SlideShare a Scribd company logo
1 of 161
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],เนื้อหาการ บรรยายวันนี้ กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร รพ . สต . 1.  หลักกฎหมายเอกชน 2.  หลักกฎหมายมหาชน 3.  วินัยข้าราชการ 5.  ปัญหาเกี่ยวกับงานการเงิน 6.  ปัญหาเกี่ยวกับงานพัสดุ 4.  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
องค์ประกอบในการประกอบวิชาชีพข้าราชการ มีความรู้กฎหมาย มีความรู้ ในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม
การจัดซื้ออุปกรณ์การก่อสร้างส้วม ชื่อ / ตำแหน่ง 1.  นายรัตน์ สาธารณสุขอำเภอ ......... 2.  นายเจริญ นวก . สาธารณสุข  7....... 3.  นายสุวรรณ พ . วิชาชีพ  7............. 4.  นายน้อย จ . บริหารสาธารณสุข  6...  ลำดับ 1 -3  กรรมการตรวจรับ  ลำดับที่  4.  จัดหาเอกสาร .. สนับสนุน  วินัย  ไล่ออก  ไล่ออก  ปลดออก ปลดออก  อาญา   3.6  ปี 3.6  ปี 3.6  ปี 2.4  ปี
   มาตรา  64  บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมาย เพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้    ข้าราชการ ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง จะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายหรือระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ อันตนจะต้องปฏิบัติและอยู่ในหน้าที่ของตนไม่ได้ ประมวลกฎหมายอาญา มติคณะรัฐมนตรี ที่ นว  89/2497  ลว . 1  เมษายน  2497
ได้ใจผู้บังคับบัญชา หลักธรรมาภิบาล กรอบการปฏิบัติราชการ ผลสำเร็จของงาน ได้ใจผู้ใต้บังคับบัญชา ถูกกฎหมาย , ระเบียบ การคิด นอกกรอบ  ? การบริหาร , ภาวะผู้นำ ...... พึงพอใจ ประชาชน / เจ้าหน้าที่ / รัฐ
   กฎหมาย คืออะไร  ?    คำสั่งของรัฐ หรือ     กฎ กติกา ข้อบังคับของสังคม และ     มีสภาพบังคับ .( บทลงโทษ )    ใช้บังคับกับบุคคลทั่วไป “  ผู้ที่ฝ่าฝืน จะถูกลงโทษ ”     กฎหมาย ... กฎหมายหลัก ,  กฎหมายรอง
การใช้หรือการตีความกฎหมาย      มาตรา  4  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “   กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้อง ด้วยบทบัญญัติใดๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษร   หรือ ความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้นๆ ..... ”
   หลักการของกฎหมาย  ? คือเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนั้น ๆ  ว่า กฎหมายมีวัตถุประสงค์อะไร ต้องการคุ้มครองใคร หรือ คุ้มครองสิ่งใด เมื่อรู้วัตถุประสงค์แล้ว  จะได้ ใช้กฎหมาย   หรือ ตีความกฎหมาย ให้ถูกต้อง เช่น  ห้ามเดินผ่านสนามหญ้า , ห้ามเด็ดดอกไม้ การค้ำประกันผู้อื่น
   ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ... 1.  ประกอบอาชีพเป็น แพทย์ เภสัชกร คนจำหน่ายยา    นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ    ทนายความ หรือ ผู้สอบบัญชี 2.  หรือเป็นผู้ช่วยบุคคลผู้ประกอบอาชีพ ตามข้อ 1. 3.  ได้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่น 4.  เปิดเผยความลับนั้น โดยน่าจะเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด . ความผิดอาญาฐานเปิดเผยความลับ ม . 323 โทษจำคุก  6  เดือน ปรับไม่เกิน  1,000  บ .  หรือทั้งจำทั้งปรับ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],พ . ร . บ .  ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ . ศ . 2540  เปิดเผยคือ ....1. แจ้งข้อมูลให้ทราบ 2.  มอบเอกสารให้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],พ . ร . บ .  สุขภาพแห่งชาติ พ . ศ . 2550  ศาล ,  พนักงานสอบสวน  ...  ขอตาม ป .  วิอาญา แต่ไม่ว่าในกรณีใดๆ  ผู้ใด จะอาศัยอำนาจ หรือ  สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ หรือกฎหมายอื่น เพื่อ ขอเอกสาร เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพ ของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้ ( จำคุกไม่เกิน  6  เดือน หรือปรับ ไม่เกิน  10,000  บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา  49.. ยอมความได้  )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],พ . ร . บ .  สุขภาพแห่งชาติ พ . ศ . 2550 ย่อมให้  ?....................
หลักกฎหมายที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.  หลักกฎหมาย เอกชน  มีลักษณะดังนี้  “ ทำได้ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติห้ามไว้ ”
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2.  หลักกฎหมาย มหาชน มีลักษณะดังนี้   “  ทำไม่ได้ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติให้ทำได้ ” ใบรับรองแพทย์ ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร
   การลาป่วย 1.  ตั้งแต่  30  วันขึ้นไป  ต้องมี ใบรับรองแพทย์  2.  ไม่ถึง  30  วัน  จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์  หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์    การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร  ให้ลาต่อเนื่องจากการลาคลอด  ไม่นับวันหยุด  ให้ลาได้  150  วัน  โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา ผู้บังคับบัญชาสั่งว่า .....     อนุญาต  15  วัน ?    ไม่อนุญาต ?    อนุญาต ? ก็ได้
หลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทำทางปกครอง การปฏิบัติ ราชการ    กรณีจะปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์สาธารณะ  แต่ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้ ....?    ทำได้ ... ถ้าไม่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น    การปฏิบัติราชการเป็นการกระทำ ทางปกครอง 1.  ต้องมีกฎหมายให้อำนาจไว้ และ 2.  การกระทำนั้นต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย
วินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดย นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],วินัยข้าราชการพลเรือน พ . ศ . 2551
ความหมาย  “ วินัย ” งานราชการ เรื่องส่วนตัว พฤติกรรม
ฝ่ายการเมือง / รัฐบาล ข้าราชการ ความประพฤติส่วนตัว นโยบาย เป็นแบบอย่างที่ดี เหตุที่นำความประพฤติส่วนตัวมาอยู่ในกรอบของวินัย
ความสำคัญของวินัย 3.  เจ้าหน้าที่ 4.  ผู้บังคับบัญชา 2.  ราชการ 1.  รัฐบาล
ควรจำกัดอยู่ในกรอบ  ของ จุดมุ่งหมาย เท่านั้น จุดมุ่งหมายคือ ...      เพื่อประชาชน    เพื่อราชการ   การกระทำที่ไม่กระทบต่อ กรอบของจุดมุ่ง หมาย  ก็ไม่ควรอยู่ในข่ายของวินัยข้าราชการ    ............................. ขอบเขตของวินัยข้าราชการ    ขอบเขตของวินัย ?
o มาตรา  82(7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน A    การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบ ..... ไม่ผิดวินัย    การกระทำที่กระทบต่อกรอบ .......  ผิดวินัย ตัวอย่าง ... A กรอบของจุดมุ่งหมาย แม้การกระทำนั้นจะเป็น เรื่องเดียวกัน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่าง   :   กรอบของจุดมุ่งหมายเรื่องการแต่งกาย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การกระทำต่อไปนี้กระทบต่อกรอบของจุดมุ่งหมาย ?
โทษทางวินัย  :  กับข้าราชการบางตำแหน่ง ,[object Object],   ข้าราชการทั่วไป เช่น บุคลากร ทางการแพทย์ , ธุรการ , การเงิน , บริหารงานทั่วไป    ข้าราชการที่ตำแหน่งต้อง มีคุณธรรม จริยธรรมสูง และต้องเป็นแบบอย่างที่ดี   เช่น   ครู ,  อาจารย์ ผู้พิพากษา ,  อัยการ ตำรวจ ,  นักกฎหมาย การพนัน , อนาจาร , ชู้สาว
โทษทางวินัยมี  5  สถาน ,[object Object],   ไม่ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน    ร้ายแรง 1.  ปลดออก 2.  ไล่ออก การกระทำ ... กระทบต่อกรอบรุนแรงแค่ไหน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง  ( ม .96) ,[object Object],[object Object],[object Object]
การลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง  ( ม . 97) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โครงสร้างวินัยข้าราชการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หมวดที่  6  วินัยและการรักษาวินัย  ( พ . ศ . 2551) ลักษณะการบัญญัติกฎหมาย   ให้กระทำการอัน   เป็นข้อปฏิบัติ   ( ม . 82)   ต้องไม่กระทำการ   อันเป็นข้อห้าม   ( ม . 83)   กระทำการ    ที่เป็นวินัย   ร้ายแรง   ( ม . 85)   ถ้าเกิดผลเสียหายต่อทางราชการอย่างร้ายแรง ก็เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ม . 85(7)
ข้อกำหนดวินัยข้าราชการพลเรือน ,[object Object],[object Object],มาตรา  80
1.  วินัยต่อประเทศชาติ  ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน มาตรา  81   ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย  อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ด้วย ความบริสุทธิ์ใจ
[object Object],1.  ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ   ซื่อสัตย์  สุจริต และ เที่ยงธรรม  มาตรา  82(1)  ซื่อสัตย์ ..  ตรงไปตรงมา , ไม่คดโกง , ไม่หลอกลวง  สุจริต .. ที่ดีที่ชอบตามคลองธรรม  เที่ยงธรรม .. ไม่ลำเอียง 2.  วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่
[object Object],2.   ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่น อาศัยตำแหน่ง  หน้าที่ราชการของตน   หาประโยชน์  ให้แก่ตนเอง หรือ ผู้อื่น  มาตรา  83(3)    อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน  ประโยชน์ .. เป็นประโยชน์ที่ควรได้ 3.  ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการ  ให้เกิดผลดีหรือความ ก้าวหน้า แก่ราชการ ด้วยความ  ตั้งใจ  อุตสาหะ  เอาใจใส่  และรักษาประโยชน์ของทางราชการ  มาตรา  82(3)
[object Object],4.  ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ   เพื่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง แก่ผู้หนึ่งผู้ใด   หรือ  ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ โดยทุจริต   มาตรา  85(1)( ผิดร้ายแรง )      เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด    ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
[object Object],5.  ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็น ไปตาม กฎหมาย   กฎ  ระเบียบของทางราชการ  มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล   และ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน ของทางราชการ   มาตรา  82(2)
[object Object],   กฎหมาย ,  กฎ กฎหมาย หรือ กฎ ใดก็ได้     ระเบียบของทางราชการ ต้องเป็นระเบียบเฉพาะ เช่น ระเบียบการเงิน , ระเบียบพัสดุ ,  ระเบียบการใช้รถยนต์ราชการ      ระเบียบแบบแผนของทางราชการ เป็นระเบียบแบบแผนทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องปฏิบัติ
[object Object],   ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ตาม ม . 82(2) “   แบบแผน ”   คือขนบธรรมเนียมที่กำหนดไว้ หรือเคย ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา 1.  เป็นระเบียบแบบแผนของทางราชการทั่วไป 2.  กำหนดหน้าที่ทั่วไปที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม  3.  ไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร    ระเบียบลงชื่อมาปฏิบัติราชการ    ระเบียบการแต่งกาย     ระเบียบการลาหยุดราชการ    แบบแผนในการเสนองานต่อผู้บังคับบัญชา
1.   การลาป่วย 1.1  ตั้งแต่  30  วันขึ้นไป  ต้องมี ใบรับรองแพทย์  1.2  ไม่ถึง  30  วัน  จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์  หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์ ก็ได้ ปัญหา ... ระหว่างป่วย ผู้ลาไม่ได้ไปพบแพทย์ ..?   2.   การลาคลอดบุตร 2.1  เป็นการลาหยุด ช่วงก่อนคลอดและหลังคลอด 2.2  ลาได้  90  วัน นับวันหยุดด้วย  ปัญหา ... นางสาวลาคลอดบุตร  ? คลอดได้  15  วัน บุตรตาย จะหยุด  90  วัน  ?
