นอรเวย เดนมารก สหรัฐอเมริกา (บางมลรัฐ) 16 แนวคิดนี้พัฒนามาจากระบบประกันความรับ

16
 ไพศาล ลิ้มสถิตย. “ความสําคัญของราง พ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” (วารสาร
คลินิก ปที่ 26 ฉบับที่ 9, กันยายน 2553), หนา 688-691.


                                                            11
ผิดในกรณีตาง ๆ ที่รูจักกันดี เชน การประกันอุบัติเหตุ การประกันวินาศภัย หรือการประกันความรับผิด
ดานสุขภาพตาง ๆ
          จึงกลาวไดวาราง พ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... เปนแนวทาง
เยียวยาความเสียหายของผูปวยอยางทันการณ สอดคลองกับหลักการของนานาชาติ ซึ่งนาจะมีสวนชวยลด
ปญหาความขัดแยง การฟองรองระหวางบุคลากรทางการแพทยกับฝายผูปวยไดทางหนึ่ง เรื่องนี้เปนเรื่อง
ใหมที่จะตองเผยแพรความรู ความเขาใจแกบุคลากรทางการแพทย ใหมีความเขาใจที่ถูกตองในเรืองนี้ แต
                                                                                              ่
เปนที่นาเสียหายที่ยังมีผูที่ไมเขาใจสาระสําคัญของรางกฎหมายนี้ ประกอบกับมีการใหขอมูลที่บิดเบือน
ไมถูกตองตามความเปนจริง จนเกิดกระแสคัดคานในวงกวาง ทั้งนี้ อาจเปนเพราะรางกฎหมายนี้บังคับ
ใหผูใหบริการสาธารณสุขภาคเอกชนตองรวมจายเงินสมทบเขา “กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีใน
ระบบบริการสาธารณสุข” ทําใหยังไมมการเสนอรางกฎหมายเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร
                                           ี


         กลาวโดยสรุปคือ การหลีกเลี่ยงหรือแกไขปญหาการฟองรองสําหรับผูปฏิบัติการคือ แพทย
พยาบาล และเจาหนาที่ที่เกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินนั้น มีหลายแนวทางดังที่กลาวมาแลว การใชมาตรทาง
กฎหมายเปนเพียงแนวทางหนึ่งเทานั้น ฉะนั้น สิ่งที่ผูใหบริการและผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพพึง
ตระหนักก็คือ บทบาทหนาที่ของตนเองในการดูแลรักษาผูปวยโดยคํานึงถึงความประสงคของผูปวย
ประโยชนและคุณภาพชีวิตของผูปวย การทําความเขาใจเนื้อหาของกฎหมายและสิทธิผูปวยที่เกี่ยวของ
การสรางสัมพันธภาพอันดีกับผูปวยและญาติผูปวยดวยความจริงใจ ความเขาใจความทุกขของผูปวย
สิ่งเหลานี้นาจะเปนเกราะปองกันการฟองรองที่ดีที่สุด




                                     -------------------------------------------




                                                   12

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดHummd Mdhum
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังkatokung
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's SketchpadGsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อแนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 

Similar to การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2larnpho
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)taem
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

Similar to การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (20)

ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
2523
25232523
2523
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
CLS for Volunteer
CLS for VolunteerCLS for Volunteer
CLS for Volunteer
 
Cls for volunteer
Cls for volunteerCls for volunteer
Cls for volunteer
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

  • 1. แนวทางปองกันการฟองรอง: กรณีการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน∗ ไพศาล ลิ้มสถิตย* การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินมีความแตกตางจากการบําบัดรักษาผูปวยทั่วไป เพราะเปนกรณีที่ ตองมีการดําเนินการอยางเรงดวน เพื่อปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการ ปวยนั้น ๆ ของผูปวยฉุกเฉินนั้น การสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายและจริยธรรม ในเรื่องนี้จึงมีความสําคัญเชนกัน ซึ่งนาจะชวยใหสรางความเชื่อมั่นใหแกบุคลากรทางการแพทยและ สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉิน และปองกันขอพิพาทหรือการฟองรองที่อาจเกิดขึ้น 1. การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน 1.1 