SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
ความสาคัญของกฎหมายดิจิทัล
กับการพัฒนาระบบสาธารณสุข
ไพศาล ลิ้มสถิตย์
กรรมการบริหารศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
15 พฤษภาคม 2562
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสุขภาพประจาปี 2562
1
เนื้อหาการนาเสนอ
1. นโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อออนไลน์ของบุคลากร
ในระบบสาธารณสุข
2. กฎหมาย จริยธรรรม และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง
ข้อมูลสุขภาพผู้ป่วย
3. ประเด็นกฎหมายและแนวปฏิบัติในการใช้สื่อออนไลน์ และ
social media
2
1. นโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อออนไลน์ของ
บุคลากรในระบบสาธารณสุข
3
4
องค์ประกอบของ eHealth
(WHO, National eHealth Strategy)
5
6
7
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวง
สาธารณสุข (2560 – 2569)
8
“eHealth คือ เทคโนโลยีดิจิทัลและบริการ ICT ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้
ให้บริการด้านสุขภาพและประชาชน เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการ
สุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง เป็นธรรมและปลอดภัย”
eHealth เป็นการเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ รวมถึง
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ครอบคลุมถึงการรับ-ส่งข้อมูลสุขภาพระหว่าง
หน่วยงานต่างๆ รวมถึงระบบใบสั่งยาอิเล็คทรอนิกส์ บันทึกสุขภาพ
อิเล็คทรอนิกส์ ข้อมูลสุขภาพ ระบบการส่งต่อ เครือข่ายบริการสุขภาพ
Telehealth อุปกรณ์เสริมรวมทั้งอุปกรณ์พกพาต่างๆ ที่ใช้ในระบบสุขภาพ เว็บ
ท่า (Web Portal) สุขภาพ
9
10
11
12
สถานการณ์ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทย
13
➢ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ หรือ eHealth ใน
ประเทศไทย มีการพัฒนาค่อนข้างแพร่หลาย แต่ยังกระจัดกระจาย (fragmented)
ขาดแนวทางพัฒนาที่ชัดเจน รวมถึง ขาดการบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ
➢ ไม่มีหน่วยงานในระดับประเทศที่จะกาหนดยุทธศาสตร์ วางกรอบการพัฒนา
➢ ขาดการกาหนดมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย
กฎหมายคุ้มครองข้อมูลสุขภาพ
ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลสุขภาพของตนอย่างเหมาะสม
อ้างข้อมูล รายงานของ กมธ.สาธารณสุข วุฒิสภา
ข้อเสนอแนะ
14
ข้อเสนอแนะด้านกฎหมาย
เห็นควรเสนอกฎหมายคุ้มครองข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลเป็นกฎหมายเฉพาะ โดย
ต้องไม่ขัดกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล พ.ศ. .... พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข้อเสนอต่อมาตรฐานการส่งต่อข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลถือเป็น sensitive data และควรมีวิธีการ
จัดการข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน และจัดทาขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็น practice
guideline กรณีการส่งต่อหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล
ควรจัดตั้งศูนย์กลางรับผิดชอบระบบข้อมูลสุขภาพของประเทศ
(ภาครัฐและเอกชน)
15
16
17
2. กฎหมาย จริยธรรม และแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลสุขภาพผู้ป่วย
18
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560
19
มาตรา 32 “บุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ
ชื่อเสียง และครอบครัว
การกระทาอันเป็นการละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคลตามวรรค
หนึ่ง หรือการนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าในทางใด ๆ จะ
กระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตรา
ขึ้นเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อประโยชน์สาธารณะ”
 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323
 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 7
 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
หมวด 3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525
 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528
 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542
20
กฎหมายที่มีบทบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323
“ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มี
หน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง
ครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุ
ที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้นแล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่
น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของ
ผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน”
21
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
หมวด 3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
มาตรา ๒๔ หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นหรือ
ผู้อื่น โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้
ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยดังต่อไปนี้
(๔) เป็นการให้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยไม่ระบุชื่อหรือ
ส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด
....
(๗) เป็นการให้ซึ่งจาเป็น เพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อ
ชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล
22
มาตรา 7 “ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ
นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ
เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย
เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิ
ตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร
เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้”
23
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
1) ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
2) การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพที่อาจทาให้บุคคลเสียหาย
3) ข้อยกเว้นในการเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล
กรณีที่ 1 การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล (ผู้ป่วย/
ผู้รับบริการสาธารณสุข)
กรณีที่ 2 มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
24 สาระสาคัญของมาตรา 7
25
“มาตรา 7 ...
.... แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อ
ขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตน
ไม่ได้”
กรณีที่ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนตามมาตรา 7 ตอนท้าย จะต้องจากัด
เฉพาะกรณีการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ที่ทาให้เกิดความเสียหายแก่
บุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลหรือผู้ป่วยหรือผู้รับบริการสาธารณสุขเท่านั้น
26
แนวทางการใช้และการตีความ มาตรา 7
ข้อยกเว้นการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในบางกรณี
27
ก) ผู้ป่วยให้ความยินยอมให้เปิดเผยแก่บุคคลอื่น เช่น การให้ความยินยอม
เปิดเผยข้อมูลสุขภาพในกระบวนการรักษาผู้ป่วยนั้น หรือเป็นความยินยอมในกรณี
อื่น ๆ เช่น การทาประกันชีวิต ประกันสุขภาพ การใช้สิทธิตามระบบประกัน
สุขภาพ (กรณีประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประกันสังคม และสวัสดิการข้าราชการ)
ข) กรณีที่มีการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เช่น
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 พ.ร.บ.สุขภาพ
แห่งชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ข้อยกเว้นการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในบางกรณี
28
ค) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอื่น
เช่น ผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรงที่อาจส่งผลกระทบต่อคนใกล้ชิดหรือบุคคล
รอบข้าง หรือกรณีผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ที่เป็นสามีหรือภริยากัน
ในต่างประเทศ เช่น UK มีกฎหมายและแนวปฏิบัติในการเปิดเผยข้อมูล
คนไข้ที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ชัดเจน โดยถือว่าเป็นข้อยกเว้นในการคุ้มครองสุขภาพ
ของบุคคลอื่น สามารถเปิดเผยให้ผู้ได้รับผลกระทบทราบ สอดคล้องกับหลัก
จริยธรรมทางการแพทย์
ง) กรณีการเปิดเผยข้อมูลเพื่อประโยชน์สาธารณะอื่น ๆ เช่น การเปิดเผย
ข้อมูลผู้ป่วยที่เป็นผู้ต้องสงสัยหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่ออาชญากรรม
ร้ายแรงหรือมีอัตราโทษอาญาสูง หรือการศึกษาวิจัยในบางกรณี
29
แนวปฏิบัตินานาชาติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ
วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ และไพศาล ลิ้มสถิตย์. “ปฏิญญาว่าด ้วยสิทธิผู้ป่ วย
ของแพทยสมาคมโลก” คลินิก ปีที่ 24 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2551)
World Medical Association Declaration on the Rights of the
Patient (1981, 2005)
ไพศาล ลิ้มสถิตย์. “คาแปล คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่า
ด ้วยประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข ้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002”
คลินิก ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 (ก.พ. 2558)
30
8. สิทธิที่จะได้รับการรักษาความลับ (Right to confidentiality)
ก. ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย, อาการเจ็บป่วย, การวินิจฉัยโรค, .... จะต้องถูก
เก็บรักษาไว้เป็นความลับ แม้กระทั่งหลังจากผู้ป่วยเสียชีวิตลง แต่ทายาทมีสิทธิที่จะ
ขอข้อมูลซึ่งจะบ่งบอกถึงความเสี่ยงเกี่ยวกับสุขภาพของเขา
ข. ข้อมูลที่เป็นความลับจะเปิดเผยได้ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยให้ความยินยอมโดยชัดแจ้ง
หรือโดยอานาจแห่งบทบัญญัติกฎหมาย ....เปิดเผยแก่ผู้ให้บริการด้านสุขภาพอื่น
ได้ก็ต่อเมื่อเป็นความจาเป็นที่จะต้องรู้เท่านั้น ....
ค. ข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วยทุกประเภทจะได้รับความคุ้มครอง การคุ้มครองข้อมูล
ส่วนตัวจะต้องจัดเก็บไว้อย่างเหมาะสม ....