3.  การลากิจส่วนตัว 3. 1  การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ  กรณีเหตุธรรมดา   ต้องคำสั่งอนุญาตก่อน  กรณีเหตุจำเป็น  คือไม่อาจรอรับคำสั่งอนุญาตได้       กรณีเหตุพิเศษ  คือไม่อาจส่งใบลาก่อนได้  ใน  1  ปี ระหว่างลากิจ จะได้เงินเดือน  45  วัน  ปัญหา ... ข้าราชการบรรจุใหม่ ลาได้ ..? 3.2  การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร  ให้ลาต่อเนื่องจากการลาคลอด  ไม่นับวันหยุด  ให้ลาได้  150  วัน  โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
4.  การลาพักผ่อน    ใน  1  ปี มีสิทธิลาได้  10  วัน กรณีบรรจุยัง ไม่ครบ  6  เดือน ไม่มีสิทธิลา    ถ้าปีนั้น ไม่ได้ลาหรือลาไม่ครบ ให้นำวันลา มาสะสม   ในปีต่อไปได้ แต่เมื่อรวมกับในปีปัจจุบันแล้ว ต้องไม่   เกิน  20  วัน ถ้ารับราชการมาไม่น้อยกว่า  10  ปีติดต่อกัน   ให้ สะสมได้ไม่เกิน  30  วัน ปัญหา ..1.  ข้าราชการบรรจุวันที่  1  เมษายน ของปี ลาได้ ..?  2.  ข้าราชการได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาต่อ  2  ปี ..?
คำว่า  “ ประมาท ”  หรือ  “ ประมาทเลินเล่อ ”      ขาดความระมัดระวัง  ขาดความรอบคอบใน เรื่องที่ใช้ความระมัดระวังได้  แต่ไม่ใช้ หรือ ใช้ไม่เพียงพอ   และเกิดความเสียหาย   ( ภาษาทั่วไป )    ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา  แต่กระทำโดย  ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลใน ภาวะเช่นนั้น จักต้องมี  ตามวิสัย และ พฤติการณ์   และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง  เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่  จึงเกิดความเสียหาย 6.  ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ มาตรา  83(4)
     ตัวอย่าง  กรณีประมาทเลินเล่อ 1.  การรักษาพยาบาล เช่น    ให้เลือดผิด ,  จ่ายยาผิด 2.  รถยนต์ของทางราชการ    รถชนกัน ,  รถตกถนน ,  รถหาย    รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุ ให้แจ้งความร้องทุกข์ทุกครั้ง ( กระทรวงการคลังที่ กค . 0508/ ว  27274   ,  19  กรกฎาคม  2525) 3.  ไฟไหม้สถานที่ราชการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],7.  ต้องรักษาความลับของทางราชการ มาตรา  82(6)
[object Object],8.  ต้องไม่กระทำการ หรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการ หาผลประโยชน์อันอาจ ทำให้เสียความเที่ยงธรรม  หรือ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ ของ ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน มาตรา  83(5)      เที่ยงธรรม คือ เป็นธรรม    “ เกียรติศักดิ์   ”   ฐานะที่ได้รับการสรรเสริญ    ดูที่ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน
[object Object],9.  ต้องวางตน เป็นกลางทางการเมือง  ในการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ  และในการ ปฏิบัติการอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง กับประชาชน กับ จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ  ว่าด้วย มารยาททางการเมือง ของข้าราชการด้วย มาตรา  82(9)
[object Object],   การวางตนเป็นกลาง   มาตรา  82(9) 1.  วางตนเป็นกลางทางการเมือง ในการ 1.1  ปฏิบัติหน้าที่ราชการ  และ 1. 2  ในการปฏิบัติการอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง กับประชาชน 2.   จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการว่าด้วย  มารยาททางการเมือง ของข้าราชการพลเรือน พ . ศ . 2499 เช่น ....  2.1  ไม่ดำรงตำแหน่งในพรรคการเมือง 2.2  ไม่ใช้สถานที่ราชการในกิจการทางการเมือง 2.3  ไม่แต่งเครื่องแบบราชการไปร่วมประชุมพรรคการเมือง
[object Object],10.  กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ   10.1  ต้องอุทิศเวลาของตน ให้แก่ราชการ จะละทิ้ง หรือ   ทอดทิ้ง หน้าที่ราชการมิได้ มาตรา  82(5)   10.2  ละทิ้ง หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการ  โดยไม่มี เหตุผลอันสมควร  เป็นเหตุให้ เสียหายแก่ราชการอย่าง ร้ายแรง   มาตรา  85(2)  ( ผิดร้ายแรง )   10.3  ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลา เกิน 15  วัน  โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร  หรือโดย มีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ   มาตรา  85(3)  ( ผิดร้ายแรง )
[object Object],3.  วินัยต่อผู้บังคับบัญชา
[object Object],1.  ต้องปฏิบัติตาม คำสั่งของผู้บังคับบัญชา  ซึ่งสั่ง ในหน้าที่ราชการ โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของ ทางราชการ  โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง  แต่ถ้าเห็นว่า การปฏิบัติตามคำสั่งนั้น  จะทำให้เสียหายแก่ราชการ  หรือ จะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการ  จะ ต้องเสนอความเห็น เป็นหนังสือทันที   เพื่อให้ผู้บังคับ บัญชาทบทวนคำสั่งนั้น  และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว  ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยัน ให้ปฏิบัติตามคำสั่งเดิม  ผู้อยู่ ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตาม  มาตรา  82(4)
ผู้บังคับบัญชา 1.   ผู้บังคับบัญชา มี  2  ประเภท 1.1  ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 1.2   ผู้บังคับบัญชาตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2.  อำนาจของผู้บังคับบัญชา (1)  มีกฎหมายกำหนดไว้ (2)  ได้รับมอบอำนาจสั่งบรรจุ 2.1  อำนาจทั่วไป 2.2  อำนาจเฉพาะตัว
 อำนาจของผู้บังคับบัญชา  มี  2  ประเภท 1.  อำนาจกำกับดูแล  2.  อำนาจบังคับบัญชา (1)  อำนาจผูกพัน  (2)  อำนาจดุลพินิจ
( 1)  อำนาจนี้เกิดจาก กฎหมายกำหนด .   (2)  องค์กรผู้บังคับบัญชา กับองค์กรผู้ใต้บังคับ   บัญชาเป็นคนละองค์กรกัน  เช่น ผู้ว่าราชการ     จังหวัด กับ องค์กรท้องถิ่น ,  กระทรวง    สาธารณสุข กับ องค์การเภสัชกรรม , สปสช .   (3)  ผบ .  ควบคุม ได้เฉพาะความชอบด้วยกฎหมาย    เท่านั้น เช่น ให้ความเห็นชอบ , การอนุมัติ , ยกเว้น    การยับยั้งการกระทำ ,  การเพิกถอนการกระทำ ,    หรือ การเข้ากระทำการแทน . (4)  ผบ .  ไม่อาจก้าวก่ายดุลพินิจของผู้ใต้บังคับ    บัญชาได้ .   อำนาจ กำกับ ดูแล
อำนาจ กำกับ ดูแล อำนาจที่ กฎหมาย กำหนด มาตรา  24  ให้มี สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้ กำกับดูแลของรัฐมนตรี   ( ว่าการกระทรวง สาธารณสุข )..... ปี 2545 มาตรา  16  ให้รัฐมนตรี  ( ว่าการกระทรวง สาธารณสุข )   มีอำนาจหน้าที่กำกับ โดยทั่วไปซึ่งกิจการ ของ องค์การเภสัชกรรม ....... ปี  2509 มาตรา  77  ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจกำกับ ดูแล การปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ............. ปี  2540 เป็น
( 1)  เกิดจากการจัดระเบียบภายใน ของส่วนราชการ . (2)  องค์กรผู้บังคับบัญชา กับองค์กรผู้ใต้บังคับ    บัญชาเป็นองค์กรเดียวกัน เช่น เป็นส่วนราชการ    เดียวกัน ,  องค์กรของรัฐเดียวกัน .    (3)  อำนาจของ ผบ .  ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายให้อำนาจ    ไว้โดยชัดแจ้ง ผบ .  ก็มีอำนาจดังนี้    ก่อนการกระทำ มีอำนาจแนะนำ และสั่งการ .    หลังการกระทำ แม้สั่งการไปแล้ว ภายหลัง      ยังสั่งเปลี่ยนแปลงได้ .    อำนาจ บังคับ บัญชา
[object Object],  (1)  อำนาจผูกพัน   คืออำนาจที่กฎหมายกำหนดไว้  เป็นการล่วงหน้าว่า เมื่อมีข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ง  เกิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งการตามที่กฎหมายกำหนด   ไม่อาจเลือกสั่งการเป็นอย่างอื่นได้ . (2)  อำนาจดุลพินิจ   คืออำนาจที่ผู้บังคับบัญชา มีอิสระ  ในการที่จะเลือกตัดสินใจ เมื่อมีข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ง  เกิดขึ้น ว่าตนจะใช้อำนาจหรือ ไม่ ถ้าจะใช้อำนาจก็ยังมีดุลพินิจ  อีกว่าจะเลือกสั่งอย่างไรและเลือก สั่งอย่างไรก็ถูกต้องทั้งหมด . อำนาจบังคับบัญชา แบ่งได้  2  กรณี