สิทธิผูปวยกับความยินยอมในการรับการบําบัดรักษา การดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ยทั่ ว ไปที่ มี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจด ว ยตนเองคื อ ผู ป ว ยยั ง มี สติสัมปชัญญะและมีความสามารถในการไตรตรอง ตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผลนั้น ผูใหบริการ สาธารณสุขหรือแพทย พยาบาลจะตองใหความสําคัญกับการใหความยินยอมในการรับการบําบัดรักษา ของผูปวยเปนลําดับแรก เนื่องจากผูปวยที่มีความสามารถตามกฎหมาย ยอมมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเอง (right to self-determination) โดยแพทยสมาคมโลกไดรับรองในเรื่องไวใน “ปฏิญญาสิลบอน วาดวย สิทธิผูปวย” (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient1)  โดยทั่วไปแลว แพทยเปนผูมีหนาที่แจงขอมูลเกี่ยวกับลักษณะอาการ ความเจ็บปวย ขั้นตอนการ รักษา ความเสี่ยงภาวะแทรกซอน (complication) หรือผลที่ไมพึงประสงค (adverse outcome) ที่อาจจะ เกิดขึ้นจากการรักษานั้น ๆ และควรใชภาษาที่คนทั่วไปสามารถเขาใจไดงาย เลี่ยงไมใชศัพทเทคนิค หลักการในเรื่องนี้เรียกวา “ความยินยอมที่ไดรับการบอกกลาว” (informed consent) ซึ่งถือเปนสิทธิ ผูปวยอยางหนึ่ง ดังที่มีการจัดทําเปน “คําประกาศสิทธิผูปวย” ของสภาวิชาชีพสาธารณสุขในประเทศ ไทย เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2541 มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการใหความยินยอมของผูปวยที่สอดคลองกันกับ ปฏิญญาสิลบอนวาดวย “สิทธิผูปวย” ขางตน ดังนี้ ∗ เอกสารประกอบประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน ครั้งที่ 15 “ฉุกเฉินกาวไกล” (EM forward) จัดโดย โรงพยาบาลราชวิถี รวมกับ สมาคมเวชศาสตรฉุกเฉินแหงประเทศไทย ระหวางวันที่ 9-11 กรกฎาคม 2555 * นบ., นม. นักวิชาการศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1 “ปฏิญญาวาดวยสิทธิผูปวยของแพทยสมาคมโลก” แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ และนายไพศาล ลิ้มสถิตย (วารสารคลินิก, ปที่ 24 ฉบับที่ 10, ตุลาคม 2551), หนา 922-924. 1
  • 2. “3. ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลอยางเพียงพอ และเขาใจชัดเจน จากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพ เพื่อใหผูปวยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไมยินยอมใหผู ประกอบวิชาชีพดานสุขภาพปฏิบัตตอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน” ิ ในกรณีผูปวยเด็กที่มีอายุต่ํากวา 18 ป หรือผูที่มีความบกพรองทางกายหรือจิตซึ่งไมสามารถใช สิทธิดวยตนเองได หากเปนการรักษาที่มีความเสี่ยง ก็ตองใหบิดา มารดา หรือผูแทนโดยชอบธรรม หรือ  ผูท่ปกครองดูแลใหความยินยอมแทนผูปวย ี อยางไรก็ดี การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินจะมีหลักเกณฑในการปฏิบัติที่แตกตางออกไปจาก หลักการขางตน กลาวคือ ผูปวยฉุกเฉินบางรายจะอยูในสภาพหมดสติ มีอาการปวยหนัก หรืออยูในภาวะ ที่ไมสามารถตัดสินใจใหความยินยอมดวยตนเองได ในทางกฎหมายและสิทธิผูปวย จึงถือเปนกรณี ยกเวนที่แพทยไมตองขอความยินยอมในการรักษาจากผูปวยได หากเปนกรณีการรักษาผูปวยฉุกเฉิน เพื่อ ปองกันการเสียชีวิต อันตราย หรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น แตก็ตองกระทํา เทาที่มีความจําเปนตามสถานการณในขณะนั้น อีกทั้งยังถือเปนหนาที่ตามกฎหมายและจริยธรรมที่จะตอง ชวยเหลือรักษาผูปวยฉุกเฉิน2 คําประกาศสิทธิผูปวยของไทยไดกําหนดเรื่องนี้ไวในขอ 4 มีเนื้อหาวา “4. ผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบ วิชาชีพดานสุขภาพโดยทันทีตามความจําเปนแกกรณี โดยไมคํานึงวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือ หรือไม” พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา 3 ไดใหนิยามคําวา “ผูปวยฉุกเฉิน” ดังนี้ “ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน ซึ่งเปน ภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและ การบําบัดรักษาอยางทันทวงทีเพื่อปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวย นั้น ผูปวยที่เขากรณีผูปวยฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน จะตองเปนบุคคลที่มีลักษณะ ครบ 3 ประการ คือ 1) บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน 2) อาการบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน เปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของ อวัยวะสําคัญ 2 แสวง บุญเฉลิมวิภาส และเอนก ยมจินดา, กฎหมายการแพทย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวิญูชน, 2540), หนา 65. 2