ปฏิญญาว่าด้วย “สิทธิผู้ป่วย” ของแพทยสมาคมโลก
31
7. สิทธิที่จะได้รับข้อมูล (Right to information)
ก. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตนเองในเวชระเบียน และได้รับการแจ้ง
ข้อมูลทางสุขภาพของผู้ป่วยทุกประการ รวมถึงข้อมูลการเจ็บป่วยทางการแพทย์
...
ข. ข้อยกเว้นที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ป่วยคือ เมื่อมีเหตุผลอันดีที่เชื่อได้ว่า
ข้อมูลนั้นจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิตหรือสุขภาพของผู้ป่วย
ค. การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยต้องเป็นไปอย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรมของผู้ป่วย และ
เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจได้โดยง่าย
ง. ผู้ป่วยมีสิทธิร้องขอมิให้เปิดเผยข้อมูลแก่บุคคลอื่น ยกเว้นกรณีจาเป็นเพื่อ
ปกป้องชีวิตของบุคคลอื่น
จ. ผู้ป่วยมีสิทธิจะเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่จะได้รับแจ้งข้อมูลแทนตน
ปฏิญญาว่าด้วย “สิทธิผู้ป่วย” ของแพทยสมาคมโลก*
คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่าด้วย
ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002
32
สิทธิส่วนบุคคล (right to privacy) ทาให้บุคคลมีสิทธิควบคุมการใช้และ
การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ความเป็นส่วนตัวในข้อมูลส่วนบุคคลด้าน
สุขภาพของผู้ป่วยจะต้องได้รับความคุ้มครอง โดยถือเป็นหน้าที่ของแพทย์ใน
การรักษาความลับของข้อมูล
การรักษาความลับของข้อมูลเป็นหัวใจของเวชปฏิบัติ และเป็นสิ่งสาคัญใน
การรักษาความไว้วางใจและดารงรักษาความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับ
ผู้ป่วย เป็นที่ทราบกันดีว่าความเป็นส่วนตัวที่ได้รับการเคารพนั้น จะช่วยให้
ผู้ป่วยมีอิสระและกล้าที่จะเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นความลับแก่แพทย์ที่
ให้การรักษา
33
การรักษาความลับของข้อมูล
12. แพทย์ทุกคนจะต้องรับผิดชอบเป็นการส่วนตัว ในเรื่องการรักษา
ความลับในข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพที่อยู่ในความครอบครองของ
แพทย์ แพทย์จะต้องดาเนินการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วน
บุคคลด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ, การส่งหรือ
การรับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ รวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
14. มาตรการป้องกันจะต้องใช้ในกรณีที่มีการใช้หรือการเข้าถึงข้อมูล
ส่วนบุคคลด้านสุขภาพในฐานข้อมูลที่ไม่เหมาะสมหรือไม่มีอานาจ และ
ต้องรักษาความถูกต้องของข้อมูล (authenticity of the data) เมื่อมีการ
รับส่งข้อมูลเกิดขึ้นจะต้องคานึงถึงความปลอดภัย
คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่าด้วย
ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002
คาประกาศ "สิทธิ" และ "ข้อพึงปฏิบัติ”ของผู้ป่วย (12 ส.ค.2558)
34
สิทธิของผู้ป่วย
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑
(รจ. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๒๔ ง , ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ขอบเขตในการใช้
ส่วนราชการ หน่วยงาน โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล สถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
สถานะทางกฎหมาย
เป็นระเบียบปฏิบัติของ สธ. ไม่มีสถานะเป็นกฎหมาย
จึงไม่สามารถใช้บังคับกับภาคเอกชน หรือหน่วยงานอื่น
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑
❖ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ฯ ฉบับนี้ มีเนื้อหาบางประการที่ขัดหรือ
แย้งกับกฎหมายอื่น เช่น พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ๒๕๔๐
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ๒๕๕๐ มาตรา 7
❖มีเนื้อหาที่ขัดต่อแนวปฏิบัติของสากล
❖มีเนื้อหากากวม เปิดให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องใช้ดุลพินิจค่อนข้างมาก
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑
“ระเบียนสุขภาพ” หมายความว่า ทะเบียนหรือรายการ ข้อมูลด้านสุขภาพ
ของบุคคลที่กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน นามาเก็บ
จัดการ ใช้และเปิดเผยเพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลตามระเบียบนี้
“เจ้าของข้อมูล” หมายความว่า บุคคลผู้เป็นเจ้าของข้อมูลด้านสุขภาพ
“ผู้ควบคุมข้อมูล” หมายความว่า ส่วนราชการ หน่วยงาน โรงพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
และหมายความรวมถึงสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล
พ.ศ. ๒๕๔๑ และหน่วยงานของรัฐอื่นที่ประสงค์เข้าร่วมใช้ข้อมูลด้านสุขภาพ
ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขซึ่งเป็นผู้จัดทา เก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูล
ด้านสุขภาพของบุคคล
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑
มีเนื้อหาละเมิดสิทธิของบุคคล ไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสากล
และอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 32
ข้อ ๑๕ บุคคลดังต่อไปนี้มีอานาจขอให้ผู้ควบคุมข้อมูล เปิดเผยข้อมูลด้าน
สุขภาพของบุคคลโดยไม่จาต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลหรือผู้มี
อานาจกระทาการคือ ศาล พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่ตารวจ คณะกรรมาธิการ
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่มีกฎหมายให้อานาจในการ
เรียกเอกสารข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลได้ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้หลักการไม่เป็น
การนาข้อมูลไปใช้ในทางให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูลหรือทายาท
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑
เนื้อหาขัดกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 มาตรา 24
ข้อ ๒๑ ผู้ควบคุมข้อมูล อาจขอให้เจ้าของข้อมูลให้ความยินยอมล่วงหน้าในการ
เปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ต่อบุคลากรทางการแพทย์ของผู้ควบคุมข้อมูลในการปฏิบัติงานในหน้าที่ หรือ
เพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล
(๒) เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชื่อ หรือส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลด้าน
สุขภาพของบุคคลใด
(๓) เป็นการจาเป็นเพื่อการป้องกัน หรือระงับอันตรายต่อชีวิต หรือสุขภาพของบุคคล
(๔) มีเหตุจาเป็นอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล (ถ้ามี)
ข้อ ๒๑ (ต่อ)
ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ต้องอธิบายให้เจ้าของข้อมูลทราบและเข้าใจด้วย
ในกรณีเป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการพัฒนางานด้านสุขภาพของผู้ควบคุม
ข้อมูลถือเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่และอานาจของผู้ควบคุมข้อมูลให้สามารถ
ดาเนินการได้โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล
43
แนวทางปฏิบัติทั่วไปสาหรับเจ้าหน้าที่ทุกคน
ที่มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยของโรงพยาบาล (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
2. ห้ามเผยแพร่ ทาสาเนา ถ่ายภาพ เปลี่ยนแปลง ลบทิ้ง หรือทาลายข้อมูลผู้ป่วย ใน
เวชระเบียนและในระบบคอมพิวเตอร์ทุกกรณี นอกจากได้รับมอบหมายให้ดาเนินการ
จากผู้อานวยการ
5. ห้ามส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้ช่องทางที่ไม่เหมาะสม เช่น ส่งทาง LINE หรือ
Social Media
7. ห้ามใช้คอมพิวเตอร์ของสถานพยาบาลเปิดไฟล์จากภายนอกทุกกรณี สาหรับการ
เปิดไฟล์งานจากหน่วยงานภายในให้ตรวจหาไวรัสภายในไฟล์ทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์
44
การใช้ LINE ของบุคลากรทางการแพทย์*
1.5 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์ และ
ผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาล สถานบริการสาธารณสุข ควรหลีกเลี่ยงการส่ง
เวชระเบียนผู้ป่วยผ่านแอพพลิเคชั่นหรือวิธีการที่ไม่มีระบบรักษาความ
ปลอดภัย หรือมีความเสี่ยงที่จะมีการนาข้อมูลในเวชระเบียนไปเผยแพร่ได้
เช่น การใช้โปรแกรม LINE ส่งเวชระเบียนไปยังบุคคลหลายคน ก็อาจมี
ความเสี่ยงที่ข้อมูลผู้ป่วยจะถูกส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการรักษา
ผู้ป่วย หรือมีการนาไปเผยแพร่ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วยได้
*(ร่าง) แนวปฏิบัติตามมาตรา 7 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข จัดทา
โดย ศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มธ. (ก.ค.2560)
45
3. ประเด็นกฎหมายและแนวปฏิบัติ
ในการใช้สื่อออนไลน์ และ social media
46
47
“ประเทศไทย” ใช้เวลาต่อวันอยู่กับอินเทอร์เน็ตมากที่สุดในโลก (รวมทุก
อุปกรณ์) โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 9 ชั่วโมง 38 นาทีต่อวัน
การใช้งานอินเทอร์เน็ตบนสมาร์ทโฟน “ไทย” ยังคงเป็นประเทศที่ใช้เวลา
ท่องเน็ตต่อวันมากที่สุดในโลกเช่นกัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 4 ชั่วโมง 56 นาที
48
สรุปข้อมูลการใช้ social media ของไทย
➢ คนไทย ใช้เวลาเข้าอินเทอร์เน็ตต่อวัน... เสพติดเน็ต มากที่สุดในโลก
➢ คนไทย 51 ล้านคนใช้ Social Media
➢ 46 ล้านคนใช้ Social Media ผ่าน “Mobile Device”
➢ “Facebook” ยังคงเป็น Social Media ยอดนิยมอันดับ 1 ของคนไทย / อันดับ
2 คือ “YouTube / อันดับ 3 “LINE” / อันดับ 4 “Facebook Messenger” /
อันดับ 5 “Instagram”
➢ “กรุงเทพฯ” ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีผู้ใช้ Facebook มากที่สุดในโลก
➢ อันดับแอปพลิเคชันที่มีการใช้งานสูงสุดในไทย ได้แก่ อันดับ 1 LINE อันดับ 2
Facebook อันดับ 3 Facebook Messenger อันดับ 4 Instagram
49
social media มีข้อดีหรือประโยชน์หลายประการ
➢บุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ พยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพด้าน