       ลาได้  90  วัน    ลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้ลาต่อเนื่องจากการคลอดไม่เกิน  150  วัน   โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา    ผู้บังคับบัญชาสั่งว่า .... 1.  ไม่อนุญาต ? 2.  อนุญาต  30  วัน ?  3.  อนุญาต ?      ............................       การลาคลอดบุตร อำนาจดุลพินิจ อำนาจผูกพัน
[object Object],   การเบิกค่าเล่าเรียนบุตร ,  การเบิกค่ารักษาพยาบาล     การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง    การเบิกค่าเช่าบ้าน ,  การเลื่อนขั้นเงินเดือน    การย้าย ,  การโอน  , การเลื่อนระดับ    การลากิจด้วยเหตุธรรมดา  เหตุจำเป็น เหตุพิเศษ    การลาป่วย ,  การลาพักผ่อน ................................... อำนาจต่อไปนี้ เป็นอำนาจใด
[object Object],   สิทธิเบิกค่าที่พักไปราชการ  ในราชอาณาจักร    กรณีใช้สิทธิเบิกแบบเหมาจ่าย ให้เบิกอัตราดังนี้ -   ระดับ  8  ลงมา  ไม่เกิน   800  บาท / วัน / คน -   ระดับ  9  ขึ้นไป  ไม่เกิน   1,200  บาท / วัน / คน    กำหนดเท่าไร ... จึงจะเรียกว่าเป็นการใช้ดุลพินิจที่ไม่ชอบ  ? ................................ .. การใช้ดุลพินิจที่ชอบด้วยกฎหมาย
การใช้ดุลพินิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย  (  Abuse of power  ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1.  ข้าราชการขอลาออกจากราชการ   สั่ง ว่า  ไม่อนุญาต  เนื่องจาก ...    ให้หาคนมาแทนก่อน    ถูกสอบสวนทางวินัย    ต้องหาคดีอาญา  2.  ขอลาป่วย เป็นเวลา  5  วัน โดยไม่แนบใบรับรองแพทย์  ทั้งๆที่ผู้ขอลาป่วย ป่วยจริง  สั่งว่า  ไม่อนุญาต  เนื่องจาก ...      ไม่มีใบรับรองแพทย์   3.  ออกระเบียบ  ( คำสั่ง )  ของโรงพยาบาลว่า ให้พยาบาลเวร  ตามแพทย์เวรดึกได้ เฉพาะกรณีคนไข้อาการหนักเท่านั้น    การวินิจฉัยอาการผู้ป่วย   ..........       ---------------------   ตัวอย่าง การใช้ดุลพินิจของ ผบ .  โดยมิชอบ
   สิทธิเบิกค่าเช่าที่พักในราชอาณาจักร 1.  ให้เบิกในลักษณะเหมาจ่าย  หรือ    เหมาจ่ายไม่เกินที่กำหนด และไม่ต้องใช้ใบเสร็จ -  ระดับ  8  ลงมา ไม่เกิน  800  บาท -  ระดับ  9  ขึ้นไป ไม่เกิน  1,200  บาท 2.  ให้เบิกในลักษณะจ่ายจริง -  ระดับ  8  ลงมา -  ระดับ  9  -  ระดับ  10  ขึ้นไป 4.2  ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่าย   ในการเดินทางไปราชการ พ . ศ . 2550   ห้องพักคู่ ห้องพักเดี่ยว 1,500 850 1,200 1,400 2,200 2,500
   สิทธิเบิกค่าที่พัก  ให้เบิกเหมาจ่าย    เหมาจ่ายไม่เกินที่กำหนด และไม่ต้องใช้ใบเสร็จ    สิทธิเบิกค่ายานพาหนะรับจ้าง  ให้เบิกตามจริง      ในกรุงเทพฯ ..... ตามจริง    1.  กรุงเทพฯ ไปจังหวัดที่มีเขตติดต่อกับกรุงเทพฯ 2.  ข้ามเขตจังหวัดที่ผ่านกรุงเทพฯ ตาม  1,2  ให้เบิก ตามจริง   ไม่เกินเที่ยวละ  600  บาท 3.  ข้ามเขตจังหวัดอื่นๆ ให้เบิก ตามจริง   ไม่เกินเที่ยวละ  500  บาท
   สิทธิเบิกเงินชดเชยการใช้ ยานพาหนะส่วนตัว    ระยะทางตามจริง -  รถยนต์ส่วนบุคคล  กิโลเมตรละ  4  บาท -  รถจักรยานยนต์ฯ  กิโลเมตรละ  2  บาท    สิทธิเบิกค่ายานพาหนะ เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด    การเดินทางไปราชการ โดยปกติให้ใช้ยาพาหนะ ประจำทางและเบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด การอนุมัติให้เดินทางไปราชการเป็นอำนาจ  “ ดุลพินิจ ”
[object Object],2.  ต้องไม่ รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา  การ รายงานโดย ปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง  ถือว่า เป็นรายงานเท็จด้วย มาตรา  83(1)    รายงาน  คือบอก ชี้แจงข้อเท็จจริง ที่ได้รู้เห็น หรือที่ทราบมา    รายงานเท็จ คือ ...    รายงานไม่เป็นความจริง    รายงาน โดยปกปิดข้อความ  ซึ่งควรต้องบอก
[object Object],3.  ต้องไม่ปฏิบัติราชการ อันเป็นการกระทำการ  ข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน   เว้นแต่ผู้บังคับบัญชา เหนือตนขึ้นไป  เป็นผู้สั่งให้กระทำหรือได้รับอนุญาต เป็นพิเศษครั้งคราว มาตรา  83(2)    เฉพาะเรื่องการปฏิบัติราชการเท่านั้น  การอุทธรณ์ ,  การร้องทุกข์ , การร้องเรียน , การร้องขอความเป็นธรรม
[object Object],1.  ต้อง สุภาพเรียบร้อย   รักษาความสามัคคี  และ ต้องช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัติราชการระหว่าง ข้าราชการด้วยกัน และผู้ร่วมปฏิบัติราชการ มาตรา  82(7)  4.  วินัยต่อผู้ร่วมงาน
[object Object],2.  ต้องไม่กระทำการอย่างใดที่เป็นการ กลั่นแกล้ง กดขี่   หรือ ข่มเหงกัน ในการปฏิบัติราชการ   ม . 83(7)     กลั่นแกล้ง ....  หาความไม่ดีใส่ให้ ....  แกล้งใส่ความ    กดขี่ ....  ข่มให้อยู่ในอำนาจ    ข่มเหง ....  ใช้กำลังรังแก ....  แกล้งทำความเดือดร้อนให้ผู้อื่น
   พฤติกรรมที่ไม่สุภาพเรียบร้อย 1.  แสดงออกด้วย  กิริยา ท่าทาง 2.  แสดงออกด้วย  คำพูด 3.  แ สดงออกด้วย  ลายลักษณ์อักษร
[object Object],1.  ต้องต้อนรับ   ให้ความสะดวก  ให้ความเป็นธรรม และ ให้การสงเคราะห์ แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการเกี่ยวกับ หน้าที่ของตน มาตรา  82(8)   5.  ความผิดต่อประชาชน
[object Object],2.  ต้องไม่ดูหมิ่น  เหยียดหยามกดขี่ หรือ ข่มเหง ประชาชน ผู้ติดต่อราชการ มาตรา  83(9)   3.  การ ดูหมิ่น  เหยียดหยาม  กดขี่  ข่มเหง หรือ ทำร้ายประชาชน  ผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง  มาตรา  85(5) ( ผิดร้ายแรง )    ดูหมิ่น ,  กดขี่ ,  ข่มเหง    ทำร้าย เฉพาะประชาชนผู้ มาติดต่อราชการ
[object Object],1.  ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ  หรือผู้จัดการ  หรือดำรง ตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้น ในห้างหุ้นส่วน หรือ บริษัท  มาตรา  83(6)    ตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน เช่น ตำแหน่งผู้อำนวยการ    จุดมุ่งหมาย  -   ผลประโยชน์  -  เวลาทำงาน 6.  วินัยต่อตนเอง
[object Object],2.  ต้องไม่กระทำการอันเป็นการ  ล่วงละเมิด   หรือ คุกคามทางเพศ   ตามที่กำหนดในกฎ ก . พ .  มาตรา  83(8)    ล่วงละเมิดทางเพศ ... ล่วงเกิน ,  ฝ่าฝืนจารีต ประเพณี ,  ฝ่าฝืนกฎหมาย  เช่น การทำอนาจาร ,  ข่มขืนกระทำชำเรา      คุกคามทางเพศ ... ทำให้หวาดกลัว , แสดงอำนาจด้วยกิริยา หรือวาจา ให้หวาดกลัว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],3.  กระทำความผิดอาญาจนได้รับ โทษจำคุก  หรือ โทษ ที่หนักกว่าโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุก หรือ  ให้รับโทษที่หนักกว่าโทษจำคุก  เว้นแต่เป็นโทษ สำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท มาตรา  85(6) ( ผิดร้ายแรง )      องค์ประกอบความผิด . 1.  กระทำความผิดทางอาญา 2.  รับโทษ จำคุกจริงๆ  หรือประหารชีวิต 3.  คำพิพากษาถึงที่สุด “ ยกเว้น  โทษที่กระทำผิดโดย ประมาท ”
[object Object],1.  ฆ่าผู้อื่น 2.  คดีค้ายาเสพติด 3.  ทุจริตเงินราชการ ตัวอย่าง กระทำผิดอาญาและได้รับโทษจำคุก
[object Object],4.  ต้องรักษา ชื่อเสียงของตน  และรักษา เกียรติศักดิ์ ของตำแหน่ง หน้าที่ราชการของตน  มิให้เสื่อมเสีย   มาตรา  82(10)   5.  กระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้  ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง   มาตรา  85(4)( ผิดร้ายแรง )
[object Object],   การกระทำที่เรียกว่า  “ ประพฤติเสื่อมเสีย ” หรือ  “ ประพฤติชั่ว ”    มีหลักในการพิจารณา  3  ประการ 1.  เกียรติ ของข้าราชการ 2.  ความรู้สึก ของสังคมไทย  3.  เจตนา ที่กระทำ     คำว่า  “ เกียรติ ”  คือ ความยกย่องนับถือ ,  การมีชื่อเสียง ,  การมีหน้ามีตา .