  • 3. 3) จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและการบําบัดรักษาอยางทันทวงที เพื่อปองกันการ เสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยนั้น 1.2 การใหความยินยอมตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 8 พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 8 เปนกฎหมายฉบับแรกที่บัญญัติเรื่องการให ความยินยอมในการรับบริการสาธารณสุขของผูรับบริการ (คือ ผูปวยหรือผูที่มีสุขภาพแข็งแรง) ไววา บุคลากรดานสาธารณสุขมีห น าที่แ จงข อมูลที่เ กี่ยวกั บสุขภาพของผูปว ยใหทราบกอ นที่จ ะตัด สิ น ว า ผูรับบริการมีสทธิที่จะรับบริการหรือการดูแลรักษาทางการแพทยหรือไมก็ไดตามหลัก patient autonomy ิ ซึ่งสอดคลองกับหลักสิทธิผูปวยที่กลาวมาแลว ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 8 วรรคแรก ดังนี้ 3 “ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรดานสาธารณสุขตองแจงขอมูลดานสุขภาพที่เกี่ยวของกับ การใหบริการใหผูรับบริ การทราบอยางเพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับ หรือไมรับบริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรบบริการใด จะใหบริการนั้นมิได” ั ขอยกเวนเรื่องการใหความยินยอมในกรณีผูปวยหรือผูรับบริการสาธารณสุขทั่วไปที่ตัดสินใจ ดวยตนเองได มีบัญญัติไวในมาตรา 8 วรรคทาย แบงเปน 2 กรณีคือ “ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับกรณีดังตอไปนี้ (1) ผูรับบริการอยูในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจําเปนตองใหความชวยเหลือเปน การรีบดวน (2) ผูรับบริการไมอยูในฐานะที่จะรับทราบขอมูลได และไมอาจแจงใหบุคคลซึ่งเปนทายาทโดย ธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูปกครอง ผูปกครองดูแล ผูพิทักษ หรือผูอนุบาลของ ผูรับบริการ แลวแตกรณี รับทราบขอมูลแทนในขณะนั้นได” กรณีที่ 1 เมื่อผูรับบริการอยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต และมีความจําเปนตองชวยเหลือเปน การรีบดวน เชน กรณีผูปวยประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินหรือผูปวยหมดสติที่มีอาการเจ็บปวยที่อาจเปน อันตรายถึงชีวิต แพทยยอมสามารถชวยใหรักษาได เพราะเปนกรณีที่ไมอาจติดตอหรือขอความยินยอม จากผูปวยหรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูปวยได 3 ไพศาล ลิ้มสถิตย, การใหความยินยอมในการรักษาของผูรับบริการสาธารณสุข : กฎหมายและแนวปฏิบัติของไทยและ ตางประเทศ ในหนังสือ แสวง บุญเฉลิมวิภาส และไพศาล ลิ้มสถิตย (บรรณาธิการ), การใหความยินยอมในการรับ บริการสาธารณสุข และความเขาใจเกี่ยวกับมาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 (กรุงเทพ ฯ: ศูนยกฎหมาย สุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2554), หนา 80-86. 3
  • 4. ในกรณีที่นาจะเขาขายกรณีที่ 1 คือ “ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต” และ “ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน” ตามที่ระบุ  ไวในหลักเกณฑการตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินของผูรับบริการสาธารณสุข ตาม “ประกาศ คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและมาตรฐานการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. 2554” ขอ 44 (ลงวันที่ 15 กันยายน 2554) ตัวอยางอาการของผูปวยฉุกเฉินวิกฤต เชน ผูปวยที่มีภาวะหัวใจหยุดเตน หายใจไมออกหอบ รุนแรง หยุดหายใจ ภาวะช็อก ชักตลอดเวลาหรือชักจนตัวเขียว เลือดออกมากอยางรวดเร็วและ ตลอดเวลา สวนตัวอยางกรณีผูปวยฉุกเฉินเรงดวน เชน ผูปวยที่ไมรูสึกตัว ชัก เปนอัมพาต หรือ ตาบอด หูหนวกทันที และเจ็บปวดมากทุรนทุราย ถูกพิษหรือรับยาเกินขนาด ไดรับอุบัติเหตุโดยเฉพาะมีบาดแผล ที่ใหญมากหลายแหง กรณีที่ 2 เมื่อผูรับบริการไมอยูในสภาพที่จะสื่อสาร หรือรับทราบขอมูลจากผูอื่นได และไมอาจ แจงใหบิดามารดา ผูปกครอง ผูพิทักษ ผูอนุบาลตามกฎหมายได 5 แมวาจะไมอยูในภาวะถึงขั้นเสี่ยง อันตรายถึงชีวิต แพทยก็สามารถใหการรักษาผูปวยไดโดยไมตองขอความยินยอม เชน ผูปวยที่หมดสติ ผูปวยจิตเวชหรือผูปวยที่มีความผิดปกติทางจิต6 