SlideShare a Scribd company logo
1 of 98
Download to read offline
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๖

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ปรับปรุงจาก
มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้
เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. ๒๕๕๒
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน 
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
© ลิขสิทธิ์ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
พิมพ์ครั้งที่ ๑	 พ.ศ. ๒๕๕๖
จำนวนพิมพ์	 ๓๕,๐๐๐ เล่ม
ISBN	
978-616-202-820-5
ผู้จัดพิมพ์	
กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมวิทยบริการ
	
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
	
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
 	
กระทรวงศึกษาธิการ อาคาร สพฐ. ๓ 
 	
ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
	
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๐-๓๒
	
http://academic.obec.go.th/
พิมพ์ที่	
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
	
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
	
โทรศัพท์ ๐ ๒๕๖๑ ๔๕๖๗ โทรสาร ๐ ๒๕๗๙ ๕๑๐๑


ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุ
 แห่งชาติ
ด
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
	 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 
		 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
	 พุทธศักราช ๒๕๕๖. - - กรุงเทพฯ : สำนักงาน, ๒๕๕๖. 

	 	 ๘๔ หน้า.
	 	 ๑. ห้องสมุดโรงเรียน. ๒. ห้องสมุด - - มาตรฐาน. I. ชื่อเรื่อง.
	 ๐๒๗.๘
	 ISBN 978-616-202-820-5
คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ ๑๑๐๘/๒๕๕๖

เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
	
	
เพื่อให้การดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนเป็นไปอย่าง

มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม

และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ทำให้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญ
ของโรงเรียน รองรับการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มี ค วามสามารถในการคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละแก้ ไขปั ญ หา ใช้ ก ารอ่ า นเพื่ อ

พัฒนาตนเองและเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมโลก สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงเห็นชอบให้ใช้ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน



สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ 

แทน มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้สถานศึกษา

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นแนวทางในการ
ดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ใช้เป็นแนวทางการนิเทศ ประเมิน และให้คำแนะนำแก่โรงเรียน
	
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
	
	 	
สั่ง ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖


			
(นายชินภัทร ภูมิรัตน)
	
	 	
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำนำ
	
สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานตระหนั ก ถึ ง

ความสำคั ญ ของการส่ ง เสริ ม การอ่ า นซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานสำคั ญ สำหรั บ

การเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย น การที่ ส ถานศึ ก ษาจะสร้ า งนิ สั ย รั ก การอ่ า น

และการค้นคว้าใฝ่หาความรู้ให้เกิดกับนักเรียนย่อมต้องอาศัยห้องสมุด
เป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จึ ง ได้ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ โ รงเรี ย นทุ ก แห่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ให้ เ ป็ น

แหล่งเรียนรู้หลักของโรงเรียนและชุมชน และได้ประกาศใช้ มาตรฐาน



ห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนสังกัด
สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ตั้ ง แต่ พ.ศ. ๒๕๕๒
เป็ น ต้ น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น และได้ มี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผลการใช้
มาตรฐานห้ อ งสมุ ด ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง พบว่ า มี จุ ด ดี คื อ เป็ น แนวทางสำหรั บ
โรงเรี ย นใช้ ใ นการประเมิ น ผลการดำเนิ น งานและพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด

ของตนเอง และสำนั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาใช้ ใ นการนิ เ ทศและให้

คำแนะนำโรงเรียน โดยกำหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน 

แนวทางการให้ ค ะแนน และข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ไว้ เ พื่ อ สะดวกในการ
ประเมิ น อย่ า งไรก็ ต ามจากผลการสำรวจการนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด

ดั ง กล่ า วไปใช้ โ ดยครู บ รรณารั ก ษ์ แ ละศึ ก ษานิ เ ทศก์ พ บว่ า มาตรฐาน 

ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน และข้อมูลเชิงประจักษ์
ของบางตั ว บ่ ง ชี้ ค วรมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การนำไป

ปฏิบัติจริงมากยิ่งขึ้น 
ก
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการทบทวน
มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อ
พัฒนาไปสู่ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ


การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ โดยนำข้อมูลจากการติดตาม
ประเมิ น ผลการใช้ แ ละนโยบายปฏิ รู ป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส อง 

(พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) นโยบายการพัฒนาห้องสมุดสถานศึกษาให้เป็น
ห้องสมุด ๓ ดี (หนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี บรรยากาศดี บรรณารักษ์
และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านดี) ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนา
เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) 

และแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ของเครือข่ายองค์กร

ความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ (Partnership for 

21st Century Skills) มาใช้ในการพัฒนามาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน

ให้มีความเหมาะสม ชัดเจนยิ่งขึ้น และได้กำหนดวิสัยทัศน์ หลักการ 

และเป้ า หมายของห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อช่วยกำหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา
และปรับปรุงมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน
และข้อมูลเชิงประจักษ์ให้ชัดเจนต่อการนำไปปฏิบัต
ิ
	
มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ



การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้โรงเรียน

นำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและตรวจสอบการดำเนินงานห้องสมุด
ของตนเองเพื่ อ พั ฒ นาได้ ทุ ก ระยะ และสามารถก้ า วสู่ ม าตรฐานที่

สูงกว่าเดิมได้หากมีความพร้อม และสำหรับศึกษานิเทศก์จากสำนักงาน
ข
เขตพื้นที่การศึกษาใช้ในการนิเทศ ประเมิน และให้คำแนะนำแก่โรงเรียน
เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้หลักของโรงเรียน ด้วยความ

มุ่ ง หวั ง ว่ า เด็ ก และเยาวชนไทยทุ ก คนในระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน

ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ มีความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับเป็น

เครื่องมือในการแสวงหาความรู้สำหรับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

ตลอดชีวิต และดำรงชีวิตในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ตลอดจนการเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม 
	
สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานขอขอบคุ ณ

ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละคณะทำงานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร ะดมพลั ง ปั ญ ญา ความรู้

ความสามารถ และช่วยเหลือในการทดลอง ปรับปรุง และให้ความคิดเห็น
เพิ่มเติม ซึ่งช่วยให้การพัฒนา มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงาน



คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ฉบับนี้ มีความ
สมบูรณ์และเหมาะสมสำหรับใช้ในการพัฒนาการดำเนินงานห้องสมุด
และการส่งเสริมการอ่านในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน



	
(นายชินภัทร ภูมิรัตน)
	
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
	
วันที่ ๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

ค
สารบัญ
คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 


	
ที่ ๑๑๐๘/๒๕๕๖ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
	
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
	
พุทธศักราช ๒๕๕๖	
คำนำ		 	
ความสำคัญและความเป็นมา	
วิสัยทัศน์		
หลักการ	 	
เป้าหมาย		
องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน


	
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
เกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน	
	
หมวดที่ ๑ 	มาตรฐานด้านผู้บริหาร	
	
หมวดที่ ๒ 	มาตรฐานด้านครู	
	
หมวดที่ ๓ 	มาตรฐานด้านนักเรียน	
	
หมวดที่ ๔ 	มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ	
	
หมวดที่ ๕ 	มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ 
	
	
และวัสดุครุภัณฑ์	
การสรุปผลการประเมิน 	

หน้า


ก
๑
๙
๑๑
๑๕
๑๙
๓๕
๓๕
๔๖
๕๔
๕๗
๖๐
๖๓

จ
สารบัญ

(ต่อ)

บรรณานุกรม	
ภาคผนวก	
	
นิยามศัพท์ 	
	
ภาพตัวอย่างห้องสมุดโรงเรียน	
คณะทำงานปรับปรุงมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน 	


ฉ

หน้า
๖๗
๖๙
๗๑
๗๓
๗๗
ความสำคัญและความเป็นมา

	
การอ่ า นเป็ น พื้ น ฐานสำคั ญ สำหรั บ การเรี ย นรู้ ทั้ ง การเรี ย นรู้

ในห้องเรียน การเรียนรู้นอกห้องเรียน และการเรียนรู้นอกโรงเรียนคือ
การศึ ก ษาตลอดชีวิต นักเรียนที่มีสมรรถนะด้า นการอ่ า นจะส่ ง ผลต่ อ