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างในเรื่องการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ผิดร้ายแรง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผิดร้ายแรง ผิดร้ายแรง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],มีทั้งร้ายแรง และไม่ร้ายแรง
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตาม พ . ร . บ .  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539 โดย .. นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผอ . กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1.  เพื่อคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ที่ได้กระทำละเมิด    ในการปฏิบัติหน้าที่   2.  เพื่อเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย    จากการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่  อย่า งเป็น    ธรรมและรวดเร็ว . หลักการและเหตุผลของกฎหมาย
คำนิยาม ตาม พ . ร . บ . ความรับผิดทางละเมิดฯ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  เมื่อเกิดความเสียหายแก่ หน่วยงานของรัฐ  หรือ บุคคลภายนอก ■  หน่วยงานของรัฐเสียหาย คือ ... ทรัพย์สินเสียหาย ■  บุคคลภายนอกเสียหาย คือ ... 1)  ตาย 2)  บาดเจ็บ 3)  ทรัพย์สินเสียหาย 2.  ความเสียเกิดจากการกระทำละเมิดของ จนท .    ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ราชการ   สาระสำคัญของ  พ . ร . บ . ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ . ศ . 2539
3.  กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ  คือ ทำให้ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย   3.1  กรณี จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง     เจ้าหน้าที่ต้องรับผิด 3.2  กรณี ประมาทไม่ร้ายแรง เจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิด
  4.  กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก 4.1  ถ้าเจ้าหน้าที่  จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่าง     ร้ายแรง  หรือ ไม่ร้ายแรง ก็ตาม  ให้หน่วยงาน    รับผิดต่อบุคคลภายนอกไปก่อน ..... 4.2  เมื่อหน่วยงาน  ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว    หน ่วยงานมีสิทธิ ไล่เบี้ยแก่เจ้าหน้าที่ได้  ถ้าเจ้า    หน้าที่  จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 4.3  บุคคลภายนอกมีสิทธิ ยื่นคำขอค่าเสียหายต่อ    หน่วยงาน หรือ ยื่นฟ้องต่อศาล  การฟ้องศาล    ต้องฟ้องหน่วยงาน จะ ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ศาลอุทธรณ์ .. จำเลยไม่มีความผิด
5.1  กรณีจงใจต้องรับผิดเต็มจำนวน   5.2  กรณีประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง  ไม่ต้อง   รับผิดเต็มจำนวน   ( อยู่ระหว่าง  65% - 95%) 5.3  กรณีการละเมิดเกิดจาก ความผิด  หรือ ความ บกพร่องของหน่วยงาน  หรือ ระบบการดำเนิน งานส่วนรวม ให้หน่วยงานหักลดได้ ตามสมควร แก่กรณี 5.  ความรับผิดของผู้กระทำละเมิด
กรณี สสจ .  เงินขาดบัญชี  6,935,462  บาท ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ยกเว้น นพ . สสจ . ไม่ฟ้องคดี ให้ใช้  30% ให้ใช้  100% ให้ใช้  50% 2,992,849
6.  ถ้ามีผู้กระทำผิดหลายคน ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 7.  ผู้ที่ต้องรับผิด ขอผ่อนชำระได้ 8.  ถ้าผู้กระทำผิด ไม่สามารถชำระหนี้ได้  ให้หน่วยงาน  ผ่อนผันตามความเหมาะสม  และไม่อาจฟ้องเจ้าหน้าที่  ผู้ที่ต้องรับผิด ให้เป็นบุคคลล้มละลายได้ . 9.  กรณีเจ้าหน้าที่ผู้ต้องรับผิดตาย และจะต้องรับผิดต่อ  หน่วยงาน  ให้ฟ้องผู้จัดการมรดก หรือ ทายาท ต่อไป 10.  กรณีการละเมิดมิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่  ให้ใช้กฎหมายแพ่งบังคับ     ................................
คำว่า  “ ประมาท ”  หรือ  “ ประมาทเลินเล่อ ”      ขาดความระมัดระวัง  ขาดความรอบคอบใน เรื่องที่ใช้ความระมัดระวังได้  แต่ไม่ใช้ หรือ ใช้ไม่เพียงพอ   และเกิดความเสียหาย ....  ( ภาษาทั่วไป )    ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา  แต่กระทำโดย  ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลใน ภาวะเช่นนั้น จักต้องมี  ตามวิสัย และ พฤติการณ์   และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง  เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่  จึงเกิดความเสียหาย
  คำว่า “ จงใจ ”  เป็นการกระทำที่ผู้กระทำ  กระทำโดยรู้สำนึกถึงผล เสียหายที่จะเกิดขึ้น จากการกระทำของตน ( คือ รู้ว่าความเสียหายจะต้องเกิดขึ้นแน่ๆ  และเมื่อได้  กระทำแล้ว ความเสียหายก็เกิดขึ้นจริงๆ )
o 1.  แพทย์ทำหมันโดยไม่บอกคนไข้ 2.  แพทย์ละทิ้งการผ่าตัดเพื่อไปทำคลอด โรงพยาลเอกชน 3.  แพทย์ไม่มารักษาคนไข้ 4.  Mercy Killing 5.  ขับรถของทางราชการทั้งๆที่ น้ำแห้ง , เบรคเสีย    --------- ตัวอย่าง การกระทำโดยจงใจ
คำว่า  “ ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง ” คือ การกระทำผิดที่มิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง  ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์  และผู้กระทำอาจ ใช้ความระมัดระวัง   เช่นว่านั้นได้   และ ผู้กระทำก็ได้ใช้ ความระมัดระวังแล้ว  แต่ยังใช้ไม่เพียงพอ  จึงเกิด ความเสียหายขึ้น .
o 1.  คนไข้แพ้ยา 2.  จ่ายยาให้คนไข้ผิด  3.  แพทย์ตัดมดลูก พบทารก  4.  ทันตแพทย์ถอนฟันน้องเต๋า 5.  แพทย์ให้ยาชามากเกิน ( บล็อกหลัง )   --------- ตัวอย่าง ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง
คำว่า  “ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ” คือ การกระทำผิดที่มิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง  ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์  และผู้กระทำอาจใช้ ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้  แต่มิได้กระทำ   กลับกระทำ   การที่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน ของบุคคลในภาวะเช่นนั้น เป็นอย่างมาก หากใช้ความระมัดระวังสักเล็กน้อย คงคาด เห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้น .
o 1.  รถส่งต่อผู้ป่วย รถมูลนิธิ รถตำรวจ 2.  ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเงินของทางราชการ 3.  ลืมกรรไกรในท้องคนไข้  4  ปี 4.  แพทย์ตัดนิ้วก้อยคนไข้  5.  ให้เลือดผิดกลุ่ม   --------- ตัวอย่าง ประมาทเลินเล่ออย่างร้าย
คำว่า   “ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ”   คือ ประมาทเลินเล่ออันเป็นเหตุให้เสียหายแก่  ราชการอย่างร้ายแรง 1.  ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ในทางละเมิด ( ค่าเสียหาย ) 1.1  ผู้กระทำโดยประมาทเลินเล่อโดยตรง และ  1. 2  กรณีทุจริตเงิน หรือการจัดซื้อจัดจ้าง รวมถึงผู้มีหน้าที่ควบคุมดูแลด้วย 2.  ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในทางวินัย ( โทษ )    เฉพาะผู้กระทำโดยประมาทเลินเล่อโดยตรงเท่านั้น
   กรณีทุจริตเงินในโรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลศูนย์ 1.  นายบรรเลง  จ .  การเงินและบัญชีชำนาญงาน ทุจริตเงินราชการ  5  ล้านบาท  ราชการยังไม่ได้เงินคืน 2.  นางสนิทใจ  หัวหน้าฝ่าย  ผบ .  ชั้น  1 3.  นายบริสุทธิ์ รอง บ .  ผบ .  ชั้น  2 4.  นายกล้าหาญ ผอ .  ผบ .  ชั้น  3 ละเมิด  ร้ายแรง   ร้ายแรง ร้ายแรง  วินัย  ไม่ร้ายแรง   ไม่ร้ายแรง   ไม่ร้ายแรง
คำว่า  “ เหตุสุดวิสัย ” เหตุสุดวิสัย คือเหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี  เป็นเหตุที่ ไม่อาจป้องกันได้  แม้บุคคลผู้ต้อง  ประสบเหตุ หรือใกล้จะประสบเหตุนั้น จะได้จัด  การ ระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมาย  ได้จากบุคคลในฐานะ และภาวะ เช่นนั้น
o 1.  ขับรถยนต์หลบเด็ก แต่ไปชนคนยืนข้างถนนตาย 2.  ขับรถยนต์ชนคนวิ่งข้ามถนน ในระยะกระชั้นชิด 3.  แพทย์ทำคลอดโดยดึงเด็ก เด็กพิการ  ? --------- ตัวอย่าง การกระทำโดยเหตุสุดวิสัย
o 1.  บุคคลภายนอก .    ชีวิต ,  ร่างกาย ,  ทรัพย์สิน    กรณีความเสียหายที่เกิดจากการรักษา พยาบาล  เนื่องจากรักษาพยาบาลโดยไม่ถูก วิธีหรือเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน หรือไม่ได้ รับความยินยอม และเกิดความเสียหาย ตัวอย่างการละเมิดที่เกิดกับ ...