หรือกรณีผูประสบอุบัติเหตุที่เมาสุราอยางหนัก กรณีนี้ อาจเปนกรณีผปวยฉุกเฉินหรือไมก็ไดคือ เปนผูปวยทั่วไป หรืออาจเปน “ผูปวยฉุกเฉินไมรุนแรง”7 ู 4 ขอ 4 “(1) ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรบบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามตอชีวิต ซึ่ง ั หากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทันทีเพื่อแกไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแลว ผูปวยจะมี โอกาสเสียชีวิตไดสูง หรือทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ไดอยางฉับไว ใหใชสัญลักษณ “สีแดง” สําหรับผูปวยฉุกเฉินวิกฤต (2) ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน ไดแก บุคคลที่ไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวด  รุนแรงอันจําเปนตองไดรับปฏิบัติการแพทยอยางรีบดวน มิฉะนั้นจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉิน นั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ซึ่งสงผลใหเสียชีวิตหรือพิการในระยะตอมาได ใหใชสัญลักษณ “สีเหลือง” สําหรับผูปวยฉุกเฉินเรงดวน” 5 ในกรณีนี้ ผูเขียนเห็นวา ควรรวมถึงญาติใกลชิด หรือผูที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูรบบริการดวยในกรณีที่ไมมีญาติพี่ ั นอง เชน ผูที่อยูกนฉันทสามีภริยา แตไมไดจดทะเบียนสมรส คนใกลชิด ิ 6 พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 มาตรา 3 บัญญัติวา “ความผิดปกติทางจิต” หมายความวา อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ ความคิด ความจํา สติปญญา ประสาทการรับรู หรือการรูเวลา สถานที่หรือบุคคล รวมทั้งอาการผิดปกติของจิตใจที่เกิดจากสุรา หรือสารอื่นที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท 7 ขอ 4 (3) ผูปวยฉุกเฉินไมรุนแรง ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันไมรุนแรง อาจ รอรับปฏิบัติการแพทยไดในชวงระยะเวลาหนึ่งหรือเดินทางไปรับบริการสาธารณสุขดวยตนเองได แตจําเปนตองใช 4
  • 5. 2. การปองกันปญหาฟองรอง โดยทั่วไปนั้น ผูรับบริการหรือผูปวยมักจะไมฟองรองผูใหบริการ เพราะสังคมไทยยังใหความ เคารพ นับถือบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขอยูมาก แตสาเหตุที่ทําใหเกิดการรองเรียนหรือการ ฟองรองตามกฎหมาย มักเกิดจากหลายสาเหตุดวยกัน เชน ปญหาการสื่อสารขอมูลกับผูปวยหรือญาติ ผูปวย ปญหาความสัมพันธระหวางแพทย พยาบาลกับผูปวย การปกปดขอมูลหรือความจริงที่ควรแจงให ผูปวยหรือญาติทราบ ปญหาความคาดหวังของผูปวย ขอจํากัดในการใหบริการของผูใหบริการ ปญหาการ รัก ษาที่ไ ม เ ปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย รวมถึงความล า สมัย ของกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมในปจจุบัน การฟองรองตามกฎหมายของผูปวยหรือญาติผูปวยแบงไดเปน 2 กรณีคือ 1) การฟองคดีแพง การฟองเปนคดีแพงจะเปนกรณีละเมิด กลาวคือ ผูที่มีสิทธิฟองคดีละเมิดไดตองเปนผูเสียหาย โดยเปนความเสียหายตอชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ หรือทรัพยสิน และตองปรากฏวา มีผูกระทําละเมิด โดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4208 โดยกฎหมายกําหนด วา หากผูทําละเมิดเปนลูกจางหรือพนักงานของนายจางหรือองคกรใด นายจางก็ตองรวมรับผิดกับลูกจาง ดวย ตาม มาตรา 4259 เชน หากแพทยหรือพยาบาลที่เปนพนักงานหรือลูกจางของโรงพยาบาลเอกชนถูก ผูปวยฟองรองเรียกคาเสียหายทางแพง โรงพยาบาลเอกชนในฐานะนายจางก็ตองมีสวนรวมรับผิดชอบกับ  แพทยหรือพยาบาลดวย แมวาจะมีการฟองคดีแพงไปแลว แตก็สามารถยอมความได ถามีการไกลเกลี่ย ตกลงเรื่องคาเสียหายหรือคาสินไหมทดแทนกันได ข อ แตกต า งระหว า งบุ ค ลากรด า นการแพทย แ ละสาธารณสุ ข ในภาคเอกชนกั บ ภาครั ฐ ก็ คื อ บุคลากรที่เปนเจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐ จะไดรับความคุมครองตามกฎหมายคือ “พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539” ซึ่งเปนกฎหมายที่มีเจตนารมณเพื่อคุมครองเจาหนาที่ ของหนวยงานของรัฐ ซึ่งมิไดปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชนเฉพาะตัวหรือประโยชนของเอกน รัฐจึงเห็นวา ไมควรใหเจาหนาที่ในภาครัฐตองรับผิดในความเสียหายเหมือนเอกชนทั่วไป ดังนั้น พ.ร.บ.ความรับผิด ทรัพยากรและหากปลอยไวเกินเวลาอันสมควรแลวจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้นได 8 “มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แก รางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสนหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูน้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหม ิ ั ทดแทนเพื่อการนั้น” 9 “มาตรา 425 นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น” 5