สาธารณสุขอื่น ๆ และนักศึกษา สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล
ความรู้ ประสบการณ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้สะดวกมากขึ้น หรือทาให้
เกิดเครือข่ายความร่วมมือขององค์กรต่าง ๆ
➢ผู้ป่วย คนทั่วไป สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ ด้านสุขภาพได้ง่าย
มากขึ้น ประชาชนสามารถดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นตนเองได้
ไม่จาเป็นต้องไปพบแพทย์
50
ประเด็นท้าทายในการใช้ social media ของ
บุคลากรในระบบสาธารณสุข (ระบบสุขภาพ)
ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็น
การเฉพาะเหมือนในต่างประเทศ (ร่างพระราชบัญญัติ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... )
การใช้ social media เพื่อแลกเปลี่ยนหรือส่งข้อมูลสุขภาพ
ของผู้ป่วยอาจมีอุปสรรคหรือเกิดปัญหา หากไม่มีกฎหมาย
กฎเกณฑ์ที่ชัดเจนในเรื่องนี้
การพัฒนานโยบายและมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
ของสถานพยาบาล
51
52
53
54
55
56
Source: WHO, Legal frameworks for eHealth: based on the findings of
the second global survey on eHealth (2012).
Google DeepMind patient data deal with UK health service
 A data sharing deal between Google's DeepMind and the
U.K.'s National Health Service "failed to comply with data
protection law", the U.K.'s Information Commissioner's Office
(ICO) said.
 DeepMind — which Google acquired in 2014 — struck a deal
in 2015 with the Royal Free NHS Foundation Trust which runs a
number of hospitals in Britain. The Google company got
access to a wide range of health information from 1.6 million
patients, according to the full agreement which was revealed
by New Scientist in April 2016.
 The deal between the two parties was aimed at developing a
new app called Streams that helped monitor patients with
acute kidney disease.
https://www.cnbc.com/2017/07/03/google-deepmind-nhs-
deal-health-data-illegal-ico-says.html
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ social media
❖พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
❖ ประมวลกฎหมายอาญา (หมิ่นประมาท/ การครอบครองสื่อลามกอนาจาร
เด็ก)
❖ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค, พ.ร.บ.ขายตรงและ
ตลาดแบบตรง พ.ร.บ.ยา พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดี
ผู้บริโภค ฯลฯ)
❖ กฎหมายอื่น ๆ เช่น พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายพนัน
58
ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....
(ฉบับผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วาระ 2 )
59
เหตุผล
เนื่องจากปัจจุบันมีการล่วงละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคล
เป็นจานวนมากจนสร้างความเดือดร้อนราคาญหรือความเสียหายให้แก่เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคล ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้การเก็บรวบรวม การใช้
และการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลอันเป็นการล่วงละเมิดดังกล่าว ทาได้โดยง่าย สะดวก
และรวดเร็ว ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวม สมควรกาหนดให้มีกฎหมาย
ว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นการทั่วไปขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก
หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นหลักการ
ทั่วไป จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
60 มาตรา ๓ ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้โดยเฉพาะแล้ว
ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น เว้นแต่
(๑) บทบัญญัติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม การใช้หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วน
บุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้งบท
กาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้เป็นการ
เพิ่มเติม ไม่ว่าจะซ้ากับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้นหรือไม่ก็ตาม
(๒) บทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน บทบัญญัติที่ให้อานาจแก่
คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และ
บทบัญญัติเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้งบทกาหนดโทษที่
เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีดังต่อไปนี้ ...
61
“ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัว
บุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม
โดยเฉพาะ
“ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอานาจ
หน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
“ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง
ดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งหรือ
ในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดาเนินการ
ดังกล่าวไม่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
“บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดา
62
มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
ไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่ง
พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระทาได้
การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดยผ่าน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดยสภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการ
ดังกล่าวได้
....
มาตรา ๒๒ การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ให้เก็บรวบรวมได้
เท่าที่จาเป็นภายใต้วัตถุประสงค์อันชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคล
63
มาตรา ๒๖ ห้ามมิให้เก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความ
คิดเห็นทางการเมือง ความเชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติ
อาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลชีวภาพ หรือ
ข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกาหนด โดยไม่ได้รับความยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่
(๑) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลซึ่งเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม
(๒) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสมของ
มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเมือง ศาสนา
ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็นสมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่าง
สม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดย
ไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหา
กาไรนั้น
(๓) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคล
64
(๔) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือ
การใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย
(๕) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
(ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน
ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม
การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน
สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่
ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูลส่วนบุคคล
นั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่างเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
(ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพ
จากโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ
การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ….
General Data Protection Regulation (2016), Article 9
Processing of special categories of personal data
1. Processing of personal data revealing racial or ethnic
origin, political opinions, religious or philosophical beliefs, or
trade union membership, and the processing of genetic data,
biometric data for the purpose of uniquely identifying a natural
person, data concerning health or data concerning a natural
person's sex life or sexual orientation shall be prohibited.
2.Paragraph 1 shall not apply if one of the following applies:
(h) processing is necessary for the purposes of preventive or
occupational medicine, for the assessment of the working
capacity of the employee, medical diagnosis, the provision of
health or social care or treatment or the management of health
or social care systems and services on the basis of Union or
Member State law or pursuant to contract with a health
professional and subject to the conditions and safeguards
referred to in paragraph 3;
65
General Data Protection Regulation (2016), Article 9
Processing of special categories of personal data
2.Paragraph 1 shall not apply if one of the following applies:
…
(i) processing is necessary for reasons of public interest in the
area of public health, such as protecting against serious cross-
border threats to health or ensuring high standards of quality and
safety of health care and of medicinal products or medical devices,
on the basis of Union or Member State law which provides for
suitable and specific measures to safeguard the rights and
freedoms of the data subject, in particular professional secrecy;
4.Member States may maintain or introduce further conditions,
including limitations, with regard to the processing of genetic data,
biometric data or data concerning health.
