SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
หนา ๑
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เปนปที่ ๖๒ ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “มูลฝอย” ในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
““มูลฝอย” หมายความวา เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา เศษวัตถุ ถุงพลาสติก
ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว ซากสัตว หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว หรือ
ที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน”
หนา ๒
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐
มาตรา ๔ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “ราชการสวนทองถิ่น” ในมาตรา ๔
แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
““ราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหาร
สวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่กฎหมายกําหนด
ใหเปนราชการสวนทองถิ่น”
มาตรา ๕ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “เจาพนักงานทองถิ่น” ในมาตรา ๔
แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
““เจาพนักงานทองถิ่น” หมายความวา
(๑) นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด
(๒) นายกเทศมนตรีสําหรับในเขตเทศบาล
(๓) นายกองคการบริหารสวนตําบลสําหรับในเขตองคการบริหารสวนตําบล
(๔) ผูวาราชการกรุงเทพมหานครสําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
(๕) นายกเมืองพัทยาสําหรับในเขตเมืองพัทยา
(๖) หัวหนาผูบริหารทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่กฎหมายกําหนดใหเปน
ราชการสวนทองถิ่น สําหรับในเขตราชการสวนทองถิ่นนั้น”
มาตรา ๖ ใหยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
“กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะกําหนดใหใชบังคับเปนการทั่วไปทุกทองถิ่นหรือใหใชบังคับ
เฉพาะทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่งก็ได และในกรณีที่กฎกระทรวงดังกลาวจะสมควรกําหนดใหเรื่องที่เปน
รายละเอียดทางดานเทคนิควิชาการหรือเปนเรื่องที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามสภาพสังคม
ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการและประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา”
มาตรา ๗ ใหยกเลิกความในมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๙ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสาธารณสุข” ประกอบดวย
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค
อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดี
หนา ๓
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐
กรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ปลัดกรุงเทพมหานคร นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย นายกสมาคม
องคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศไทย นายกสมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย
และผูทรงคุณวุฒิอีกไมเกินสี่คน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรูความสามารถหรือประสบการณ
ในดานกฎหมายการสาธารณสุข การอนามัยสิ่งแวดลอม และการคุมครองผูบริโภค เปนกรรมการ
ใหอธิบดีกรมอนามัยเปนกรรมการและเลขานุการ”
มาตรา ๘ ใหยกเลิกชื่อหมวด ๓ การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย แหงพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
“หมวด ๓
การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย”
มาตรา ๙ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๘ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๑๘ การเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในเขตราชการสวนทองถิ่นใด
ใหเปนอํานาจของราชการสวนทองถิ่นนั้น
ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ราชการสวนทองถิ่นอาจรวมกับหนวยงานของรัฐ หรือราชการ
สวนทองถิ่นอื่นดําเนินการภายใตขอตกลงรวมกันก็ได แตในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนสาธารณะ
โดยสวนรวม รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงโดยคําแนะนําของคณะกรรมการกําหนดหลักเกณฑ
วิธีการ และเงื่อนไขในการดําเนินการรวมกันได
ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรราชการสวนทองถิ่นอาจมอบใหบุคคลใดดําเนินการตามวรรคหนึ่ง
แทนภายใตการควบคุมดูแลของราชการสวนทองถิ่น หรืออาจอนุญาตใหบุคคลใดเปนผูดําเนินกิจการ
รับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามมาตรา ๑๙ ก็ได
บทบัญญัติตามมาตรานี้ และมาตรา ๑๙ มิใหใชบังคับกับการจัดการของเสียอันตรายตามกฎหมาย
วาดวยโรงงาน แตใหผูดําเนินกิจการโรงงานที่มีของเสียอันตราย และผูดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน
หรือกําจัดของเสียอันตรายดังกลาว แจงการดําเนินกิจการเปนหนังสือตอเจาพนักงานทองถิ่น”
หนา ๔
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐
มาตรา ๑๐ ใหยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน
“(๔) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการใหบริการของราชการสวนทองถิ่น หรือบุคคลอื่น
ที่ราชการสวนทองถิ่นมอบใหดําเนินการแทน ในการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ไมเกินอัตรา
ที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ การจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย
ราชการสวนทองถิ่นนั้นจะตองดําเนินการใหถูกตองดวยสุขลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวง”
มาตรา ๑๑ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๖๘/๑ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๕
“มาตรา ๖๘/๑ ผูใดฝาฝนกฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา ๖ ในกรณีที่เกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ
หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน
หาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
มาตรา ๑๒ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๗๓/๑ และมาตรา ๗๓/๒ แหงพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
“มาตรา ๗๓/๑ ผูใดฝาฝนขอกําหนดของทองถิ่นซึ่งออกตามความในมาตรา ๒๐ (๑) (๒)
(๓) หรือ (๖) ในกรณีเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน ตองระวางโทษปรับ
ไมเกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๗๓/๒ ผูรับอนุญาตผูใดฝาฝนขอกําหนดของทองถิ่นซึ่งออกตามความในมาตรา ๒๐
(๕) ในกรณีเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชนตองระวางโทษจําคุก
ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ จุลานนท
นายกรัฐมนตรี
หนา ๕
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๓๕ กําหนดบทนิยามคําวา “มูลฝอย” ยังไมชัดเจน ซึ่งทําใหอํานาจของหนวยงานที่เกี่ยวของ
ในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยมีความซ้ําซอนกัน บทนิยามในเรื่อง “ราชการสวนทองถิ่น” และ
“เจาพนักงานทองถิ่น” ไมสอดคลองกับกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งผลจากการปฏิรูประบบราชการ
เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดเปลี่ยนแปลงหนวยงานกํากับดูแลราชการสวนทองถิ่น และยังมีหนวยงานอื่น
ที่ทําหนาที่สนับสนุนและเกี่ยวของกับการดําเนินการในเรื่องการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จึงตอง
ปรับองคประกอบในคณะกรรมการสาธารณสุข นอกจากนี้การดําเนินงานเรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
ไมไดใหอํานาจแกราชการสวนทองถิ่นในการกําหนดอัตราคาธรรมเนียมและกําหนดวิธีการในเรื่องดังกลาว
ประกอบกับมิไดมีบทกําหนดโทษในเรื่องมูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชนไว
รวมถึงสมควรกําหนดใหอํานาจรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสาธารณสุขออกประกาศเรื่องที่เปน
รายละเอียดทางเทคนิควิชาการหรือเรื่องที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วตามสภาพสังคม เพื่อปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัตินี้ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