  • 6. ทางละเมิดของเจาหนาที่ จึงกําหนดหนวยงานของรัฐเปนผูรับผิดตอผูเสียหายในคดีแพงแทน ผูเสียหาย ไม ส ามารถฟ อ งเจ า หน าที่ ใ ห ช ดใช ค า เสี ย หายได โ ดยตรง แตผู เ สี ย หายตอ งฟอ งเรี ย กค า เสี ย หายจาก หนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัดแทน ดังที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ มาตรา 510 อยางไรก็ดี หากเปนกรณีที่เจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลอ อยางรายแรง เมื่อหนวยงานไดชดใชคาสินไหม ฯ ไปแลว ก็สามารถเรียกใหเจาหนาที่ดังกลาวรวมชดใช ดวยได โดยไมตองชดใชเต็มจํานวนตามความเสียหายก็ได ตาม มาตรา 811 กลาวคือ ถาเปนกรณีเจาหนาที่ ในหนวยงานกระทําการโดยประมาทเลินเลอที่ไมถึงขนาดประมาทเลินเลออยางรายแรง เจาหนาที่ผูนั้นก็ ไมตองรับผิดชดใชคาสินไหม ฯ หรือความเสียหายที่หนวยงานถูกฟองรองตามกฎหมาย 2) การฟองคดีอาญา บุคลากรดานการแพทยและสาธารณสุขโดยเฉพาะแพทย อาจถูกฟองรองเปนคดีอาญาจากการ ใหบริการสาธารณสุขไดเชนเดียวกันเหมือนกับผูประกอบอาชีพหรือผูประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ไมวาจะเปน นักกฎหมาย ทนายความ วิศวกร สถาปนิก ฯลฯ เพราะมนุษยทุกคนยอมมีความเสมอภาคภายใตกฎหมาย ตามหลักการที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2550) มาตรา 30 ผูใหบริการ สาธารณสุขก็อาจถูกฟองในคดีอาญาไดเชนเดียวกัน ซึ่งในตางประเทศก็ถือหลักการเดียวกันนี้ ไมมี กฎหมายประเทศใดที่บัญญัติยกเวนความผิดทางอาญาของแพทย พยาบาล หรือบุคลากรทางการแพทยแต อยางใด เพราะยังมีแพทยบางกลุมที่ไมมีความรูจริง โดยกลาวอางวาสามารถเสนอรางกฎหมายยกเวน ความรับผิดของบุคลากรทางการแพทยได ทั้ง ๆ ที่ขัดตอกฎหมายรัฐธรรมนูญอยางชัดเจน กรณีที่บุคลากรทางการแพทยอาจถูกฟองเปนคดีอาญา มักจะเปนกรณีกระทําโดยประมาทเปน เหตุใหผูอื่นถึงแกความตายหรือเปนอันตรายตอรางกาย ซึ่งมีหลักเกณฑการพิจารณาในประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 59 วรรคหนึ่งและวรรคสี่ คือ ตองเปนการกระทําโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลใน 10 “มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติ หนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงาน ของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง” 11 “มาตรา 8 ในกรณีท่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ี ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิด ชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถา เจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการ กระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของความเสียหายก็ได” 6
  • 7. ภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหาได ใชใหเพียงพอไม สิ่งที่ผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขจะตองคํานึงถึงก็คือ การบําบัดรักษาผูปวยทั่วไปรวมถึง ผูปวยฉุกเฉินนั้น ไดใชความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตาม “วิสัย” แลวหรือไม ซึ่ง จะตองพิจารณาวาการใหการรักษาผูปวยรายนั้น ๆ สอดคลองกับ “มาตรฐานการดูแลรักษา” (standard of care) หรือไม เพียงใด กลาวคือ แพทยหรือพยาบาลรายนั้นไดทําการรักษาผูปวยตามมาตรฐานหรือ หลักเกณฑที่ไดรับการฝกอบรมมาหรือไม ในปจจุบัน การใหการรักษาผูปวยฉุกเฉินไดกําหนด“มาตรฐานและหลั ก เกณฑ เ กี่ ย วกั บ ระบบ การแพทยฉุกเฉิน ฉบับที่ 1”12 ไวเปนการเฉพาะ ซึ่ง “ผูปฏิบัติการ13” ตาม พระราชบัญญัติการแพทย ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 อาทิเชน แพทย (แพทย แพทยฉุกเฉิน) พยาบาล (พยาบาลฉุกเฉิน พยาบาลกูชีพ) เวช กรฉุกเฉินระดับตาง ๆ และบุคลากรที่เกี่ยวของ ควรถือปฏิบัติตามอยางเครงครัด มิฉะนั้น หากเกิดความ เสียหายตอผูปวยหรือผูรับบริการขึ้น ก็อาจเขาขายกระทําการโดยประมาทตามกฎหมายได พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีเหตุผลในการออกกฎหมายฉบับนี้คือ ทําให ผูปวยฉุกเฉินไดรับการคุมครองสิทธิในการเขาถึงระบบการแพทยฉุกเฉินอยางทั่วถึง เทาเทียม มีคุณภาพ มาตรฐาน โดยไดรับการชวยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและทันตอเหตุการณมากขึ้น และมี การแตงตั้งคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เพื่อกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การแพทยฉุกเฉิน ตลอดจนกําหนดใหมีสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติขึ้นเปนหนวยรับผิดชอบการ บริหารจัดการ สิ่งที่ผูปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.