การเรียนรู้เนื้อหาสาระในวิชาต่าง ๆ ได้ดี เนื่องจากการอ่านทำให้พัฒนาทักษะ

ด้านภาษาและคำศัพท์ การอ่านทำให้ได้เรียนรู้โลกกว้างและยังช่วยสร้าง
จินตนาการ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการอ่าน
ไปใช้ ใ นการดำเนิ น ชี วิ ต เป็ น พลเมื อ งที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม
ประเทศ และโลกต่อไป
	
ห้ อ งสมุ ด เป็ น หั ว ใจของโรงเรี ย น เป็ น แหล่ ง รวบรวมความรู้ 

เป็นที่ที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร หนังสือ
และสื่อในห้องสมุดนำนักเรียนไปสู่ประสบการณ์ใหม่ ๆ ซึ่งมีทั้งความรู้
และความเพลิ ด เพลิ น ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งจิ น ตนาการ และสร้ า ง

ความตระหนักและเข้าใจในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย 
	
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่ง

ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นการส่ ง เสริ ม การอ่ า น

สำหรับประชากรในวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนา
ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน

ความสำคัญและความเป็นมา
ตามหลักสูตรและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตระหนักถึงความสำคัญ
ดั ง กล่ า วจึ ง ได้ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ โรงเรี ย นทุ ก แห่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด

ให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ห ลั ก ของโรงเรี ย นและชุ ม ชน และได้ ป ระกาศใช้
มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ 

เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาห้องสมุดให้มีคุณภาพและ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้ในการนิเทศและให้คำแนะนำโรงเรียน
(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ๒๕๕๒) จากการติดตาม
ผลการใช้ ม าตรฐานในช่ ว งระยะ ๔ ปี ที่ ผ่ า นมา พบว่ า มาตรฐาน

ห้ อ งสมุ ด และตั ว บ่ ง ชี้ เ พื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดดีคือเป็นแนวทาง
สำหรั บ โรงเรี ย นใช้ ใ นการประเมิ น ผลการดำเนิ น งานและพั ฒ นา

ห้ อ งสมุ ด ของตนเอง และสำนั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาใช้ ใ นการ

นิ เ ทศและให้ ค ำแนะนำโรงเรี ย น โดยกำหนดมาตรฐาน ตั ว บ่ ง ชี้ 

เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนนไว้เพื่อสะดวกในการประเมิน
อย่ า งไรก็ ต ามจากผลการสำรวจการนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด ดั ง กล่ า ว

ไปใช้ โ ดยครู บ รรณารั ก ษ์ แ ละศึ ก ษานิ เ ทศก์ พ บว่ า มาตรฐาน ตั ว บ่ ง ชี้
เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนนของบางตัวบ่งชี้ควรมี

การปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับการนำไปปฏิบัติจริงมากยิ่งขึ้น 



มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ดำเนินการ
ปรั บ ปรุ ง มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นเพื่ อ ให้ ก ารดำเนิ น งานพั ฒ นา

ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นและการส่ ง เสริ ม การอ่ า นสอดคล้ อ งกั บ ความเจริ ญ
ก้าวหน้าทางวิทยาการ และความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่แน่นอน
และมีความซับซ้อนของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ที่การดำเนินชีวิตอย่าง

มีคุณภาพและสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้นั้นอาศัยความรู้ การวิจัยและ
พัฒนา ซึ่งครูผู้สอนและครูบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนต้องตระหนัก
และร่วมมือกันในการเตรียมนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเป็น
พลเมืองของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ เช่น ทักษะสารสนเทศ สื่อ

และเทคโนโลยี ทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณและการแก้ ปั ญ หา 

การสื่อสารและความร่วมมือ ความยืดหยุ่นและความสามารถในการ

ปรั บ ตั ว การริ เริ่ มและการกำกับดูแลตนเองได้ ทั ก ษะด้ า นสั ง คมและ

ความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย การมีผลงานและความรับผิดชอบ
ตรวจสอบได้ ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ ความรู้และความตระหนัก
เกี่ยวกับโลก ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี เป็นต้น
	
นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษา

ในทศวรรษที่ ส อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) โดยมี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ ห้ ค นไทย

ได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ทั้งนี้ได้กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ 

๔ ประการ คือ ๑) คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ระดับสากล ๒) คนไทยใฝ่รู้ : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน

ความสำคัญและความเป็นมา
และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ๓) คนไทยใฝ่ดี : มีคุณธรรมพื้นฐาน 

มี จิ ต สำนึ ก และค่ า นิ ย มที่ พึ ง ประสงค์ เห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นรวม 

มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย   ๔) คนไทยคิดเป็น ทำเป็น 

แก้ปัญหาได้ : มีทักษะในการคิดและการปฏิบัติ มีความสามารถในการ

แก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร (กระทรวง
ศึ ก ษาธิ ก าร, ๒๕๕๓) คำแถลงนโยบายของคณะรั ฐ มนตรี ที่ แ ถลงต่ อ

รัฐสภา เมื่อวันอังคารที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นโยบายการศึกษา 

ได้ ก ำหนดเร่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยปฏิ รู ป ระบบความรู้ ข อง

สังคมไทย ซึ่งมีองค์ประกอบหนึ่งคือการส่งเสริมการอ่าน (สำนักเลขาธิการ



คณะรัฐมนตรี, ๒๕๕๔) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบั บ ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ได้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของ

การสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น ในประเทศให้ เข้ ม แข็ ง เตรี ย มความพร้ อ มให้ แ ก่ ค น
สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถรองรับผลกระทบจาก
กระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็ว

และซับซ้อนมาก โดยหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่ได้กำหนดขึ้น
คือยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน
มุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน มีนิสัยใฝ่รู้
รักการอ่านตั้งแต่วัยเด็ก (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๔) 



มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐานนี้ แบ่งออกเป็น ๕ หมวด คือ
	
หมวดที่ ๑ 	มาตรฐานด้านผู้บริหาร
	
หมวดที่ ๒ 	มาตรฐานด้านครู ซึ่งแบ่งออกเป็นครูหรือบุคลากร 
	
	 	
ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และครูผู้สอน
	
หมวดที่ ๓ 	มาตรฐานด้านนักเรียน
	
หมวดที่ ๔ 	มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ
	
หมวดที่ ๕ 	มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์
	
การปรับปรุงมาตรฐานในส่วนที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ๑) มาตรฐาน
ด้านผู้บริหารมีการเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ในการจัดหางบประมาณจากหน่วยงาน
ภาครั ฐ และเอกชนจากแหล่ ง ทุ น ภายในและภายนอกเพื่ อ สนั บ สนุ น

การดำเนิ น งานและการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ๒) มาตรฐานด้ า นครู ห รื อ
บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารเพิ่ ม เติ ม ตั ว บ่ ง ชี้ ใ นการแนะนำ

การใช้ห้องสมุด การสอนวิชาการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และ

ใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ การจัดเก็บสถิติการใช้บริการ และมีทักษะ

ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ในส่วนของครูผู้สอนมีการตัด

ตัวบ่งชี้ด้านการเข้ารับการประชุม อบรม สัมมนาเกี่ยวกับด้านห้องสมุด
และการส่งเสริมการอ่านออกเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง

ในการพัฒนา ๓) มาตรฐานด้านนักเรียนได้ปรับปรุงตัวบ่งชี้ด้านปริมาณ
การอ่านเหมาะสมกับระดับชั้นให้เป็นไปตามเกณฑ์การอ่านหนังสือขั้นต่ำ
ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ๔) มาตรฐาน

ความสำคัญและความเป็นมา
ด้ า นทรั พ ยากรสารสนเทศ เพิ่ ม ตั ว บ่ ง ชี้ ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร

สารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนา

ในปัจจุบันและอนาคต ๕) ในส่วนของด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์