More Related Content

What's hot

ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
ธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai elementธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai elementVorawut Wongumpornpinit
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยSahatchai
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือก
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือกท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือก
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือกUtai Sukviwatsirikul
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรYosiri
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมPadvee Academy
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1Prachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
ธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai elementธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai element
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือก
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือกท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือก
ท้องไม่พร้อม ต้องมีทางเลือก
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากร
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
 

Viewers also liked

พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518อลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535อลงกรณ์ อารามกูล
 
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนคำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนอลงกรณ์ อารามกูล
 
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพอลงกรณ์ อารามกูล
 
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิต
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิตพลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิต
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิตอลงกรณ์ อารามกูล
 
ความมั่นคงของมนุษย์ : การค้ามนุษย์ในไทย
ความมั่นคงของมนุษย์  : การค้ามนุษย์ในไทยความมั่นคงของมนุษย์  : การค้ามนุษย์ในไทย
ความมั่นคงของมนุษย์ : การค้ามนุษย์ในไทยอลงกรณ์ อารามกูล
 
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่อลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522อลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2อลงกรณ์ อารามกูล
 
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียว
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียวรวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียว
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียวอลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535อลงกรณ์ อารามกูล
 

Viewers also liked (20)

พระราชบัญญัติ หอพัก พ.ศ. 2507
พระราชบัญญัติ หอพัก พ.ศ. 2507พระราชบัญญัติ หอพัก พ.ศ. 2507
พระราชบัญญัติ หอพัก พ.ศ. 2507
 
พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518
พระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. 2518
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
 
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
 
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนคำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
คำวินิจฉัย กกต สท ยื่นบัญชีค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
 
ย่อข่าวดี
ย่อข่าวดีย่อข่าวดี
ย่อข่าวดี
 
Show me how 500 things you should know instructions for life from the every...
Show me how 500 things you should know   instructions for life from the every...Show me how 500 things you should know   instructions for life from the every...
Show me how 500 things you should know instructions for life from the every...
 