o 2.  ความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สินของทางราชการ    ความเสียหายที่เกิดกับรถของทางราชการ (1)  รถสูญหาย หรือถูกโจรกรรม  (2)  รถชนกับรถของบุคคลภายนอก (3)  รถชนคน ,  รถชนสัตว์ (4)  รถคว่ำ หรือรถตกถนนโดยไม่มีคู่กรณี  ( กระทรวงการคลัง ที่ กค . 0508/ ว  27274, ลงวันที่  19  กรกฎาคม  2525) .....................................
o 2.  ความเสียหายที่เกิดแก่เงินของทางราชการ    ผู้บังคับบัญชาต้องรับผิดทุกคน    ผู้ที่เกี่ยวข้องคนอื่นๆ อาจรับผิด  3.  ความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สินอื่นๆ 3.1   ทรัพย์สิน สูญหายหรือถูกโจรกรรม 3.2   ทรัพย์สิน ถูกเพลิงไหม้ 3.3  ทรัพย์สิน เสียหายจากภัยธรรมชาติ . .....................................
1.  เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงาน คือ ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย ให้เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง รายงานผู้บังคับบัญชาจนถึงหัวหน้า หน่วยงาน การดำเนินการเมื่อเกิดการละเมิด
2.  กรณี เจ้าหน้าที่ ทำให้เกิดความเสียหายแก่  บุคคลภายนอก ถ้าเห็นว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น  เนื่องจาก  การที่ตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่   ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นแจ้งต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ ชักช้าและให้มีการรายงานตามลำดับชั้น จนถึง หัวหน้าหน่วยงานแห่งนั้น .
3.  การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง   ความรับผิดทางละเมิด  ( ข้อ  8)    กรณีมีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหาย นั้น   เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ หรือ      กรณีผู้เสียหายยื่นคำขอให้หน่วยงานชดใช้   ค่าสินไหมทดแทน ■ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบฯไม่เกิน  5  คน .
4.  กรณีไม่เชื่อว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่    ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น เช่น  กรณีทรัพย์สินหาย 5.  การรายงานผลการสอบสวนฯ 5.1   สอบสวนฯทางละเมิด  ให้รายงานกระทรวงการคลัง 5.2   สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น  ให้รายงานกระทรวงสาธารณสุข
o    อายุความตาม พ . ร . บ .  ความรับผิดทางละเมิดฯ  1.  มีอายุความ  2  ปี นับแต่หน่วยงานรู้เรื่อง และ รู้ตัวผู้กระทำผิด 2.  มีอายุความ  1  ปี กรณีหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ ได้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหายไปก่อนแล้ว และจะเรียกให้อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าเสียหาย
o วิทยากรผู้บรรยาย ...   นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผอ . กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร . 02- 5901316,1314,1417 081-4090916 โทรสาร . 02-5918589
[object Object],การบริหารงานการเงิน  การคลังและการพัสดุ ของ รพ . สต .  กับการบริหารความเสี่ยง
[object Object],การบริหารงานการเงิน  การคลัง ของ รพ . สต .  กับการบริหารความเสี่ยง
o การเงิน การคลัง ของรพ . สต . การคลัง รพ . สต . ( เงินคงคลัง ) 1.  เงินจาก สป . สช . 2.  เงินบำรุง 3.  เงินประกันสังคม 4.  เงินบริจาค 6.  เงินอื่นๆ   5.  เงินจากองค์ กรส่วนท้องถิ่น รายได้  1.  ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ 2.  ค่าใช้จ่าย วัสดุ ครุภัณฑ์ 3.  ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
1/1 , 000 2/900 3/800 4/700 5/600 6/500 7/400 8/300 9/200 10/100 วันนี้ 1,000+900+800+700+600+500+400+300+200+100  =  5 , 500 กระเป๋าเงิน 4 , 500 1,000 ค่าของเงิน
[object Object],   ปัญหาเกี่ยวกับการเงินโดยทั่วไป 1.  ผู้บังคับบัญชา   1.1  ไม่เข้าใจกฎหมายและระเบียบ 1.2  ไม่ควบคุมตรวจสอบ 2.  เจ้าหน้าที่การเงิน     2.1  ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ 2.2  ทุจริตยักยอกเงิน 3.  คณะกรรมการเกี่ยวกับการเงิน 3.1  ไม่เข้าใจกฎหมายและระเบียบ 3.2  ไม่ควบคุมตรวจสอบ .
[object Object],1.  เก็บเงินสดไว้เกินกว่าที่ระเบียบกำหนด 2.  ถอนเงินสดมาจ่ายเจ้าหนี้ โดยผิดระเบียบ 3.  ถอนเงินสดไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว 4.  ถอนเงินออกมาใช้จ่าย โดยไม่มีหลักฐานการเป็นหนี้  หรือมีโครงการรองรับ 5.  ปลอมลายมือชื่อผู้อื่นถอนเงิน - จ่ายเช็ค 6.  เขียนใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ กับสำเนาไม่ตรงกัน ปัญหาที่เกิดจากการบริหารงานการเงินของ รพ . สต .
[object Object],7.  ทำหลักฐานผู้เข้าประชุมมากกว่าผู้ประชุมจริง  ( เท็จ ) 8.  ไม่ลงบัญชีทางการเงิน 9.  เขียนเช็คโดยผิดระเบียบ 9.1  เมื่อผู้มีอำนาจลงนามในเช็คแล้ว ได้นำเช็คมา แก้ไขโดยเพิ่มจำนวนเงิน มากกว่าที่ต้องจ่ายจริง 9.2  เขียนเช็คโดยไม่ขีดคร่อม และขีดฆ่าคำว่า “  หรือผู้ถือ ”   ออก 9.3  เขียนเช็คโดยไม่กรอกจำนวนเงิน
[object Object],10.  กรณีจ่ายเช็คให้เจ้าหนี้  หน่วยงานมีข้อตกลงกับ  ธนาคาร เป็นหนังสือว่า เมื่อธนาคารได้รับเช็คของหน่วย งาน  ให้ธนาคารตัดโอนเงินจากบัญชีออมทรัพย์เข้าบัญชี กระแสรายวัน แล้วจ่ายเงินตามจำนวนที่ระบุในเช็คได้ ( ห้าม ใช้วิธีถอนเงินจากบัญชีออมทรัพย์ เข้าบัญชีกระแสรายวัน ) ......................................
[object Object],ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง  การเก็บรักษาเงิน  และการนำเงินส่งคลัง พ . ศ . 2551 ............................ วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน  ( ข้อ  47, 48, 49) 1.  การจ่ายเงินให้จ่ายเป็นเช็ค  ( ข้อ  47)  ยกเว้น  การจ่าย ต่อไปนี้ จะจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ ..  1.1  กรณีที่จ่ายจากเงินทดรองราชการ ซึ่งเก็บรักษาไว้    เป็นเงินสด หรือ 1.2  การจ่ายเงินให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ    ผู้รับบำนาญ หรือผู้รับเบี้ยหวัด หรือ 1.3  การจ่ายเงินที่มีวงเงินต่ำกว่า  5,000  บาท
[object Object],2.  การเขียนเช็คสั่งจ่าย  ( ข้อ  48) (1)  การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้  หรือผู้มีสิทธิรับเงิน  ใน  กรณีซื้อทรัพย์สิน  จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน  ให้ออก  เช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้  หรือผู้มีสิทธิรับเงิน  โดยขีดฆ่า  คำว่า “หรือผู้ถือ”ออก และขีดคร่อมด้วย  (2)  การจ่ายเงิน ให้แก่เจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงิน  นอก  จากกรณีตาม  (1)  ให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามของเจ้าหนี้ หรือ  ผู้มีสิทธิรับเงิน  โดยขีดฆ่าคำว่า  “หรือผู้ถือ”ออก และจะขีด คร่อมหรือไม่ ก็ได้
[object Object],(3)  ในกรณีสั่งจ่ายเงิน เพื่อขอรับเงินสดมาจ่าย  ให้ออก  เช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการ  และขีด  ฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ”ออก ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด  ห้ามลงลายมือชื่อสั่งจ่ายในเช็คไว้ล่วงหน้า โดยยัง  มิได้เขียนหรือพิมพ์ชื่อผู้รับเงิน วันที่ออกเช็ค และจำนวนเงิน  ที่สั่งจ่าย
[object Object],3.  การเขียนหรือพิมพ์จำนวนเงินในเช็ค  ที่เป็นตัวอักษร  ( ข้อ  49)    ให้เขียนหรือพิมพ์ ให้ชิดเส้นและชิดคำว่า “บาท” หรือ  ขีดเส้นหน้าจำนวนเงิน ทั้งตัวเลขและตัวอักษร  โดยไม่มีช่อง  ว่างที่จะเขียนหรือพิมพ์จำนวนเงินเพิ่มเติมได้ และ    ให้ขีดเส้นตรง หลังชื่อสกุล ชื่อบริษัท  หรือห้างหุ้นส่วน  จนชิดคำว่า “หรือผู้ถือ” โดยมิให้มีการเขียนหรือพิมพ์ชื่อบุคคลอื่นเพิ่มเติมได้ ............................