การแพทยฉุกเฉิน พึงยึดถือปฏิบัติในการปฏิบัติการฉุกเฉิน มี หลักการ เกณฑมาตรฐาน วิธีการและแนวปฏิบัติ ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 28 และ มาตรา 29 ดังนี้ “มาตรา 28 เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉิน ใหหนวยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และผูปฏิบัติการ ดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้ (1) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามลําดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน (2) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นกอนการสงตอ เวนแตมีแพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปน ประโยชนตอการปองกันการเสียชีวตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้น ิ 12 “มาตรฐานและหลักเกณฑเกี่ยวกับระบบการแพทยฉุกเฉิน ฉบับที่ 1” (นนทบุรี: สถาบันการแพทยฉุกเฉิน, 2553). 13 “ผูปฏิบัติการ” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินตามที่คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน กําหนด 7
  • 8. (3) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินตองเปนไปตามความจํา เปนและขอบงชี้ทางการแพทย ฉุกเฉิน โดยมิใหนําสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรับผิดชอบ คาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมไดรับการปฏิบัติการ ฉุกเฉินอยางทันทวงที หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผูปฏิบัติการใหดําเนินการปฏิบัติการ ฉุกเฉินเปนไปตามหลักการตามวรรคหนึ่ง” “มาตรา 29 เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉินใหเปนไปตามหลักการตามมาตรา 28 กพฉ. มี อํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้ (1) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือขอจํากัดของผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล (2) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล (3) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน (4) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการรายงานของหนวยปฏิบัติการและ สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบุคลากร พาหนะ สถานที่ และ อุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉิน . . .” สิ่งที่ตองพิจารณาวา ผูใหบริการสาธารณสุขจะกระทําผิดตามกฎหมายอาญาหรือไมในลําดับ ตอไปคือ ตองพิจารณาถึง “พฤติการณ” คือ สภาวะแวดลอมในขณะนั้นวา ผูใหบริการสามารถใหการ ชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินไดมากนอยเพียงใด เชน มีอุปกรณ เครื่องมือชวยชีวิตอะไรบาง สถานที่ที่ประสบ เหตุเปนอุปสรรคตอการติดตอสื่อสารหรือขนยายผูปวยไปยังสถานพยาบาลใกลเคียงหรือไม ปจจัย แวดลอมเหลานี้คือ พฤติการณที่จะใชในการพิจารณาประกอบดวยเสมอ สําหรับ การรองเรียนผูประกอบวิชาชีพตามกฎหมายวิชาชีพตาง ๆ นั้น สวนใหญเปนกรณีการไม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณหรือหลักจริยธรรมแหงวิชาชีพนั้น ๆ ซึ่งมีกฎหมายวิชาชีพบัญญัติไวเปนการ เฉพาะ เชน พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525, พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ พ.ศ. 2528 แตไมขอกลาวถึงรายละเอียดในบทความนี้ ประเด็นที่ควรพิจารณาคือ การปฏิบัติหนาที่ของผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ที่จะตองปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว โดยหลักการแลวไมควรปฏิบัติงานนอก ขอบเขตงานในวิชาชีพของตนเอง เวนแตจะเปนพยาบาลที่ไดรับการฝกอบรมเปนการเฉพาะแลว และมี ระเบียบหรือกฎหมายรองรับใหดําเนินการได ตัวอยางเชน “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยบุคคล 8