66
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 (แก้ไข พ.ศ. 2560)
67
68
69
70
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
(แก้ไข พ.ศ. 2560)
มาตรา 14 (1) มีปัญหาเรื่องการตีความ อาจกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของ
ประชาชน
(๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่
ประชาชน อันมิใช่การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมาย
อาญา
71
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
(แก้ไข พ.ศ. 2560)
การใช้มาตรา 14 (1) กับเรื่องการแสดงความคิดเห็นออนไลน์ กฎหมายมาตรา 14 (1)
มุ่งเอาผิดกับผู้ที่นาข้อมูลที่ปลอมหรือเท็จเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อหลอกลวงผู้อื่นให้เข้าทา
ธุรกรรมต่าง ๆ แต่เนื่องจากข้อความที่กฎหมายเขียนค่อนข้างกว้างและสามารถตีความได้
หลากหลาย จึงทาให้มีผู้ตีความให้รวมถึงการแสดงความเห็นไม่ว่าประการใด ๆ ลงบนระบบ
คอมพิวเตอร์ด้วย
การตีความ “การนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่
ประชาชน” กฎหมายมิได้บัญญัติว่า ข้อมูลปลอมหรือเท็จนั้นก่อให้เกิดความเสียหายใน
ลักษณะใด (ต่างจาก กรณีความผิดฐานฉ้อโกง ซึ่งเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สินของผู้ถูก
หลอกลวง) จึงอาจบังคับใช้กฎหมายที่ผิดไปจากเจตนารมณ์ของกฎหมาย
72
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
(แก้ไข พ.ศ. 2560)
มาตรา 14 ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่
น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ
ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้าง
พื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนก
แก่ประชาชน
73
74
75
โดนแล้ว! 10 ดารา-เน็ตไอดอลรีวิวเมจิกสกิน
ตร.เรียกรับทราบข้อหาสิ้นเดือนนี้
76
 วันที่ 14 ธ.ค.2561 พล.ต.อ.วิระชัย ทรงเมตตา รอง ผบ.ตร. ในฐานะหัวหน้า
พนักงานสอบสวนคดีผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ไม่ได้คุณภาพ ใน
เครือบริษัท เมจิกสกิน พร้อมตัวแทนจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
(อย.) แถลงความคืบหน้าการดาเนินคดีกับศิลปิน ดารา นักแสดง ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการรีวิวสินค้า ที่ผ่านมามีดารา นักแสดงรีวิวสินค้าดังกล่าว 59 คน คิด
เป็น 106 รายการโฆษณา จากการตรวจสอบพบการกระทาความผิดตามพ.ร.บ.
อาหาร มาตรา 41 พ.ศ.2522 จานวน 46 คน และรอผลการพิจารณาความผิด
ตาม พ.ร.บ.เครื่องสาอาง พ.ศ.2558 จานวน 27 คน
พล.ต.อ.วิระชัย กล่าวว่า สาหรับดารานักแสดงที่พบการกระทาความผิด 46 คน
นั้น คดีขาดอายุความ ไม่สามารถดาเนินคดีได้ 36 ราย เหลือเพียง 10 ราย ที่
จะต้องถูกดาเนินคดี ในฐานความผิดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณ
เพื่อประโยชน์ทางการค้าโดยไม่ได้รับอนุญาต อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.อาหารฯ
มาตรา 41 มีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_1953510
“หมอบอนด์” แจงไม่เจตนารีวิวสินค้าเมจิกสกิน
แค่เอาใจเมียช่วยขายของ
77
นพ.ปิยะพงษ์กล่าวว่า คลิปวิดีโอที่เผยแพร่ออกไปไม่ใช่เป็นการรีวิวสินค้า โดยวันนั้น
ตนไปงานรับปริญญาน้องสาวของ น.ส.ปวีณา และหญิงย้วย 1 ใน 8 ผู้ต้องหา ได้
ชวนมาไลฟ์สด ตอนนั้นไม่ได้คิดจะรีวิวสินค้า ไม่ได้คิดอะไร เพราะตนไม่ได้ขายสินค้า
และไม่เกี่ยวข้องกับเจ้าของผลิตภัณฑ์ เขาให้ช่วยไลฟ์สดก็ทาไป เพียงแค่ต้องการขาย
ของช่วยภรรยาเท่านั้น ยืนยันไม่มีเจตนา ไม่มีค่าจ้าง ไม่มีสัญญา ไม่มีการโอนเงินเข้า
บัญชี ตรงนี้สามารถตรวจสอบได้ ส่วนกรณีสวมเสื้อกาวน์ไลฟ์สดนั้นปกติตนมีเสื้อไว้
ในรถอยู่แล้ว และไม่ได้คิดอะไร ไม่รู้ว่าจะผิดจรรยาบรรณด้วย
78
แพทยสภา ฟ้ องหมิ่นประมาท
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 แพทยสภามอบอานาจให้ นพ.สมศักดิ์ โล่เลขา
ฟ้อง นางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา เครือข่ายผู้เสียหายทาง
การแพทย์ ในความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา
และ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
มาตรา 14
20 เมษายน 2561 แพทยสภาถอนฟ้อง แต่กรรมการแพทยสภาบาง
ท่านกดดัน นพ. สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์ เลขาแพทสภาขณะนั้น จน
ต้องลาออก
แพทยสภาในหลายประเทศ เป็นองค์กรวิชาชีพที่สามารถถูกตรวจสอบ
ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชนได้ แพทยสภาต่างประเทศนาความเห็น
ต่าง ๆ มาปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กรให้มีความน่าเชื่อถือในสายตา
ประชาชน
79
แนวปฏิบัติการใช้ social media/network ของไทย
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการใช้
งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559 (ลงวันที่
30 ธันวาคม 2559)
ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Social Network) ของบุคลากรและนักศึกษาของ
มหาวิทยาลัยมหิดล (23 มกราคม 2556)
ประกาศคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เรื่อง “ข้อกาหนดการ
ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
พ.ศ.2556” (14 พฤษภาคม 2556)
80
81
https://www.nationalhealth.or.th/node/165
4
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ
ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙
หมวด ๔ ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism)
ข้อ ๑๒ หลักการรักษาความเป็นวิชาชีพตลอดเวลา (Maintaining
Professionalism)
ข้อ ๑๓ หลัก “คิดก่อนโพสต์” (Pausing Before Posting)
ข้อ ๑๔ หลักการมีพฤติกรรมออนไลน์อย่างเหมาะสม (Appropriate
Behaviors Online)
ข้อ ๑๕ หลักการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวอย่างเหมาะสมและแยกเรื่องส่วนตัว
กับวิชาชีพ
ข้อ ๑๖ หลักการตรวจสอบเนื้อหาออนไลน์ของตนอยู่เสมอ
ข้อ ๑๗ หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับผู้ป่วย
82
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ
ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙
หมวด ๕ การคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย
ข้อ ๑๙ หลักการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและการไม่เปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ข้อ ๒๐ หลักการให้ความยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าว
หมวด ๖ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
ข้อ ๒๑ หลักการไม่โฆษณา (Non-Advertising)
ข้อ ๒๒ หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน (Full Disclosure)
83
3 สภา"ทันตฯ-พยาบาล-เภสัช ฮึ่ม!จ่อฟันบุคคลากร
ในสังกัดวิวสินค้า
84
ผศ.อังคณา สริยาภรณ์ เลขาธิการสภาการพยาบาล กล่าวว่า
โดยปกติผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ต้องไม่ทาการจูงใจหรือชักชวน
ผู้อื่นให้รับบริการพยาบาลเพื่อประโยชน์ของตนเอง ซึ่งรวมการห้าม
โฆษณาสินค้าด้วย
หากมีการกระทาเกิดขึ้น มีผู้ร้องเรียนเข้ามา สภาการพยาบาลจะทาการ
ตรวจสอบผู้ถูกร้องเรียนว่า เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ภายใต้การกากับดูแลของสภาการพยาบาลหรือไม่
https://www.thaipost.net/main/detail/8318
85
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
๓๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่โฆษณา ใช้ จ้าง หรือยินยอมให้ผู้อื่น
โฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ความรู้
ความชานาญในการประกอบวิชาชีพของตนหรือของผู้อื่น
86
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อ ๓๑ การโฆษณาตามข้อ ๓๐ อาจกระทาได้ในกรณี ต่อไปนี้
(๑) การแสดงผลงานในวารสารทางวิชาการหรือในการประชุมวิชาการ
(๒) การแสดงผลงานในหน้าที่หรือในการบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ
(๓) การแสดงผลงานหรือความก้าวหน้าทางวิชาการเพื่อการศึกษาของมวลชน
(๔) การประกาศเกียรติคุณเป็นทางการโดยสถาบันวิชาการ สมาคมหรือ
มูลนิธิ
ทั้งนี้ ต้องละเว้นการแสวงหาประโยชน์ที่จะเกิดต่อการประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ส่วนบุคคล
87

More Related Content

Similar to กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf

Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5Chuchai Sornchumni
 
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 

Similar to กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf (20)

Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)
PHRs and (Draft) Personal Data Protection Act (May 15, 2019)
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...