บริษัทเอกชัยก่อสร้าง จำกัด สี่หมื่นบาทถ้วน 40,000 XX 100 สม .-...  นารี .-.. 9  มกราคม  2553 (1)  จ่ายเช็คกรณี ซื้อทรัพย์สิน ,  จ้างทำของ ,  เช่าทรัพย์สิน
เจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการ ห้าหมื่นบาทถ้วน 50,000 XX 100 สม .-...  นารี .-.. 9  มกราคม  2551 (4)  กรณีสั่งจ่ายเงิน เพื่อขอรับเงินสดมาจ่าย “  ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด ”
บัญชีออมทรัพย์ บัญชีกระแสรายวัน ใบถอนและใบฝากเงิน ใส่เลขบัญชีส่วนตัว เช็ค โรงพยาบาลชุมชน .. เงินขาดบัญชี  5  ล้านบาท , 7  ล้านบาท เจ้าหนี้ ต้องมีข้อตกลงกับ  Bank
[object Object],ธนาคารกรุงไทย จำกัด ( มหาชน )  ใบถอนเงิน สาขา
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.

More Related Content

Similar to รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.

สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
marena06008
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
Mac Legendlaw
 
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
ภัฏ พงศ์ธามัน
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
taem
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to รพ.สต.ปี 2554 6 ชม. (20)

พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 

รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.

  • 1.
  • 2.
  • 4. การจัดซื้ออุปกรณ์การก่อสร้างส้วม ชื่อ / ตำแหน่ง 1. นายรัตน์ สาธารณสุขอำเภอ ......... 2. นายเจริญ นวก . สาธารณสุข 7....... 3. นายสุวรรณ พ . วิชาชีพ 7............. 4. นายน้อย จ . บริหารสาธารณสุข 6... ลำดับ 1 -3 กรรมการตรวจรับ ลำดับที่ 4. จัดหาเอกสาร .. สนับสนุน วินัย ไล่ออก ไล่ออก ปลดออก ปลดออก อาญา 3.6 ปี 3.6 ปี 3.6 ปี 2.4 ปี
  • 5. มาตรา 64 บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมาย เพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้  ข้าราชการ ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง จะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายหรือระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ อันตนจะต้องปฏิบัติและอยู่ในหน้าที่ของตนไม่ได้ ประมวลกฎหมายอาญา มติคณะรัฐมนตรี ที่ นว 89/2497 ลว . 1 เมษายน 2497
  • 6. ได้ใจผู้บังคับบัญชา หลักธรรมาภิบาล กรอบการปฏิบัติราชการ ผลสำเร็จของงาน ได้ใจผู้ใต้บังคับบัญชา ถูกกฎหมาย , ระเบียบ การคิด นอกกรอบ ? การบริหาร , ภาวะผู้นำ ...... พึงพอใจ ประชาชน / เจ้าหน้าที่ / รัฐ
  • 7. กฎหมาย คืออะไร ?  คำสั่งของรัฐ หรือ  กฎ กติกา ข้อบังคับของสังคม และ  มีสภาพบังคับ .( บทลงโทษ )  ใช้บังคับกับบุคคลทั่วไป “ ผู้ที่ฝ่าฝืน จะถูกลงโทษ ”  กฎหมาย ... กฎหมายหลัก , กฎหมายรอง
  • 8. การใช้หรือการตีความกฎหมาย  มาตรา 4 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้อง ด้วยบทบัญญัติใดๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือ ความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้นๆ ..... ”
  • 9. หลักการของกฎหมาย ? คือเหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนั้น ๆ ว่า กฎหมายมีวัตถุประสงค์อะไร ต้องการคุ้มครองใคร หรือ คุ้มครองสิ่งใด เมื่อรู้วัตถุประสงค์แล้ว จะได้ ใช้กฎหมาย หรือ ตีความกฎหมาย ให้ถูกต้อง เช่น ห้ามเดินผ่านสนามหญ้า , ห้ามเด็ดดอกไม้ การค้ำประกันผู้อื่น
  • 10. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ... 1. ประกอบอาชีพเป็น แพทย์ เภสัชกร คนจำหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือ ผู้สอบบัญชี 2. หรือเป็นผู้ช่วยบุคคลผู้ประกอบอาชีพ ตามข้อ 1. 3. ได้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่น 4. เปิดเผยความลับนั้น โดยน่าจะเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด . ความผิดอาญาฐานเปิดเผยความลับ ม . 323 โทษจำคุก 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บ . หรือทั้งจำทั้งปรับ
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. การลาป่วย 1. ตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมี ใบรับรองแพทย์ 2. ไม่ถึง 30 วัน จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์  การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร  ให้ลาต่อเนื่องจากการลาคลอด ไม่นับวันหยุด  ให้ลาได้ 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา ผู้บังคับบัญชาสั่งว่า .....  อนุญาต 15 วัน ?  ไม่อนุญาต ?  อนุญาต ? ก็ได้
  • 18. หลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทำทางปกครอง การปฏิบัติ ราชการ  กรณีจะปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์สาธารณะ แต่ไม่มีกฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้ ....?  ทำได้ ... ถ้าไม่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น  การปฏิบัติราชการเป็นการกระทำ ทางปกครอง 1. ต้องมีกฎหมายให้อำนาจไว้ และ 2. การกระทำนั้นต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย
  • 19. วินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดย นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 20.
  • 21. ความหมาย “ วินัย ” งานราชการ เรื่องส่วนตัว พฤติกรรม
  • 22. ฝ่ายการเมือง / รัฐบาล ข้าราชการ ความประพฤติส่วนตัว นโยบาย เป็นแบบอย่างที่ดี เหตุที่นำความประพฤติส่วนตัวมาอยู่ในกรอบของวินัย
  • 23. ความสำคัญของวินัย 3. เจ้าหน้าที่ 4. ผู้บังคับบัญชา 2. ราชการ 1. รัฐบาล
  • 24. ควรจำกัดอยู่ในกรอบ ของ จุดมุ่งหมาย เท่านั้น จุดมุ่งหมายคือ ...  เพื่อประชาชน  เพื่อราชการ การกระทำที่ไม่กระทบต่อ กรอบของจุดมุ่ง หมาย ก็ไม่ควรอยู่ในข่ายของวินัยข้าราชการ ............................. ขอบเขตของวินัยข้าราชการ  ขอบเขตของวินัย ?
  • 25. o มาตรา 82(7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน A  การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบ ..... ไม่ผิดวินัย  การกระทำที่กระทบต่อกรอบ ....... ผิดวินัย ตัวอย่าง ... A กรอบของจุดมุ่งหมาย แม้การกระทำนั้นจะเป็น เรื่องเดียวกัน
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34. หมวดที่ 6 วินัยและการรักษาวินัย ( พ . ศ . 2551) ลักษณะการบัญญัติกฎหมาย ให้กระทำการอัน เป็นข้อปฏิบัติ ( ม . 82) ต้องไม่กระทำการ อันเป็นข้อห้าม ( ม . 83) กระทำการ ที่เป็นวินัย ร้ายแรง ( ม . 85) ถ้าเกิดผลเสียหายต่อทางราชการอย่างร้ายแรง ก็เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ม . 85(7)
  • 35.
  • 36. 1. วินัยต่อประเทศชาติ ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน มาตรา 81 ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วย ความบริสุทธิ์ใจ
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. 1. การลาป่วย 1.1 ตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมี ใบรับรองแพทย์ 1.2 ไม่ถึง 30 วัน จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์ ก็ได้ ปัญหา ... ระหว่างป่วย ผู้ลาไม่ได้ไปพบแพทย์ ..? 2. การลาคลอดบุตร 2.1 เป็นการลาหยุด ช่วงก่อนคลอดและหลังคลอด 2.2 ลาได้ 90 วัน นับวันหยุดด้วย ปัญหา ... นางสาวลาคลอดบุตร ? คลอดได้ 15 วัน บุตรตาย จะหยุด 90 วัน ?
  • 44. 3. การลากิจส่วนตัว 3. 1 การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ  กรณีเหตุธรรมดา ต้องคำสั่งอนุญาตก่อน  กรณีเหตุจำเป็น คือไม่อาจรอรับคำสั่งอนุญาตได้  กรณีเหตุพิเศษ คือไม่อาจส่งใบลาก่อนได้  ใน 1 ปี ระหว่างลากิจ จะได้เงินเดือน 45 วัน  ปัญหา ... ข้าราชการบรรจุใหม่ ลาได้ ..? 3.2 การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร  ให้ลาต่อเนื่องจากการลาคลอด ไม่นับวันหยุด  ให้ลาได้ 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
  • 45. 4. การลาพักผ่อน  ใน 1 ปี มีสิทธิลาได้ 10 วัน กรณีบรรจุยัง ไม่ครบ 6 เดือน ไม่มีสิทธิลา  ถ้าปีนั้น ไม่ได้ลาหรือลาไม่ครบ ให้นำวันลา มาสะสม ในปีต่อไปได้ แต่เมื่อรวมกับในปีปัจจุบันแล้ว ต้องไม่ เกิน 20 วัน ถ้ารับราชการมาไม่น้อยกว่า 10 ปีติดต่อกัน ให้ สะสมได้ไม่เกิน 30 วัน ปัญหา ..1. ข้าราชการบรรจุวันที่ 1 เมษายน ของปี ลาได้ ..? 2. ข้าราชการได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาต่อ 2 ปี ..?