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
100 เรื่องเด่น ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
 
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิต
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิตพลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิต
พลังลมปราณ สร้างสรรค์พลังชีวิต
 
ความมั่นคงของมนุษย์ : การค้ามนุษย์ในไทย
ความมั่นคงของมนุษย์  : การค้ามนุษย์ในไทยความมั่นคงของมนุษย์  : การค้ามนุษย์ในไทย
ความมั่นคงของมนุษย์ : การค้ามนุษย์ในไทย
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
The Bike Book คู่มือซ่อมจักรยาน
The Bike Book คู่มือซ่อมจักรยานThe Bike Book คู่มือซ่อมจักรยาน
The Bike Book คู่มือซ่อมจักรยาน
 
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
เอกสารประกอบการสัมนา ผู้บริหารท้องถิ่น+ผู้ปกครองท้องที่
 
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
 
คู่มือ ชรบ.
คู่มือ ชรบ.คู่มือ ชรบ.
คู่มือ ชรบ.
 
Training guide 263 exercisesdemonstrated in detail 2013
Training guide 263 exercisesdemonstrated in detail 2013Training guide 263 exercisesdemonstrated in detail 2013
Training guide 263 exercisesdemonstrated in detail 2013
 
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
 
Six thinking hats th
Six thinking hats thSix thinking hats th
Six thinking hats th
 
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียว
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียวรวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียว
รวยด้วยการเขียนบทความออนไลน์ง่ายนิดเดียว
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
 

Similar to พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550

สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556อินทนนท์ อินทนพ
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
พรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลพรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลpatty_sb
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560Vorawut Wongumpornpinit
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Parun Rutjanathamrong
 
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559Thira Woratanarat
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...Vorawut Wongumpornpinit
 
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙Boonlert Aroonpiboon
 

Similar to พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 (20)

2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 25352.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
พรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาลพรบรักษาพยาบาล
พรบรักษาพยาบาล
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. พ.ศ. ๒๕๕๑
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
 
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
พระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
 
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พรบ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
 

More from อลงกรณ์ อารามกูล

LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังอลงกรณ์ อารามกูล
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาอลงกรณ์ อารามกูล
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการอลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3อลงกรณ์ อารามกูล
 

More from อลงกรณ์ อารามกูล (20)

คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59
 
ประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลาประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลา
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60
 
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะLPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
 
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการLPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ดอาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
 
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับอาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
 
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชนคู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
 
กับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ดกับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ด
 
คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์
 
Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559
 
ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47
 
Basic for-golf
Basic for-golfBasic for-golf
Basic for-golf
 
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
 

พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550

  • 1. หนา ๑ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เปนปที่ ๖๒ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “มูลฝอย” ในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน ““มูลฝอย” หมายความวา เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว ซากสัตว หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว หรือ ที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน”
  • 2. หนา ๒ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ มาตรา ๔ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “ราชการสวนทองถิ่น” ในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน ““ราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหาร สวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่กฎหมายกําหนด ใหเปนราชการสวนทองถิ่น” มาตรา ๕ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “เจาพนักงานทองถิ่น” ในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน ““เจาพนักงานทองถิ่น” หมายความวา (๑) นายกองคการบริหารสวนจังหวัดสําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด (๒) นายกเทศมนตรีสําหรับในเขตเทศบาล (๓) นายกองคการบริหารสวนตําบลสําหรับในเขตองคการบริหารสวนตําบล (๔) ผูวาราชการกรุงเทพมหานครสําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (๕) นายกเมืองพัทยาสําหรับในเขตเมืองพัทยา (๖) หัวหนาผูบริหารทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่กฎหมายกําหนดใหเปน ราชการสวนทองถิ่น สําหรับในเขตราชการสวนทองถิ่นนั้น” มาตรา ๖ ใหยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน “กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะกําหนดใหใชบังคับเปนการทั่วไปทุกทองถิ่นหรือใหใชบังคับ เฉพาะทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่งก็ได และในกรณีที่กฎกระทรวงดังกลาวจะสมควรกําหนดใหเรื่องที่เปน รายละเอียดทางดานเทคนิควิชาการหรือเปนเรื่องที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามสภาพสังคม ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา” มาตรา ๗ ใหยกเลิกความในมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๙ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสาธารณสุข” ประกอบดวย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดี
  • 3. หนา ๓ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ กรมวิทยาศาสตรการแพทย อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ปลัดกรุงเทพมหานคร นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย นายกสมาคม องคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศไทย นายกสมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย และผูทรงคุณวุฒิอีกไมเกินสี่คน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรูความสามารถหรือประสบการณ ในดานกฎหมายการสาธารณสุข การอนามัยสิ่งแวดลอม และการคุมครองผูบริโภค เปนกรรมการ ใหอธิบดีกรมอนามัยเปนกรรมการและเลขานุการ” มาตรา ๘ ใหยกเลิกชื่อหมวด ๓ การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย แหงพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน “หมวด ๓ การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย” มาตรา ๙ ใหยกเลิกความในมาตรา ๑๘ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๑๘ การเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในเขตราชการสวนทองถิ่นใด ใหเปนอํานาจของราชการสวนทองถิ่นนั้น ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ราชการสวนทองถิ่นอาจรวมกับหนวยงานของรัฐ หรือราชการ สวนทองถิ่นอื่นดําเนินการภายใตขอตกลงรวมกันก็ได แตในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนสาธารณะ โดยสวนรวม รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงโดยคําแนะนําของคณะกรรมการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการดําเนินการรวมกันได ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรราชการสวนทองถิ่นอาจมอบใหบุคคลใดดําเนินการตามวรรคหนึ่ง แทนภายใตการควบคุมดูแลของราชการสวนทองถิ่น หรืออาจอนุญาตใหบุคคลใดเปนผูดําเนินกิจการ รับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามมาตรา ๑๙ ก็ได บทบัญญัติตามมาตรานี้ และมาตรา ๑๙ มิใหใชบังคับกับการจัดการของเสียอันตรายตามกฎหมาย วาดวยโรงงาน แตใหผูดําเนินกิจการโรงงานที่มีของเสียอันตราย และผูดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดของเสียอันตรายดังกลาว แจงการดําเนินกิจการเปนหนังสือตอเจาพนักงานทองถิ่น”
  • 4. หนา ๔ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐ ใหยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และใหใชความตอไปนี้แทน “(๔) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการใหบริการของราชการสวนทองถิ่น หรือบุคคลอื่น ที่ราชการสวนทองถิ่นมอบใหดําเนินการแทน ในการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ไมเกินอัตรา ที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ การจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ราชการสวนทองถิ่นนั้นจะตองดําเนินการใหถูกตองดวยสุขลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๑๑ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๖๘/๑ แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ “มาตรา ๖๘/๑ ผูใดฝาฝนกฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา ๖ ในกรณีที่เกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” มาตรา ๑๒ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๗๓/๑ และมาตรา ๗๓/๒ แหงพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ “มาตรา ๗๓/๑ ผูใดฝาฝนขอกําหนดของทองถิ่นซึ่งออกตามความในมาตรา ๒๐ (๑) (๒) (๓) หรือ (๖) ในกรณีเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน ตองระวางโทษปรับ ไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๗๓/๒ ผูรับอนุญาตผูใดฝาฝนขอกําหนดของทองถิ่นซึ่งออกตามความในมาตรา ๒๐ (๕) ในกรณีเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อ หรือมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชนตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ” ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี
  • 5. หนา ๕ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ กําหนดบทนิยามคําวา “มูลฝอย” ยังไมชัดเจน ซึ่งทําใหอํานาจของหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยมีความซ้ําซอนกัน บทนิยามในเรื่อง “ราชการสวนทองถิ่น” และ “เจาพนักงานทองถิ่น” ไมสอดคลองกับกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งผลจากการปฏิรูประบบราชการ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดเปลี่ยนแปลงหนวยงานกํากับดูแลราชการสวนทองถิ่น และยังมีหนวยงานอื่น ที่ทําหนาที่สนับสนุนและเกี่ยวของกับการดําเนินการในเรื่องการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จึงตอง ปรับองคประกอบในคณะกรรมการสาธารณสุข นอกจากนี้การดําเนินงานเรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ไมไดใหอํานาจแกราชการสวนทองถิ่นในการกําหนดอัตราคาธรรมเนียมและกําหนดวิธีการในเรื่องดังกลาว ประกอบกับมิไดมีบทกําหนดโทษในเรื่องมูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชนไว รวมถึงสมควรกําหนดใหอํานาจรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสาธารณสุขออกประกาศเรื่องที่เปน รายละเอียดทางเทคนิควิชาการหรือเรื่องที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วตามสภาพสังคม เพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้