Patient Privacy in Hospital Information Systems: Rules & Regulation Framework...
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 

กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf

  • 2. เนื้อหาการนาเสนอ 1. นโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อออนไลน์ของบุคลากร ในระบบสาธารณสุข 2. กฎหมาย จริยธรรรม และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง ข้อมูลสุขภาพผู้ป่วย 3. ประเด็นกฎหมายและแนวปฏิบัติในการใช้สื่อออนไลน์ และ social media 2
  • 4. 4
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข (2560 – 2569) 8 “eHealth คือ เทคโนโลยีดิจิทัลและบริการ ICT ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ ให้บริการด้านสุขภาพและประชาชน เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการ สุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง เป็นธรรมและปลอดภัย” eHealth เป็นการเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ รวมถึง ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ครอบคลุมถึงการรับ-ส่งข้อมูลสุขภาพระหว่าง หน่วยงานต่างๆ รวมถึงระบบใบสั่งยาอิเล็คทรอนิกส์ บันทึกสุขภาพ อิเล็คทรอนิกส์ ข้อมูลสุขภาพ ระบบการส่งต่อ เครือข่ายบริการสุขภาพ Telehealth อุปกรณ์เสริมรวมทั้งอุปกรณ์พกพาต่างๆ ที่ใช้ในระบบสุขภาพ เว็บ ท่า (Web Portal) สุขภาพ
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12
  • 13. สถานการณ์ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทย 13 ➢ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ หรือ eHealth ใน ประเทศไทย มีการพัฒนาค่อนข้างแพร่หลาย แต่ยังกระจัดกระจาย (fragmented) ขาดแนวทางพัฒนาที่ชัดเจน รวมถึง ขาดการบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ ➢ ไม่มีหน่วยงานในระดับประเทศที่จะกาหนดยุทธศาสตร์ วางกรอบการพัฒนา ➢ ขาดการกาหนดมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย กฎหมายคุ้มครองข้อมูลสุขภาพ ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ประโยชน์จากข้อมูลสุขภาพของตนอย่างเหมาะสม อ้างข้อมูล รายงานของ กมธ.สาธารณสุข วุฒิสภา
  • 14. ข้อเสนอแนะ 14 ข้อเสนอแนะด้านกฎหมาย เห็นควรเสนอกฎหมายคุ้มครองข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลเป็นกฎหมายเฉพาะ โดย ต้องไม่ขัดกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล พ.ศ. .... พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อเสนอต่อมาตรฐานการส่งต่อข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลถือเป็น sensitive data และควรมีวิธีการ จัดการข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน และจัดทาขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็น practice guideline กรณีการส่งต่อหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล ควรจัดตั้งศูนย์กลางรับผิดชอบระบบข้อมูลสุขภาพของประเทศ (ภาครัฐและเอกชน)
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 2. กฎหมาย จริยธรรม และแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลสุขภาพผู้ป่วย 18
  • 19. รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 19 มาตรา 32 “บุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว การกระทาอันเป็นการละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคลตามวรรค หนึ่ง หรือการนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าในทางใด ๆ จะ กระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตรา ขึ้นเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อประโยชน์สาธารณะ”
  • 20.  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323  พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 7  พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 หมวด 3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525  พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528  พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 20 กฎหมายที่มีบทบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ
  • 21. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 “ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มี หน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง ครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุ ที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้นแล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่ น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของ ผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน” 21
  • 22. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 หมวด 3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล มาตรา ๒๔ หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นหรือ ผู้อื่น โดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลที่ให้ ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยดังต่อไปนี้ (๔) เป็นการให้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยไม่ระบุชื่อหรือ ส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด .... (๗) เป็นการให้ซึ่งจาเป็น เพื่อการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อ ชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล 22
  • 23. มาตรา 7 “ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิ ตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้” 23 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
  • 24. 1) ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล 2) การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพที่อาจทาให้บุคคลเสียหาย 3) ข้อยกเว้นในการเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล กรณีที่ 1 การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล (ผู้ป่วย/ ผู้รับบริการสาธารณสุข) กรณีที่ 2 มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย 24 สาระสาคัญของมาตรา 7
  • 25. 25
  • 26. “มาตรา 7 ... .... แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิตาม กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อ ขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตน ไม่ได้” กรณีที่ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนตามมาตรา 7 ตอนท้าย จะต้องจากัด เฉพาะกรณีการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ที่ทาให้เกิดความเสียหายแก่ บุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลหรือผู้ป่วยหรือผู้รับบริการสาธารณสุขเท่านั้น 26 แนวทางการใช้และการตีความ มาตรา 7
  • 27. ข้อยกเว้นการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในบางกรณี 27 ก) ผู้ป่วยให้ความยินยอมให้เปิดเผยแก่บุคคลอื่น เช่น การให้ความยินยอม เปิดเผยข้อมูลสุขภาพในกระบวนการรักษาผู้ป่วยนั้น หรือเป็นความยินยอมในกรณี อื่น ๆ เช่น การทาประกันชีวิต ประกันสุขภาพ การใช้สิทธิตามระบบประกัน สุขภาพ (กรณีประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประกันสังคม และสวัสดิการข้าราชการ) ข) กรณีที่มีการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เช่น พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 พ.ร.บ.สุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
  • 28. ข้อยกเว้นการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในบางกรณี 28 ค) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอื่น เช่น ผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรงที่อาจส่งผลกระทบต่อคนใกล้ชิดหรือบุคคล รอบข้าง หรือกรณีผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ที่เป็นสามีหรือภริยากัน ในต่างประเทศ เช่น UK มีกฎหมายและแนวปฏิบัติในการเปิดเผยข้อมูล คนไข้ที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ชัดเจน โดยถือว่าเป็นข้อยกเว้นในการคุ้มครองสุขภาพ ของบุคคลอื่น สามารถเปิดเผยให้ผู้ได้รับผลกระทบทราบ สอดคล้องกับหลัก จริยธรรมทางการแพทย์ ง) กรณีการเปิดเผยข้อมูลเพื่อประโยชน์สาธารณะอื่น ๆ เช่น การเปิดเผย ข้อมูลผู้ป่วยที่เป็นผู้ต้องสงสัยหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่ออาชญากรรม ร้ายแรงหรือมีอัตราโทษอาญาสูง หรือการศึกษาวิจัยในบางกรณี