ได้นำตัวบ่งชี้ที่เคยอยู่ในมาตรฐานอื่น ๆ แยกออกมาเป็นอีกหนึ่งหมวด

เพื่ อ ให้ มี ค วามชั ด เจน   ในส่ ว นของตั ว บ่ ง ชี้ อื่ น ๆ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น

สำนวนภาษาบ้างเล็กน้อยเพื่อให้สละสลวยขึ้น รวมทั้งเกณฑ์การประเมิน
และแนวทางการให้คะแนนของบางตัวบ่งชี้เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ
ความเป็นจริงและปฏิบัติได้มากยิ่งขึ้น
	
การดำเนินงานพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนจะประสบความสำเร็จได้

ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น ครู บ รรณารั ก ษ์ ครู ผู้ ส อน 

บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องมีส่วนร่วม

และรับผิดชอบ โดยมีการทำงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตั้งแต่

การวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ประเมินผลการดำเนินงาน
และการปรับปรุงพัฒนา เพื่อพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายของห้องสมุด
โรงเรียน คือ การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การส่งเสริม
และสร้างนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยมีทักษะและ
นิสัยในการตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ วางแผน แสวงหา เลือกและประเมิน
วิธีการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะ

การรับรู้ เข้าถึง ประเมิน เลือก และใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่าง

มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม และส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการ




มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
ใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ า งรั บ ผิ ด ชอบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ

ในการแสวงหาความรู้และมีทักษะสำหรับการดำเนินชีวิตในคริสต์ศตวรรษ
ที่ ๒๑ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ความสำคัญและความเป็นมา
วิสัยทัศน์

	
ห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็ น ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ม าตรฐาน มี บ รรณารั ก ษ์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศครบถ้วนและทันสมัย มุ่งพัฒนานักเรียน
ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์

และแก้ ไขปั ญ หา ใช้ ก ารอ่ า นเพื่ อ พั ฒ นาตนเอง และเป็ น พลเมื อ งที่ มี

ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก 


วิสัยทัศน์
หลักการ
	
	
การกำหนดมาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการสำคัญ ดังนี้
	
๑.	 มุ่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ห ลั ก ของ
โรงเรียน ที่มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ โดยมีบุคลากร
ประจำห้องสมุดที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับลักษณะงาน 
	
๒. เป็ น มาตรฐานที่ มุ่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นเพื่ อ ใช้ ใ นการ
สนั บ สนุ น การจั ด การเรี ย นการสอนตามหลั ก สู ต รและการค้ น คว้ า

หาความรู้ โดยใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ และให้บริการทรัพยากร

สารสนเทศหลากหลายรูปแบบที่มีคุณภาพและทันสมัย สอดคล้องกับ
หลักสูตรและความต้องการของผู้ใช้บริการ
	
๓.	 มุ่งส่งเสริมและสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในโรงเรียน
โดยเน้นความร่วมมือระหว่างห้องสมุดและห้องเรียนในการจัดกิจกรรม

ส่ ง เสริ ม การอ่ า นอย่ า งหลากหลายและต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง การอ่ า นเพื่ อ

ความเพลิดเพลินและการอ่านเพื่อการค้นคว้าหาความรู้ เพื่อสร้างนิสัย

รั ก การอ่ า นที่ ยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และ

ผู้บริหารโรงเรียน

หลักการ

11
๔. มุ่ ง ให้ นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะการเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต เป็ น ผู้ ใช้

สารสนเทศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี จ ริ ย ธรรม และสามารถสร้ า ง

องค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง 
	
๕. เป็นแนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
สั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให้ มี คุ ณ ภาพ

ได้มาตรฐาน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน การดำเนินงาน
และการประเมิ น ผลการดำเนิ น งาน เพื่ อ ให้ ห้ อ งสมุ ด ให้ บ ริ ก ารอย่ า ง

มีประสิทธิภาพ ทั่วถึง และผู้รับบริการพึงพอใจ 
	
๖. เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มในการดำเนิ น งานและพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด
โรงเรี ย นโดยบุ ค ลากรทุ ก ฝ่ า ย ทั้ ง นั ก เรี ย น ครู บ รรณารั ก ษ์ ครู ผู้ ส อน 

ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน และองค์กร
	
๗. ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสำคัญและเป็นผู้นำในการสร้าง
ความตระหนักให้บุคลากรทุกคนในโรงเรียนเห็นความสำคัญของห้องสมุด
โรงเรียน และสนับสนุนการดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน

12

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
เป้าหมาย

	
เป้าหมายของห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดังนี้
	
๑.	 ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด การเรี ย นการสอนตามหลั ก สู ต ร 

โดยมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 
	
๒.	 ส่งเสริมการอ่านและการใช้ห้องสมุด โดยกระตุ้นและส่งเสริม
ให้นักเรียนอ่าน ดู ฟัง จากทรัพยากรสารสนเทศและสื่อหลากหลาย
ประเภทและรูปแบบ ทั้งการอ่านภายในห้องสมุดและภายนอกห้องสมุด
เพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น เสริ ม สร้ า งจิ น ตนาการ การค้ น คว้ า หาความรู้

ความเข้ า ใจสำหรั บ การเรี ย น การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต และความเข้ า ใจ

ในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย

เป้าหมาย

15
๓. สร้ า งนิสัยรักการอ่านที่ยั่งยืนให้แก่ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากร
ทางการศึกษา และผู้บริหารโรงเรียน 
	
๔. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะ
และนิสัยในการตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ วางแผน แสวงหา เลือกและ
ประเมินวิธีการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อให้นักเรียนเป็น

ผู้เรียนที่มีความรับผิดชอบ สามารถพึ่งพาตนเอง และเติบโตเป็นพลเมือง
ที่สามารถพึ่งพาตนเอง และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
	
๕. ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการรับรู้ เข้าถึง ประเมิน เลือก
และใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม
เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต

16

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
๖. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้เข้าถึงองค์ความรู้ ความคิด
วัฒนธรรม และข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมกับวัยได้อย่างเสรี
	
๗. ให้ บ ริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพอย่ า งทั่ ว ถึ ง และเท่ า เที ย มกั น ให้ แ ก่
นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น ผู้ ป กครอง 

และชุมชน 
	
๘. ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ และพัฒนาให้นักเรียน

มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ เพื่อ

ช่วยให้นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้และมีทักษะสำหรับการดำเนินชีวิต

ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
	
๙. บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดย
ติดตามความรู้ ข่าวสาร ความคิด และนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการเตรียมความพร้อมของนักเรียนสำหรับการเรียนรู้และดำเนินชีวิต
ในสังคมปัจจุบันที่มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และ
รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมาย

17
องค์ประกอบ
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ
มาตรฐานที่ ๒ 	 ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน
	
ในการพัฒนาห้องสมุด
มาตรฐานที่ ๓ 	 ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู 


ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ มี ๕ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๔	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ มีความสามารถ

ในการบริหารงานห้องสมุด
มาตรฐานที่ ๕ 	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ

ในการปฏิบัติงานเทคนิค
มาตรฐานที่ ๖ 	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ

ในการให้บริการ
มาตรฐานที่ ๗ 	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ

ในการจัดกิจกรรม
มาตรฐานที่ ๘ 	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเอง
	
อย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

19
ครูผู้สอน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้ 
มาตรฐานที่ ๙	 ครูผู้สอนใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ ๑๐	 ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า น

แก่นักเรียน
หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านนักเรียน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑๑	 นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์

จากสารสนเทศ
มาตรฐานที่ ๑๒ นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน
หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑๓	 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
มาตรฐานที่ ๑๔ 	ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
มาตรฐานที่ ๑๕ 	การจั ด การทรั พ ยากรสารสนเทศโดยใช้ เ ทคโนโลยี

สารสนเทศ
หมวดที่ ๕ มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ มี ๒ มาตรฐาน
ดังนี
้
มาตรฐานที่ ๑๖	 อาคารสถานที่ 
มาตรฐานที่ ๑๗	 วัสดุครุภัณฑ์