  • 46. คำว่า “ ประมาท ” หรือ “ ประมาทเลินเล่อ ”  ขาดความระมัดระวัง ขาดความรอบคอบใน เรื่องที่ใช้ความระมัดระวังได้ แต่ไม่ใช้ หรือ ใช้ไม่เพียงพอ และเกิดความเสียหาย ( ภาษาทั่วไป )  ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลใน ภาวะเช่นนั้น จักต้องมี ตามวิสัย และ พฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ จึงเกิดความเสียหาย 6. ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ มาตรา 83(4)
  • 47. ตัวอย่าง กรณีประมาทเลินเล่อ 1. การรักษาพยาบาล เช่น  ให้เลือดผิด , จ่ายยาผิด 2. รถยนต์ของทางราชการ  รถชนกัน , รถตกถนน , รถหาย  รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุ ให้แจ้งความร้องทุกข์ทุกครั้ง ( กระทรวงการคลังที่ กค . 0508/ ว 27274 , 19 กรกฎาคม 2525) 3. ไฟไหม้สถานที่ราชการ
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55. ผู้บังคับบัญชา 1. ผู้บังคับบัญชา มี 2 ประเภท 1.1 ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 1.2 ผู้บังคับบัญชาตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2. อำนาจของผู้บังคับบัญชา (1) มีกฎหมายกำหนดไว้ (2) ได้รับมอบอำนาจสั่งบรรจุ 2.1 อำนาจทั่วไป 2.2 อำนาจเฉพาะตัว
  • 56.  อำนาจของผู้บังคับบัญชา มี 2 ประเภท 1. อำนาจกำกับดูแล 2. อำนาจบังคับบัญชา (1) อำนาจผูกพัน (2) อำนาจดุลพินิจ
  • 57. ( 1) อำนาจนี้เกิดจาก กฎหมายกำหนด . (2) องค์กรผู้บังคับบัญชา กับองค์กรผู้ใต้บังคับ บัญชาเป็นคนละองค์กรกัน เช่น ผู้ว่าราชการ จังหวัด กับ องค์กรท้องถิ่น , กระทรวง สาธารณสุข กับ องค์การเภสัชกรรม , สปสช . (3) ผบ . ควบคุม ได้เฉพาะความชอบด้วยกฎหมาย เท่านั้น เช่น ให้ความเห็นชอบ , การอนุมัติ , ยกเว้น การยับยั้งการกระทำ , การเพิกถอนการกระทำ , หรือ การเข้ากระทำการแทน . (4) ผบ . ไม่อาจก้าวก่ายดุลพินิจของผู้ใต้บังคับ บัญชาได้ . อำนาจ กำกับ ดูแล
  • 58. อำนาจ กำกับ ดูแล อำนาจที่ กฎหมาย กำหนด มาตรา 24 ให้มี สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้ กำกับดูแลของรัฐมนตรี ( ว่าการกระทรวง สาธารณสุข )..... ปี 2545 มาตรา 16 ให้รัฐมนตรี ( ว่าการกระทรวง สาธารณสุข ) มีอำนาจหน้าที่กำกับ โดยทั่วไปซึ่งกิจการ ของ องค์การเภสัชกรรม ....... ปี 2509 มาตรา 77 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจกำกับ ดูแล การปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ............. ปี 2540 เป็น
  • 59. ( 1) เกิดจากการจัดระเบียบภายใน ของส่วนราชการ . (2) องค์กรผู้บังคับบัญชา กับองค์กรผู้ใต้บังคับ บัญชาเป็นองค์กรเดียวกัน เช่น เป็นส่วนราชการ เดียวกัน , องค์กรของรัฐเดียวกัน . (3) อำนาจของ ผบ . ไม่จำเป็นต้องมีกฎหมายให้อำนาจ ไว้โดยชัดแจ้ง ผบ . ก็มีอำนาจดังนี้  ก่อนการกระทำ มีอำนาจแนะนำ และสั่งการ .  หลังการกระทำ แม้สั่งการไปแล้ว ภายหลัง ยังสั่งเปลี่ยนแปลงได้ . อำนาจ บังคับ บัญชา
  • 60.
  • 61.  ลาได้ 90 วัน  ลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้ลาต่อเนื่องจากการคลอดไม่เกิน 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา  ผู้บังคับบัญชาสั่งว่า .... 1. ไม่อนุญาต ? 2. อนุญาต 30 วัน ? 3. อนุญาต ? ............................ การลาคลอดบุตร อำนาจดุลพินิจ อำนาจผูกพัน
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65. ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1. ข้าราชการขอลาออกจากราชการ  สั่ง ว่า ไม่อนุญาต เนื่องจาก ...  ให้หาคนมาแทนก่อน  ถูกสอบสวนทางวินัย  ต้องหาคดีอาญา 2. ขอลาป่วย เป็นเวลา 5 วัน โดยไม่แนบใบรับรองแพทย์ ทั้งๆที่ผู้ขอลาป่วย ป่วยจริง  สั่งว่า ไม่อนุญาต เนื่องจาก ...  ไม่มีใบรับรองแพทย์ 3. ออกระเบียบ ( คำสั่ง ) ของโรงพยาบาลว่า ให้พยาบาลเวร ตามแพทย์เวรดึกได้ เฉพาะกรณีคนไข้อาการหนักเท่านั้น  การวินิจฉัยอาการผู้ป่วย .......... --------------------- ตัวอย่าง การใช้ดุลพินิจของ ผบ . โดยมิชอบ
  • 66. สิทธิเบิกค่าเช่าที่พักในราชอาณาจักร 1. ให้เบิกในลักษณะเหมาจ่าย หรือ  เหมาจ่ายไม่เกินที่กำหนด และไม่ต้องใช้ใบเสร็จ - ระดับ 8 ลงมา ไม่เกิน 800 บาท - ระดับ 9 ขึ้นไป ไม่เกิน 1,200 บาท 2. ให้เบิกในลักษณะจ่ายจริง - ระดับ 8 ลงมา - ระดับ 9 - ระดับ 10 ขึ้นไป 4.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ พ . ศ . 2550 ห้องพักคู่ ห้องพักเดี่ยว 1,500 850 1,200 1,400 2,200 2,500
  • 67. สิทธิเบิกค่าที่พัก ให้เบิกเหมาจ่าย  เหมาจ่ายไม่เกินที่กำหนด และไม่ต้องใช้ใบเสร็จ  สิทธิเบิกค่ายานพาหนะรับจ้าง ให้เบิกตามจริง  ในกรุงเทพฯ ..... ตามจริง  1. กรุงเทพฯ ไปจังหวัดที่มีเขตติดต่อกับกรุงเทพฯ 2. ข้ามเขตจังหวัดที่ผ่านกรุงเทพฯ ตาม 1,2 ให้เบิก ตามจริง ไม่เกินเที่ยวละ 600 บาท 3. ข้ามเขตจังหวัดอื่นๆ ให้เบิก ตามจริง ไม่เกินเที่ยวละ 500 บาท
  • 68. สิทธิเบิกเงินชดเชยการใช้ ยานพาหนะส่วนตัว  ระยะทางตามจริง - รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ฯ กิโลเมตรละ 2 บาท  สิทธิเบิกค่ายานพาหนะ เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด  การเดินทางไปราชการ โดยปกติให้ใช้ยาพาหนะ ประจำทางและเบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด การอนุมัติให้เดินทางไปราชการเป็นอำนาจ “ ดุลพินิจ ”
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73. พฤติกรรมที่ไม่สุภาพเรียบร้อย 1. แสดงออกด้วย กิริยา ท่าทาง 2. แสดงออกด้วย คำพูด 3. แ สดงออกด้วย ลายลักษณ์อักษร
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84.
  • 85.
  • 86. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตาม พ . ร . บ . ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539 โดย .. นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผอ . กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 87. 1. เพื่อคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ที่ได้กระทำละเมิด ในการปฏิบัติหน้าที่ 2. เพื่อเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย จากการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ อย่า งเป็น ธรรมและรวดเร็ว . หลักการและเหตุผลของกฎหมาย
  • 88.
  • 89. 1. เมื่อเกิดความเสียหายแก่ หน่วยงานของรัฐ หรือ บุคคลภายนอก ■ หน่วยงานของรัฐเสียหาย คือ ... ทรัพย์สินเสียหาย ■ บุคคลภายนอกเสียหาย คือ ... 1) ตาย 2) บาดเจ็บ 3) ทรัพย์สินเสียหาย 2. ความเสียเกิดจากการกระทำละเมิดของ จนท . ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ราชการ สาระสำคัญของ พ . ร . บ . ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ . ศ . 2539
  • 90. 3. กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ คือ ทำให้ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย 3.1 กรณี จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เจ้าหน้าที่ต้องรับผิด 3.2 กรณี ประมาทไม่ร้ายแรง เจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิด
  • 91. 4. กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก 4.1 ถ้าเจ้าหน้าที่ จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง หรือ ไม่ร้ายแรง ก็ตาม ให้หน่วยงาน รับผิดต่อบุคคลภายนอกไปก่อน ..... 4.2 เมื่อหน่วยงาน ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว หน ่วยงานมีสิทธิ ไล่เบี้ยแก่เจ้าหน้าที่ได้ ถ้าเจ้า หน้าที่ จงใจ หรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 4.3 บุคคลภายนอกมีสิทธิ ยื่นคำขอค่าเสียหายต่อ หน่วยงาน หรือ ยื่นฟ้องต่อศาล การฟ้องศาล ต้องฟ้องหน่วยงาน จะ ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
  • 92.
  • 93. 5.1 กรณีจงใจต้องรับผิดเต็มจำนวน 5.2 กรณีประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ไม่ต้อง รับผิดเต็มจำนวน ( อยู่ระหว่าง 65% - 95%) 5.3 กรณีการละเมิดเกิดจาก ความผิด หรือ ความ บกพร่องของหน่วยงาน หรือ ระบบการดำเนิน งานส่วนรวม ให้หน่วยงานหักลดได้ ตามสมควร แก่กรณี 5. ความรับผิดของผู้กระทำละเมิด
  • 94.
  • 95. 6. ถ้ามีผู้กระทำผิดหลายคน ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 7. ผู้ที่ต้องรับผิด ขอผ่อนชำระได้ 8. ถ้าผู้กระทำผิด ไม่สามารถชำระหนี้ได้ ให้หน่วยงาน ผ่อนผันตามความเหมาะสม และไม่อาจฟ้องเจ้าหน้าที่ ผู้ที่ต้องรับผิด ให้เป็นบุคคลล้มละลายได้ . 9. กรณีเจ้าหน้าที่ผู้ต้องรับผิดตาย และจะต้องรับผิดต่อ หน่วยงาน ให้ฟ้องผู้จัดการมรดก หรือ ทายาท ต่อไป 10. กรณีการละเมิดมิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ให้ใช้กฎหมายแพ่งบังคับ ................................