  • 29. 29 แนวปฏิบัตินานาชาติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ และไพศาล ลิ้มสถิตย์. “ปฏิญญาว่าด ้วยสิทธิผู้ป่ วย ของแพทยสมาคมโลก” คลินิก ปีที่ 24 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2551) World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient (1981, 2005) ไพศาล ลิ้มสถิตย์. “คาแปล คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่า ด ้วยประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข ้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002” คลินิก ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 (ก.พ. 2558)
  • 30. 30 8. สิทธิที่จะได้รับการรักษาความลับ (Right to confidentiality) ก. ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย, อาการเจ็บป่วย, การวินิจฉัยโรค, .... จะต้องถูก เก็บรักษาไว้เป็นความลับ แม้กระทั่งหลังจากผู้ป่วยเสียชีวิตลง แต่ทายาทมีสิทธิที่จะ ขอข้อมูลซึ่งจะบ่งบอกถึงความเสี่ยงเกี่ยวกับสุขภาพของเขา ข. ข้อมูลที่เป็นความลับจะเปิดเผยได้ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยให้ความยินยอมโดยชัดแจ้ง หรือโดยอานาจแห่งบทบัญญัติกฎหมาย ....เปิดเผยแก่ผู้ให้บริการด้านสุขภาพอื่น ได้ก็ต่อเมื่อเป็นความจาเป็นที่จะต้องรู้เท่านั้น .... ค. ข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วยทุกประเภทจะได้รับความคุ้มครอง การคุ้มครองข้อมูล ส่วนตัวจะต้องจัดเก็บไว้อย่างเหมาะสม .... ปฏิญญาว่าด้วย “สิทธิผู้ป่วย” ของแพทยสมาคมโลก
  • 31. 31 7. สิทธิที่จะได้รับข้อมูล (Right to information) ก. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตนเองในเวชระเบียน และได้รับการแจ้ง ข้อมูลทางสุขภาพของผู้ป่วยทุกประการ รวมถึงข้อมูลการเจ็บป่วยทางการแพทย์ ... ข. ข้อยกเว้นที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ป่วยคือ เมื่อมีเหตุผลอันดีที่เชื่อได้ว่า ข้อมูลนั้นจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิตหรือสุขภาพของผู้ป่วย ค. การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยต้องเป็นไปอย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรมของผู้ป่วย และ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจได้โดยง่าย ง. ผู้ป่วยมีสิทธิร้องขอมิให้เปิดเผยข้อมูลแก่บุคคลอื่น ยกเว้นกรณีจาเป็นเพื่อ ปกป้องชีวิตของบุคคลอื่น จ. ผู้ป่วยมีสิทธิจะเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่จะได้รับแจ้งข้อมูลแทนตน ปฏิญญาว่าด้วย “สิทธิผู้ป่วย” ของแพทยสมาคมโลก*
  • 32. คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่าด้วย ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002 32 สิทธิส่วนบุคคล (right to privacy) ทาให้บุคคลมีสิทธิควบคุมการใช้และ การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ความเป็นส่วนตัวในข้อมูลส่วนบุคคลด้าน สุขภาพของผู้ป่วยจะต้องได้รับความคุ้มครอง โดยถือเป็นหน้าที่ของแพทย์ใน การรักษาความลับของข้อมูล การรักษาความลับของข้อมูลเป็นหัวใจของเวชปฏิบัติ และเป็นสิ่งสาคัญใน การรักษาความไว้วางใจและดารงรักษาความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับ ผู้ป่วย เป็นที่ทราบกันดีว่าความเป็นส่วนตัวที่ได้รับการเคารพนั้น จะช่วยให้ ผู้ป่วยมีอิสระและกล้าที่จะเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นความลับแก่แพทย์ที่ ให้การรักษา
  • 33. 33 การรักษาความลับของข้อมูล 12. แพทย์ทุกคนจะต้องรับผิดชอบเป็นการส่วนตัว ในเรื่องการรักษา ความลับในข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพที่อยู่ในความครอบครองของ แพทย์ แพทย์จะต้องดาเนินการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วน บุคคลด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ, การส่งหรือ การรับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ รวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 14. มาตรการป้องกันจะต้องใช้ในกรณีที่มีการใช้หรือการเข้าถึงข้อมูล ส่วนบุคคลด้านสุขภาพในฐานข้อมูลที่ไม่เหมาะสมหรือไม่มีอานาจ และ ต้องรักษาความถูกต้องของข้อมูล (authenticity of the data) เมื่อมีการ รับส่งข้อมูลเกิดขึ้นจะต้องคานึงถึงความปลอดภัย คาแถลงการณ์ของแพทยสมาคมโลกว่าด้วย ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับฐานข้อมูลสุขภาพ ค.ศ. 2002
  • 34. คาประกาศ "สิทธิ" และ "ข้อพึงปฏิบัติ”ของผู้ป่วย (12 ส.ค.2558) 34 สิทธิของผู้ป่วย
  • 35. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ (รจ. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๒๔ ง , ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ขอบเขตในการใช้ ส่วนราชการ หน่วยงาน โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล สถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สถานะทางกฎหมาย เป็นระเบียบปฏิบัติของ สธ. ไม่มีสถานะเป็นกฎหมาย จึงไม่สามารถใช้บังคับกับภาคเอกชน หรือหน่วยงานอื่น
  • 36. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ ❖ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ฯ ฉบับนี้ มีเนื้อหาบางประการที่ขัดหรือ แย้งกับกฎหมายอื่น เช่น พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ๒๕๔๐ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ๒๕๕๐ มาตรา 7 ❖มีเนื้อหาที่ขัดต่อแนวปฏิบัติของสากล ❖มีเนื้อหากากวม เปิดให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องใช้ดุลพินิจค่อนข้างมาก
  • 37. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ “ระเบียนสุขภาพ” หมายความว่า ทะเบียนหรือรายการ ข้อมูลด้านสุขภาพ ของบุคคลที่กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน นามาเก็บ จัดการ ใช้และเปิดเผยเพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลตามระเบียบนี้ “เจ้าของข้อมูล” หมายความว่า บุคคลผู้เป็นเจ้าของข้อมูลด้านสุขภาพ “ผู้ควบคุมข้อมูล” หมายความว่า ส่วนราชการ หน่วยงาน โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และหมายความรวมถึงสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และหน่วยงานของรัฐอื่นที่ประสงค์เข้าร่วมใช้ข้อมูลด้านสุขภาพ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขซึ่งเป็นผู้จัดทา เก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูล ด้านสุขภาพของบุคคล
  • 38. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ มีเนื้อหาละเมิดสิทธิของบุคคล ไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสากล และอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 32 ข้อ ๑๕ บุคคลดังต่อไปนี้มีอานาจขอให้ผู้ควบคุมข้อมูล เปิดเผยข้อมูลด้าน สุขภาพของบุคคลโดยไม่จาต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลหรือผู้มี อานาจกระทาการคือ ศาล พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่ตารวจ คณะกรรมาธิการ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่มีกฎหมายให้อานาจในการ เรียกเอกสารข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลได้ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้หลักการไม่เป็น การนาข้อมูลไปใช้ในทางให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูลหรือทายาท
  • 39. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การคุ้มครองและจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ เนื้อหาขัดกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 มาตรา 24 ข้อ ๒๑ ผู้ควบคุมข้อมูล อาจขอให้เจ้าของข้อมูลให้ความยินยอมล่วงหน้าในการ เปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ต่อบุคลากรทางการแพทย์ของผู้ควบคุมข้อมูลในการปฏิบัติงานในหน้าที่ หรือ เพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล (๒) เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชื่อ หรือส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลด้าน สุขภาพของบุคคลใด (๓) เป็นการจาเป็นเพื่อการป้องกัน หรือระงับอันตรายต่อชีวิต หรือสุขภาพของบุคคล (๔) มีเหตุจาเป็นอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล (ถ้ามี)
  • 40. ข้อ ๒๑ (ต่อ) ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ต้องอธิบายให้เจ้าของข้อมูลทราบและเข้าใจด้วย ในกรณีเป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อการพัฒนางานด้านสุขภาพของผู้ควบคุม ข้อมูลถือเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่และอานาจของผู้ควบคุมข้อมูลให้สามารถ ดาเนินการได้โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล
  • 41.
  • 42.