  • 9. ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถิ่นอื่นหรือสภากาชาดไทย มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความ ควบคุมของเจาหน าที่ ซึ่งเป นผู ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” ที่กํ าหนดใหพยาบาลสามารถ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมบางอยางได เชน การปฐมพยาบาล, การลางกระเพาะอาหารโดยใชสายยาง กรณี สงสัยวาจะไดรับสารพิษ, การชะลาง ทําแผล ตกแตงบาดแผล ฯลฯ 3. แนวทางการปองกันปญหาความขัดแยงหรือขอพิพาททางกฎหมาย มีขอมูลทางสถิติที่นาสนใจคือ ปจจุบันแนวโนมการฟองรองหรือรองเรียนการประกอบวิชาชีพ ดานสาธารณสุขมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีตเปนอยางมาก ซึ่งมีปจจัยหลายประการเขามาเกี่ยวของดัง กลาวถึงในตอนตน แนวทางการป องกันความขั ดแยงหรื อขอพิพาททางกฎหมายที่มี ประสิทธิภาพ ไม ใ ชมีเ พีย ง มาตรการทางกฎหมายเทานั้น ผูเขียนเห็นวาควรมี 1. การพัฒนาคุณภาพบริการ ความปลอดภัย และการบริหารความเสี่ยง ตามแนวทางของ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ของสถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน) 2. การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝกอบรมผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุข ที่เนน เรื่องการใหบริการสุขภาพดวยหัวใจความเปนมนุษย 3. การเสนอใหมีกฎหมายเยียวยาความเสียหายเบื้องตนแกผูเสียหาย 4. การปฏิรูปกลไกควบคุมผูประกอบวิชาชีพ (แพทยสภา) เพื่อใหมีความอิสระ มีความนาเชื่อถือ ปราศจากการครอบงําของกลุมผลประโยชน และไมเปนคูขัดแยงกับกลุมผูปวยหรือประชาชน โดยมี กรณีศึกษาแพทยสภาอังกฤษ (General Medical Council) ที่มีการปฏิรูปองคกรและโครงสรางการ พิจารณาคดีการรองเรียนแพทยรูปแบบใหม14 ในที่นี้ขอกลาวถึงเฉพาะขอ 3 คือการเสนอใหมีกฎหมายเยียวยาความเสียหายเบื้องตน และมี กลไกระงับขอพิพาททางเลือก กฎหมายปจจุบันที่มีสวนชวยปองกันปญหาขอพิพาทหรือการฟองรองผู ประกอบวิชาชีพที่ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉินได คือ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ซึ่ ง เป น กฎหมายสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ป ระชาชนสามารถเข า ถึ ง บริ ก ารสาธารณสุ ข อย า งทั่ ว ถึ ง และมี 14 ไพศาล ลิ้มสถิตย, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ “การศึกษากลไกอภิบาลผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมในตางประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด และแอฟริกาใต” สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.). 9
  • 10. ประสิทธิภาพ คนทั่วไปรูจักกันดีในชื่อ โครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา (เดิมชื่อวา 30 บาทรักษา ทุกโรค) ผูปวยประกันสุขภาพที่ใชบัตรทองเปนเพียงผูปวยกลุมเดียว ที่สามารถไดรับการชวยเหลือ เบื้องตน ในกรณีที่ผูปวยหรือผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหนวย บริการในสังกัดของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) โดยบัญญัติไวใน มาตรา 41 แหง พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มีเนื้อหาดังนี้ “มาตรา 41 ใหคณะกรรมการกันเงินจํานวนไมเกินรอยละหนึ่งของเงินที่จะจายใหหนวยบริการ ไวเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนใหกับผูรับบริการ ในกรณีที่ผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการ รักษาพยาบาลของหนวยบริ การ โดยหาผูกระทํ าผิด มิ ได หรือหาผู กระทําผิด ไดแ ตยังไมไ ดรับความ เสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด” ขอ มู ลการยื่น เรื่ อ งขอรั บ เงิ น ช ว ยเหลื อ เบื้ อ งต น ของ สปสช.ระหว า งป พ.ศ. 2547 – 2552 มี แนวโนมสูงขึ้นอยางมาก โดยในป 2552 มีผูยื่นเรื่องถึง 810 ราย เมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลในป 2547 ที่มีผู ยื่นเรื่อง 99 ราย (กรุณาดู ตารางดานลางประกอบ) โดยมีผูไดรับเงินชวยเหลือ ฯ ในป 2552 จํานวน 660 ราย 15 อีกทั้งมีขอมูลการศึกษาที่สะทอนใหเห็นวา การชวยเหลือตามมาตรา 41 ทําใหผูปวยหรือญาติ ผูปวยเปลี่ยนใจ ไมฟองรองดําเนินคดีกับแพทยหรือผูใหบริการ สถานพยาบาล  15 นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ (รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ), “วิกฤติความสัมพันธ ระหวางแพทยและผูปวยประสบการณของประเทศตางๆ มาตรา 41 กับ การชวยเหลือผูใชบริการ” (เอกสารประกอบการ บรรยาย). 10