  • 96. คำว่า “ ประมาท ” หรือ “ ประมาทเลินเล่อ ”  ขาดความระมัดระวัง ขาดความรอบคอบใน เรื่องที่ใช้ความระมัดระวังได้ แต่ไม่ใช้ หรือ ใช้ไม่เพียงพอ และเกิดความเสียหาย .... ( ภาษาทั่วไป )  ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลใน ภาวะเช่นนั้น จักต้องมี ตามวิสัย และ พฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ จึงเกิดความเสียหาย
  • 97. คำว่า “ จงใจ ” เป็นการกระทำที่ผู้กระทำ กระทำโดยรู้สำนึกถึงผล เสียหายที่จะเกิดขึ้น จากการกระทำของตน ( คือ รู้ว่าความเสียหายจะต้องเกิดขึ้นแน่ๆ และเมื่อได้ กระทำแล้ว ความเสียหายก็เกิดขึ้นจริงๆ )
  • 98. o 1. แพทย์ทำหมันโดยไม่บอกคนไข้ 2. แพทย์ละทิ้งการผ่าตัดเพื่อไปทำคลอด โรงพยาลเอกชน 3. แพทย์ไม่มารักษาคนไข้ 4. Mercy Killing 5. ขับรถของทางราชการทั้งๆที่ น้ำแห้ง , เบรคเสีย --------- ตัวอย่าง การกระทำโดยจงใจ
  • 99. คำว่า “ ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง ” คือ การกระทำผิดที่มิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจ ใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ และ ผู้กระทำก็ได้ใช้ ความระมัดระวังแล้ว แต่ยังใช้ไม่เพียงพอ จึงเกิด ความเสียหายขึ้น .
  • 100. o 1. คนไข้แพ้ยา 2. จ่ายยาให้คนไข้ผิด 3. แพทย์ตัดมดลูก พบทารก 4. ทันตแพทย์ถอนฟันน้องเต๋า 5. แพทย์ให้ยาชามากเกิน ( บล็อกหลัง ) --------- ตัวอย่าง ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง
  • 101. คำว่า “ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ” คือ การกระทำผิดที่มิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่มิได้กระทำ กลับกระทำ การที่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน ของบุคคลในภาวะเช่นนั้น เป็นอย่างมาก หากใช้ความระมัดระวังสักเล็กน้อย คงคาด เห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้น .
  • 102. o 1. รถส่งต่อผู้ป่วย รถมูลนิธิ รถตำรวจ 2. ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเงินของทางราชการ 3. ลืมกรรไกรในท้องคนไข้ 4 ปี 4. แพทย์ตัดนิ้วก้อยคนไข้ 5. ให้เลือดผิดกลุ่ม --------- ตัวอย่าง ประมาทเลินเล่ออย่างร้าย
  • 103. คำว่า “ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ” คือ ประมาทเลินเล่ออันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ ราชการอย่างร้ายแรง 1. ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ในทางละเมิด ( ค่าเสียหาย ) 1.1 ผู้กระทำโดยประมาทเลินเล่อโดยตรง และ 1. 2 กรณีทุจริตเงิน หรือการจัดซื้อจัดจ้าง รวมถึงผู้มีหน้าที่ควบคุมดูแลด้วย 2. ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในทางวินัย ( โทษ )  เฉพาะผู้กระทำโดยประมาทเลินเล่อโดยตรงเท่านั้น
  • 104. กรณีทุจริตเงินในโรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลศูนย์ 1. นายบรรเลง จ . การเงินและบัญชีชำนาญงาน ทุจริตเงินราชการ 5 ล้านบาท ราชการยังไม่ได้เงินคืน 2. นางสนิทใจ หัวหน้าฝ่าย ผบ . ชั้น 1 3. นายบริสุทธิ์ รอง บ . ผบ . ชั้น 2 4. นายกล้าหาญ ผอ . ผบ . ชั้น 3 ละเมิด ร้ายแรง ร้ายแรง ร้ายแรง วินัย ไม่ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง
  • 105. คำว่า “ เหตุสุดวิสัย ” เหตุสุดวิสัย คือเหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี เป็นเหตุที่ ไม่อาจป้องกันได้ แม้บุคคลผู้ต้อง ประสบเหตุ หรือใกล้จะประสบเหตุนั้น จะได้จัด การ ระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมาย ได้จากบุคคลในฐานะ และภาวะ เช่นนั้น
  • 106. o 1. ขับรถยนต์หลบเด็ก แต่ไปชนคนยืนข้างถนนตาย 2. ขับรถยนต์ชนคนวิ่งข้ามถนน ในระยะกระชั้นชิด 3. แพทย์ทำคลอดโดยดึงเด็ก เด็กพิการ ? --------- ตัวอย่าง การกระทำโดยเหตุสุดวิสัย
  • 107. o 1. บุคคลภายนอก .  ชีวิต , ร่างกาย , ทรัพย์สิน  กรณีความเสียหายที่เกิดจากการรักษา พยาบาล เนื่องจากรักษาพยาบาลโดยไม่ถูก วิธีหรือเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน หรือไม่ได้ รับความยินยอม และเกิดความเสียหาย ตัวอย่างการละเมิดที่เกิดกับ ...
  • 108. o 2. ความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สินของทางราชการ  ความเสียหายที่เกิดกับรถของทางราชการ (1) รถสูญหาย หรือถูกโจรกรรม (2) รถชนกับรถของบุคคลภายนอก (3) รถชนคน , รถชนสัตว์ (4) รถคว่ำ หรือรถตกถนนโดยไม่มีคู่กรณี ( กระทรวงการคลัง ที่ กค . 0508/ ว 27274, ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2525) .....................................
  • 109. o 2. ความเสียหายที่เกิดแก่เงินของทางราชการ  ผู้บังคับบัญชาต้องรับผิดทุกคน  ผู้ที่เกี่ยวข้องคนอื่นๆ อาจรับผิด 3. ความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สินอื่นๆ 3.1 ทรัพย์สิน สูญหายหรือถูกโจรกรรม 3.2 ทรัพย์สิน ถูกเพลิงไหม้ 3.3 ทรัพย์สิน เสียหายจากภัยธรรมชาติ . .....................................
  • 110. 1. เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงาน คือ ทรัพย์สินของทางราชการเสียหาย ให้เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง รายงานผู้บังคับบัญชาจนถึงหัวหน้า หน่วยงาน การดำเนินการเมื่อเกิดการละเมิด
  • 111. 2. กรณี เจ้าหน้าที่ ทำให้เกิดความเสียหายแก่ บุคคลภายนอก ถ้าเห็นว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจาก การที่ตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นแจ้งต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ ชักช้าและให้มีการรายงานตามลำดับชั้น จนถึง หัวหน้าหน่วยงานแห่งนั้น .
  • 112. 3. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด ( ข้อ 8)  กรณีมีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหาย นั้น เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ หรือ  กรณีผู้เสียหายยื่นคำขอให้หน่วยงานชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน ■ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบฯไม่เกิน 5 คน .
  • 113. 4. กรณีไม่เชื่อว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น เช่น กรณีทรัพย์สินหาย 5. การรายงานผลการสอบสวนฯ 5.1 สอบสวนฯทางละเมิด ให้รายงานกระทรวงการคลัง 5.2 สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น ให้รายงานกระทรวงสาธารณสุข
  • 114. o  อายุความตาม พ . ร . บ . ความรับผิดทางละเมิดฯ 1. มีอายุความ 2 ปี นับแต่หน่วยงานรู้เรื่อง และ รู้ตัวผู้กระทำผิด 2. มีอายุความ 1 ปี กรณีหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ ได้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหายไปก่อนแล้ว และจะเรียกให้อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าเสียหาย
  • 115. o วิทยากรผู้บรรยาย ... นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผอ . กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร . 02- 5901316,1314,1417 081-4090916 โทรสาร . 02-5918589
  • 116.
  • 117.
  • 118. o การเงิน การคลัง ของรพ . สต . การคลัง รพ . สต . ( เงินคงคลัง ) 1. เงินจาก สป . สช . 2. เงินบำรุง 3. เงินประกันสังคม 4. เงินบริจาค 6. เงินอื่นๆ 5. เงินจากองค์ กรส่วนท้องถิ่น รายได้ 1. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ 2. ค่าใช้จ่าย วัสดุ ครุภัณฑ์ 3. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
  • 119. 1/1 , 000 2/900 3/800 4/700 5/600 6/500 7/400 8/300 9/200 10/100 วันนี้ 1,000+900+800+700+600+500+400+300+200+100 = 5 , 500 กระเป๋าเงิน 4 , 500 1,000 ค่าของเงิน
  • 120.
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 124.
  • 125.
  • 126.
  • 127.
  • 128. บริษัทเอกชัยก่อสร้าง จำกัด สี่หมื่นบาทถ้วน 40,000 XX 100 สม .-... นารี .-.. 9 มกราคม 2553 (1) จ่ายเช็คกรณี ซื้อทรัพย์สิน , จ้างทำของ , เช่าทรัพย์สิน
  • 129. เจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการ ห้าหมื่นบาทถ้วน 50,000 XX 100 สม .-... นารี .-.. 9 มกราคม 2551 (4) กรณีสั่งจ่ายเงิน เพื่อขอรับเงินสดมาจ่าย “ ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด ”
  • 130. บัญชีออมทรัพย์ บัญชีกระแสรายวัน ใบถอนและใบฝากเงิน ใส่เลขบัญชีส่วนตัว เช็ค โรงพยาบาลชุมชน .. เงินขาดบัญชี 5 ล้านบาท , 7 ล้านบาท เจ้าหนี้ ต้องมีข้อตกลงกับ Bank
  • 131.