  • 43. 43
  • 44. แนวทางปฏิบัติทั่วไปสาหรับเจ้าหน้าที่ทุกคน ที่มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยของโรงพยาบาล (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข) 2. ห้ามเผยแพร่ ทาสาเนา ถ่ายภาพ เปลี่ยนแปลง ลบทิ้ง หรือทาลายข้อมูลผู้ป่วย ใน เวชระเบียนและในระบบคอมพิวเตอร์ทุกกรณี นอกจากได้รับมอบหมายให้ดาเนินการ จากผู้อานวยการ 5. ห้ามส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้ช่องทางที่ไม่เหมาะสม เช่น ส่งทาง LINE หรือ Social Media 7. ห้ามใช้คอมพิวเตอร์ของสถานพยาบาลเปิดไฟล์จากภายนอกทุกกรณี สาหรับการ เปิดไฟล์งานจากหน่วยงานภายในให้ตรวจหาไวรัสภายในไฟล์ทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์ 44
  • 45. การใช้ LINE ของบุคลากรทางการแพทย์* 1.5 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์ และ ผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาล สถานบริการสาธารณสุข ควรหลีกเลี่ยงการส่ง เวชระเบียนผู้ป่วยผ่านแอพพลิเคชั่นหรือวิธีการที่ไม่มีระบบรักษาความ ปลอดภัย หรือมีความเสี่ยงที่จะมีการนาข้อมูลในเวชระเบียนไปเผยแพร่ได้ เช่น การใช้โปรแกรม LINE ส่งเวชระเบียนไปยังบุคคลหลายคน ก็อาจมี ความเสี่ยงที่ข้อมูลผู้ป่วยจะถูกส่งต่อไปยังบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการรักษา ผู้ป่วย หรือมีการนาไปเผยแพร่ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วยได้ *(ร่าง) แนวปฏิบัติตามมาตรา 7 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข จัดทา โดย ศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มธ. (ก.ค.2560) 45
  • 47. 47
  • 48. “ประเทศไทย” ใช้เวลาต่อวันอยู่กับอินเทอร์เน็ตมากที่สุดในโลก (รวมทุก อุปกรณ์) โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 9 ชั่วโมง 38 นาทีต่อวัน การใช้งานอินเทอร์เน็ตบนสมาร์ทโฟน “ไทย” ยังคงเป็นประเทศที่ใช้เวลา ท่องเน็ตต่อวันมากที่สุดในโลกเช่นกัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 4 ชั่วโมง 56 นาที 48
  • 49. สรุปข้อมูลการใช้ social media ของไทย ➢ คนไทย ใช้เวลาเข้าอินเทอร์เน็ตต่อวัน... เสพติดเน็ต มากที่สุดในโลก ➢ คนไทย 51 ล้านคนใช้ Social Media ➢ 46 ล้านคนใช้ Social Media ผ่าน “Mobile Device” ➢ “Facebook” ยังคงเป็น Social Media ยอดนิยมอันดับ 1 ของคนไทย / อันดับ 2 คือ “YouTube / อันดับ 3 “LINE” / อันดับ 4 “Facebook Messenger” / อันดับ 5 “Instagram” ➢ “กรุงเทพฯ” ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีผู้ใช้ Facebook มากที่สุดในโลก ➢ อันดับแอปพลิเคชันที่มีการใช้งานสูงสุดในไทย ได้แก่ อันดับ 1 LINE อันดับ 2 Facebook อันดับ 3 Facebook Messenger อันดับ 4 Instagram 49
  • 50. social media มีข้อดีหรือประโยชน์หลายประการ ➢บุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ พยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพด้าน สาธารณสุขอื่น ๆ และนักศึกษา สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้สะดวกมากขึ้น หรือทาให้ เกิดเครือข่ายความร่วมมือขององค์กรต่าง ๆ ➢ผู้ป่วย คนทั่วไป สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ ด้านสุขภาพได้ง่าย มากขึ้น ประชาชนสามารถดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นตนเองได้ ไม่จาเป็นต้องไปพบแพทย์ 50
  • 51. ประเด็นท้าทายในการใช้ social media ของ บุคลากรในระบบสาธารณสุข (ระบบสุขภาพ) ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็น การเฉพาะเหมือนในต่างประเทศ (ร่างพระราชบัญญัติ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... ) การใช้ social media เพื่อแลกเปลี่ยนหรือส่งข้อมูลสุขภาพ ของผู้ป่วยอาจมีอุปสรรคหรือเกิดปัญหา หากไม่มีกฎหมาย กฎเกณฑ์ที่ชัดเจนในเรื่องนี้ การพัฒนานโยบายและมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย ของสถานพยาบาล 51
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54
  • 55. 55
  • 56. 56 Source: WHO, Legal frameworks for eHealth: based on the findings of the second global survey on eHealth (2012).
  • 57. Google DeepMind patient data deal with UK health service  A data sharing deal between Google's DeepMind and the U.K.'s National Health Service "failed to comply with data protection law", the U.K.'s Information Commissioner's Office (ICO) said.  DeepMind — which Google acquired in 2014 — struck a deal in 2015 with the Royal Free NHS Foundation Trust which runs a number of hospitals in Britain. The Google company got access to a wide range of health information from 1.6 million patients, according to the full agreement which was revealed by New Scientist in April 2016.  The deal between the two parties was aimed at developing a new app called Streams that helped monitor patients with acute kidney disease. https://www.cnbc.com/2017/07/03/google-deepmind-nhs- deal-health-data-illegal-ico-says.html
  • 58. กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ social media ❖พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ❖ ประมวลกฎหมายอาญา (หมิ่นประมาท/ การครอบครองสื่อลามกอนาจาร เด็ก) ❖ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค, พ.ร.บ.ขายตรงและ ตลาดแบบตรง พ.ร.บ.ยา พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดี ผู้บริโภค ฯลฯ) ❖ กฎหมายอื่น ๆ เช่น พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายพนัน 58
  • 59. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... (ฉบับผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วาระ 2 ) 59 เหตุผล เนื่องจากปัจจุบันมีการล่วงละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคล เป็นจานวนมากจนสร้างความเดือดร้อนราคาญหรือความเสียหายให้แก่เจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคล ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้การเก็บรวบรวม การใช้ และการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลอันเป็นการล่วงละเมิดดังกล่าว ทาได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจโดยรวม สมควรกาหนดให้มีกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นการทั่วไปขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นหลักการ ทั่วไป จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
  • 60. 60 มาตรา ๓ ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น เว้นแต่ (๑) บทบัญญัติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม การใช้หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วน บุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้งบท กาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้เป็นการ เพิ่มเติม ไม่ว่าจะซ้ากับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้นหรือไม่ก็ตาม (๒) บทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน บทบัญญัติที่ให้อานาจแก่ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และ บทบัญญัติเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้งบทกาหนดโทษที่ เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีดังต่อไปนี้ ...
  • 61. 61 “ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัว บุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม โดยเฉพาะ “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งมีอานาจ หน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง ดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งหรือ ในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดาเนินการ ดังกล่าวไม่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล “บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดา
  • 62. 62 มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระทาได้ การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดยผ่าน ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดยสภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการ ดังกล่าวได้ .... มาตรา ๒๒ การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ให้เก็บรวบรวมได้ เท่าที่จาเป็นภายใต้วัตถุประสงค์อันชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคล
  • 63. 63 มาตรา ๒๖ ห้ามมิให้เก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความ คิดเห็นทางการเมือง ความเชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติ อาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลชีวภาพ หรือ ข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด โดยไม่ได้รับความยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ (๑) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลซึ่งเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม (๒) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสมของ มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็นสมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่าง สม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดย ไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหา กาไรนั้น (๓) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคล
  • 64. 64 (๔) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือ การใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย (๕) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่ ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูลส่วนบุคคล นั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่างเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพ จากโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ….