  • 11. สรุปจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน และเรื่องอุทธรณ จํานวน(ราย) 900 810 800 700 658 เรื่องขอรับ 600 511 เงินทั้งหมด 500 443 400 300 221 อุทธรณ 200 99 60 58 74 67 100 12 32 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 44 แนวทางแกปญหาการฟองรองระหวางบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขกับผูปวยในระยะ ยาวที่นาสนใจคือ การเสนอ “รางพ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” (ราง รั ฐ บาลและร า งภาคประชาชน) หรื อ ที่ มี ก ารเสนอเปลี่ ย นชื่ อ ร า งกฎหมายนี้ ใ นชั้ น การพิ จ ารณาของ “คณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันทในระบบบริการสาธารณสุข” ที่มีปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปนประธาน วา “รางพระราชบัญญัติคุมครองผูรับบริการและผูใหบริการที่ไดรับความเสียหายจากการ บริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ” หลักการและเหตุผลของราง พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ของ รัฐบาลและภาคประชาชน ตางก็มีจุดยืนเหมือนกันคือ การเยียวยาความเสียหายใหแกผูปวยที่รับบริการ สาธารณสุขอยางรวดเร็วและเปนธรรมโดยไมตองพิสูจนความรับผิด ซึ่งเปนหลักการที่เรียกวา “no-fault compensation” กลาวคือ มีการจายเงินชวยเหลือเบื้องตนและเงินชดเชยจากกองทุนตามราง พ.ร.บ.นี้ โดย ตองฟองรองดําเนินคดีละเมิดที่ใชเวลานานหลายป ตองเสียคาใชจายจํานวนมาก อีกทั้งทําใหเกิดความ ทุกขแกทุกฝาย สําหรับขั้นตอนพิจารณาจายเงินเยียวยาผูเสียหายตามรางกฎหมายนี้ มิไดมุงเรื่องการหาตัว ผูที่ตองรับผิดชอบ เหมือนกับการฟองรองคดีแพงทั่วไปที่ตองพิสูจนวา ผูกระทําผิดเปนใคร เปนการ กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอที่ทําใหเกิดความเสียหายแกผูปวยหรือไม แนวคิดของราง พระราชบัญญัตินี้ปรากฏอยูในกฎหมายไทยคือ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 41 และยังพบกฎหมายในหลายประเทศที่ใชหลักการเดียวกันนี้ เชน ประเทศสวีเดน นิวซีแลนด ฟนแลนด นอรเวย เดนมารก สหรัฐอเมริกา (บางมลรัฐ) 16 แนวคิดนี้พัฒนามาจากระบบประกันความรับ 16 ไพศาล ลิ้มสถิตย. “ความสําคัญของราง พ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” (วารสาร คลินิก ปที่ 26 ฉบับที่ 9, กันยายน 2553), หนา 688-691. 11
  • 12. ผิดในกรณีตาง ๆ ที่รูจักกันดี เชน การประกันอุบัติเหตุ การประกันวินาศภัย หรือการประกันความรับผิด ดานสุขภาพตาง ๆ จึงกลาวไดวาราง พ.ร.บ. คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... เปนแนวทาง เยียวยาความเสียหายของผูปวยอยางทันการณ สอดคลองกับหลักการของนานาชาติ ซึ่งนาจะมีสวนชวยลด ปญหาความขัดแยง การฟองรองระหวางบุคลากรทางการแพทยกับฝายผูปวยไดทางหนึ่ง เรื่องนี้เปนเรื่อง ใหมที่จะตองเผยแพรความรู ความเขาใจแกบุคลากรทางการแพทย ใหมีความเขาใจที่ถูกตองในเรืองนี้ แต ่ เปนที่นาเสียหายที่ยังมีผูที่ไมเขาใจสาระสําคัญของรางกฎหมายนี้ ประกอบกับมีการใหขอมูลที่บิดเบือน ไมถูกตองตามความเปนจริง จนเกิดกระแสคัดคานในวงกวาง ทั้งนี้ อาจเปนเพราะรางกฎหมายนี้บังคับ ใหผูใหบริการสาธารณสุขภาคเอกชนตองรวมจายเงินสมทบเขา “กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีใน ระบบบริการสาธารณสุข” ทําใหยังไมมการเสนอรางกฎหมายเขาสูการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร ี กลาวโดยสรุปคือ การหลีกเลี่ยงหรือแกไขปญหาการฟองรองสําหรับผูปฏิบัติการคือ แพทย พยาบาล และเจาหนาที่ที่เกี่ยวกับการแพทยฉุกเฉินนั้น มีหลายแนวทางดังที่กลาวมาแลว การใชมาตรทาง กฎหมายเปนเพียงแนวทางหนึ่งเทานั้น ฉะนั้น สิ่งที่ผูใหบริการและผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพพึง ตระหนักก็คือ บทบาทหนาที่ของตนเองในการดูแลรักษาผูปวยโดยคํานึงถึงความประสงคของผูปวย ประโยชนและคุณภาพชีวิตของผูปวย การทําความเขาใจเนื้อหาของกฎหมายและสิทธิผูปวยที่เกี่ยวของ การสรางสัมพันธภาพอันดีกับผูปวยและญาติผูปวยดวยความจริงใจ ความเขาใจความทุกขของผูปวย สิ่งเหลานี้นาจะเปนเกราะปองกันการฟองรองที่ดีที่สุด ------------------------------------------- 12