  • 65. General Data Protection Regulation (2016), Article 9 Processing of special categories of personal data 1. Processing of personal data revealing racial or ethnic origin, political opinions, religious or philosophical beliefs, or trade union membership, and the processing of genetic data, biometric data for the purpose of uniquely identifying a natural person, data concerning health or data concerning a natural person's sex life or sexual orientation shall be prohibited. 2.Paragraph 1 shall not apply if one of the following applies: (h) processing is necessary for the purposes of preventive or occupational medicine, for the assessment of the working capacity of the employee, medical diagnosis, the provision of health or social care or treatment or the management of health or social care systems and services on the basis of Union or Member State law or pursuant to contract with a health professional and subject to the conditions and safeguards referred to in paragraph 3; 65
  • 66. General Data Protection Regulation (2016), Article 9 Processing of special categories of personal data 2.Paragraph 1 shall not apply if one of the following applies: … (i) processing is necessary for reasons of public interest in the area of public health, such as protecting against serious cross- border threats to health or ensuring high standards of quality and safety of health care and of medicinal products or medical devices, on the basis of Union or Member State law which provides for suitable and specific measures to safeguard the rights and freedoms of the data subject, in particular professional secrecy; 4.Member States may maintain or introduce further conditions, including limitations, with regard to the processing of genetic data, biometric data or data concerning health. 66
  • 68. 68
  • 69. 69
  • 70. 70
  • 71. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (แก้ไข พ.ศ. 2560) มาตรา 14 (1) มีปัญหาเรื่องการตีความ อาจกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของ ประชาชน (๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ประชาชน อันมิใช่การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมาย อาญา 71
  • 72. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (แก้ไข พ.ศ. 2560) การใช้มาตรา 14 (1) กับเรื่องการแสดงความคิดเห็นออนไลน์ กฎหมายมาตรา 14 (1) มุ่งเอาผิดกับผู้ที่นาข้อมูลที่ปลอมหรือเท็จเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพื่อหลอกลวงผู้อื่นให้เข้าทา ธุรกรรมต่าง ๆ แต่เนื่องจากข้อความที่กฎหมายเขียนค่อนข้างกว้างและสามารถตีความได้ หลากหลาย จึงทาให้มีผู้ตีความให้รวมถึงการแสดงความเห็นไม่ว่าประการใด ๆ ลงบนระบบ คอมพิวเตอร์ด้วย การตีความ “การนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ประชาชน” กฎหมายมิได้บัญญัติว่า ข้อมูลปลอมหรือเท็จนั้นก่อให้เกิดความเสียหายใน ลักษณะใด (ต่างจาก กรณีความผิดฐานฉ้อโกง ซึ่งเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สินของผู้ถูก หลอกลวง) จึงอาจบังคับใช้กฎหมายที่ผิดไปจากเจตนารมณ์ของกฎหมาย 72
  • 73. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (แก้ไข พ.ศ. 2560) มาตรา 14 ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่ น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความ ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้าง พื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนก แก่ประชาชน 73
  • 74. 74
  • 75. 75
  • 76. โดนแล้ว! 10 ดารา-เน็ตไอดอลรีวิวเมจิกสกิน ตร.เรียกรับทราบข้อหาสิ้นเดือนนี้ 76  วันที่ 14 ธ.ค.2561 พล.ต.อ.วิระชัย ทรงเมตตา รอง ผบ.ตร. ในฐานะหัวหน้า พนักงานสอบสวนคดีผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ไม่ได้คุณภาพ ใน เครือบริษัท เมจิกสกิน พร้อมตัวแทนจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แถลงความคืบหน้าการดาเนินคดีกับศิลปิน ดารา นักแสดง ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการรีวิวสินค้า ที่ผ่านมามีดารา นักแสดงรีวิวสินค้าดังกล่าว 59 คน คิด เป็น 106 รายการโฆษณา จากการตรวจสอบพบการกระทาความผิดตามพ.ร.บ. อาหาร มาตรา 41 พ.ศ.2522 จานวน 46 คน และรอผลการพิจารณาความผิด ตาม พ.ร.บ.เครื่องสาอาง พ.ศ.2558 จานวน 27 คน พล.ต.อ.วิระชัย กล่าวว่า สาหรับดารานักแสดงที่พบการกระทาความผิด 46 คน นั้น คดีขาดอายุความ ไม่สามารถดาเนินคดีได้ 36 ราย เหลือเพียง 10 ราย ที่ จะต้องถูกดาเนินคดี ในฐานความผิดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณ เพื่อประโยชน์ทางการค้าโดยไม่ได้รับอนุญาต อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.อาหารฯ มาตรา 41 มีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_1953510
  • 77. “หมอบอนด์” แจงไม่เจตนารีวิวสินค้าเมจิกสกิน แค่เอาใจเมียช่วยขายของ 77 นพ.ปิยะพงษ์กล่าวว่า คลิปวิดีโอที่เผยแพร่ออกไปไม่ใช่เป็นการรีวิวสินค้า โดยวันนั้น ตนไปงานรับปริญญาน้องสาวของ น.ส.ปวีณา และหญิงย้วย 1 ใน 8 ผู้ต้องหา ได้ ชวนมาไลฟ์สด ตอนนั้นไม่ได้คิดจะรีวิวสินค้า ไม่ได้คิดอะไร เพราะตนไม่ได้ขายสินค้า และไม่เกี่ยวข้องกับเจ้าของผลิตภัณฑ์ เขาให้ช่วยไลฟ์สดก็ทาไป เพียงแค่ต้องการขาย ของช่วยภรรยาเท่านั้น ยืนยันไม่มีเจตนา ไม่มีค่าจ้าง ไม่มีสัญญา ไม่มีการโอนเงินเข้า บัญชี ตรงนี้สามารถตรวจสอบได้ ส่วนกรณีสวมเสื้อกาวน์ไลฟ์สดนั้นปกติตนมีเสื้อไว้ ในรถอยู่แล้ว และไม่ได้คิดอะไร ไม่รู้ว่าจะผิดจรรยาบรรณด้วย
  • 78. 78
  • 79. แพทยสภา ฟ้ องหมิ่นประมาท วันที่ 9 ธันวาคม 2559 แพทยสภามอบอานาจให้ นพ.สมศักดิ์ โล่เลขา ฟ้อง นางปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา เครือข่ายผู้เสียหายทาง การแพทย์ ในความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา และ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 20 เมษายน 2561 แพทยสภาถอนฟ้อง แต่กรรมการแพทยสภาบาง ท่านกดดัน นพ. สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์ เลขาแพทสภาขณะนั้น จน ต้องลาออก แพทยสภาในหลายประเทศ เป็นองค์กรวิชาชีพที่สามารถถูกตรวจสอบ ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชนได้ แพทยสภาต่างประเทศนาความเห็น ต่าง ๆ มาปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กรให้มีความน่าเชื่อถือในสายตา ประชาชน 79
  • 80. แนวปฏิบัติการใช้ social media/network ของไทย ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการใช้ งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559 (ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2559) ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Social Network) ของบุคลากรและนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยมหิดล (23 มกราคม 2556) ประกาศคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เรื่อง “ข้อกาหนดการ ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ.2556” (14 พฤษภาคม 2556) 80
  • 82. ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๔ ความเป็นวิชาชีพ (Professionalism) ข้อ ๑๒ หลักการรักษาความเป็นวิชาชีพตลอดเวลา (Maintaining Professionalism) ข้อ ๑๓ หลัก “คิดก่อนโพสต์” (Pausing Before Posting) ข้อ ๑๔ หลักการมีพฤติกรรมออนไลน์อย่างเหมาะสม (Appropriate Behaviors Online) ข้อ ๑๕ หลักการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวอย่างเหมาะสมและแยกเรื่องส่วนตัว กับวิชาชีพ ข้อ ๑๖ หลักการตรวจสอบเนื้อหาออนไลน์ของตนอยู่เสมอ ข้อ ๑๗ หลักการกาหนดขอบเขตความเป็นวิชาชีพกับผู้ป่วย 82
  • 83. ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๕ การคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย ข้อ ๑๙ หลักการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและการไม่เปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย ข้อ ๒๐ หลักการให้ความยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าว หมวด ๖ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม ข้อ ๒๑ หลักการไม่โฆษณา (Non-Advertising) ข้อ ๒๒ หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน (Full Disclosure) 83
  • 84. 3 สภา"ทันตฯ-พยาบาล-เภสัช ฮึ่ม!จ่อฟันบุคคลากร ในสังกัดวิวสินค้า 84 ผศ.อังคณา สริยาภรณ์ เลขาธิการสภาการพยาบาล กล่าวว่า โดยปกติผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ต้องไม่ทาการจูงใจหรือชักชวน ผู้อื่นให้รับบริการพยาบาลเพื่อประโยชน์ของตนเอง ซึ่งรวมการห้าม โฆษณาสินค้าด้วย หากมีการกระทาเกิดขึ้น มีผู้ร้องเรียนเข้ามา สภาการพยาบาลจะทาการ ตรวจสอบผู้ถูกร้องเรียนว่า เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ภายใต้การกากับดูแลของสภาการพยาบาลหรือไม่ https://www.thaipost.net/main/detail/8318
  • 85. 85
  • 86. ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ๓๐ ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่โฆษณา ใช้ จ้าง หรือยินยอมให้ผู้อื่น โฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ความรู้ ความชานาญในการประกอบวิชาชีพของตนหรือของผู้อื่น 86
  • 87. ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ข้อ ๓๑ การโฆษณาตามข้อ ๓๐ อาจกระทาได้ในกรณี ต่อไปนี้ (๑) การแสดงผลงานในวารสารทางวิชาการหรือในการประชุมวิชาการ (๒) การแสดงผลงานในหน้าที่หรือในการบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ (๓) การแสดงผลงานหรือความก้าวหน้าทางวิชาการเพื่อการศึกษาของมวลชน (๔) การประกาศเกียรติคุณเป็นทางการโดยสถาบันวิชาการ สมาคมหรือ มูลนิธิ ทั้งนี้ ต้องละเว้นการแสวงหาประโยชน์ที่จะเกิดต่อการประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ส่วนบุคคล 87