20

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานด้านผู้บริหาร
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี
้
มาตรฐานที่ ๑	 ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มี ๖ ตัวบ่งชี้
๑.๑	 ผู้บริหารมีการกำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงานห้องสมุด

	 โรงเรียน
	 ๑.๑.๑	 มี แ ผนการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ไว้ ใ นแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพ

การศึกษาของโรงเรียน
	 ๑.๑.๒	 มีการกำหนดนโยบายให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้
	 ๑.๑.๓	 มี การกำหนดนโยบายการใช้ห้อ งสมุ ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นิ สั ย

รักการอ่านของนักเรียน ครู บุคลากร และชุมชน
๑.๒	 ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน
	 ๑.๒.๑	 มีการกำหนดโครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด แต่งตั้ง

คณะกรรมการบริหารงานห้องสมุดและคณะกรรมการ
ดำเนินงานห้องสมุด
	 ๑.๒.๒ 	 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรตามโครงสร้าง
และส่งเสริมให้มีการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่
	 ๑.๒.๓ 	 มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารงานห้ อ งสมุ ด และ

คณะกรรมการดำเนินงานห้องสมุด อย่างน้อยภาคเรียนละ
๑ ครั้ง
	 ๑.๒.๔ 	 มีการแต่งตั้งครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น
คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ
องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

21
๑.๓	 ผู้บริหารจัดให้มีครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่

	 ห้องสมุด
	 ๑.๓.๑	 มีการแต่งตั้งครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ และ
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด
	 ๑.๓.๒ 	 มีการเสริมแรง ให้ขวัญและกำลังใจแก่ครูหรือบุคลากร

ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
	 ๑.๓.๓ 	 มีการส่งเสริมสนับสนุน และให้โอกาสแก่ครูหรือบุคลากร

ทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ และเจ้ า หน้ า ที่ ห้ อ งสมุ ด ได้ รั บ

การพัฒนา 
๑.๔	 ผู้บริหารจัดให้มีงบประมาณสำหรับการดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุด
	 ๑.๔.๑	 มี ก ารจั ด สรรงบประมาณประจำปี เพื่ อ สนั บ สนุ น

การดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุด
	 ๑.๔.๒ 	 มีการจัดหางบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
จากแหล่ ง ทุ น ภายในและภายนอก เพื่ อ สนั บ สนุ น การ
ดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุด
๑.๕	 ผู้บริหารจัดให้มีห้องสมุดโรงเรียนที่ได้มาตรฐานไว้บริการนักเรียน

	 ครู ผู้บริหาร บุคลากรภายในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
	 ๑.๕.๑ 	 จัดให้มีห้องสมุดโรงเรียนที่มีขนาดเหมาะสม
	 ๑.๕.๒	 ห้ อ งสมุ ด ตั้ ง อยู่ ใ นตำแหน่ ง ที่ เ หมาะสม เป็ น ศู น ย์ ก ลาง
สะดวกต่อการเข้าไปใช้บริการ

22

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
๑.๕.๓	 ห้องสมุดมีสภาพดี
	 ๑.๕.๔	 ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
	 ๑.๕.๕	 จัดให้มีวัสดุครุภัณฑ์เพียงพอกับการใช้บริการ
	 ๑.๕.๖	 จัดให้มีวัสดุครุภัณฑ์เหมาะสมกับวัยของนักเรียน
	 ๑.๕.๗	 จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศที่เพียงพอกับการใช้บริการ
	 ๑.๕.๘	 จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศเหมาะสมกับวัยของนักเรียน 
๑.๖	 ผู้บริหารนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
	 ๑.๖.๑ 	 มีแผนการนิเทศงานห้องสมุด
	 ๑.๖.๒ 	 มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
	 ๑.๖.๓ 	 มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด
และผู้ที่เกี่ยวข้อง
	 ๑.๖.๔	 มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาห้องสมุด
	 ๑.๖.๕ 	 มี ก ารนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นของสำนั ก งาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมาใช้ในการบริหารงาน
ห้องสมุด

องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

23
มาตรฐานที่ ๒	 ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน


	
ในการพัฒนาห้องสมุด
๒.๑ 	 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ชุมชนมาใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้
๒.๒	 ผู้ บ ริ ห ารเปิ ด โอกาสให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด

	 โรงเรียน
๒.๓ 	 ผู้บริหารสร้างเครือข่ายความร่วมมือและแสวงหาความช่วยเหลือ

	 จากหน่วยงานและองค์กรอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนา

	 ห้องสมุดโรงเรียน
มาตรฐานที่ ๓	ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
๓.๑	 ผู้บริหารเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยน

	 ประสบการณ์ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
๓.๒	 ผู้ บ ริ ห ารใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาตนเอง

	 และพัฒนางาน
๓.๓	 ผู้ บ ริ ห ารมี นิ สั ย รั ก การอ่ า น แสวงหาความรู้ และพั ฒ นาตนเอง

	 อย่างต่อเนื่อง

24

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานด้านครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๔ 	ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ


	
ในการบริหารงานห้องสมุด
๔.๑ 	 มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจของห้องสมุดโรงเรียน
๔.๒	 มีการจัดทำแผนงาน โครงการห้องสมุดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา

	 คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
๔.๓	 มีการจัดทำโครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด
๔.๔	 มี ก ารจั ด สภาพแวดล้อมและบรรยากาศของห้ อ งสมุ ด ให้ เ อื้ อ ต่ อ

	 การจัดการเรียนรู้
๔.๕	 มีการประเมินผลการดำเนินงาน
๔.๖	 มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนางานห้องสมุด
๔.๗	 มีการนำมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการ

	 การศึกษาขั้นพื้นฐานมาใช้ในการบริหารงานห้องสมุด
มาตรฐานที่ ๕ 	ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ


	
ในการปฏิบัติงานเทคนิค
๕.๑ 	 จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ การจั ด

	 การเรียนการสอนตามหลักสูตร 
๕.๒ 	 จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาเหมาะสม และตรงตาม

	 ความต้องการของผู้ใช้บริการ
๕.๓ 	 มี ก ารจั ด หมวดหมู่ แ ละทำรายการทรั พ ยากรสารสนเทศตาม

	 หลักสากล
องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

25
๕.๔ 	 มีการเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการ
๕.๕ 	 ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศ

	 อย่ า งเหมาะสมตามสภาพของโรงเรี ย น สะดวกต่ อ การเข้ า ถึ ง

	 และใช้บริการ
๕.๖ 	 มีการสำรวจทรัพยากรสารสนเทศประจำปี
๕.๗ 	 มี ก ารบำรุ ง รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศให้ อ ยู่ ใ นสภาพพร้ อ มให้

	 บริการ
มาตรฐานที่ ๖	 ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ


	
ในการให้บริการ
๖.๑ 	 มีการจัดทำระเบียบการใช้ห้องสมุด
๖.๒ 	 มีการจัดทำตารางการใช้ห้องสมุดที่ชัดเจน 
๖.๓	 มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์

	 จากสารสนเทศ 
๖.๔ 	 มีการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์

	 จากสารสนเทศ 
๖.๕ 	 มีการจัดบริการการอ่านและการศึกษาค้นคว้า
๖.๖ 	 มีการจัดบริการยืม-คืน
๖.๗ 	 มีการจัดบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า
๖.๘ 	 มีการจัดบริการเชิงรุกอย่างหลากหลาย
๖.๙ 	 มีการจัดบริการสืบค้นทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และทางอินเทอร์เน็ต
๖.๑๐	มีการจัดเก็บสถิติการใช้บริการ

26

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานที่ ๗ 	ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ 


	
ในการจัดกิจกรรม
๗.๑ 	 มีการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน

	 ตามหลักสูตร
๗.๒ 	 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลายเพื่อปลูกฝังนิสัย

	 รักการอ่าน
๗.๓ 	 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างต่อเนื่องเพื่อปลูกฝังนิสัย

	 รักการอ่าน
มาตรฐานที่ ๘	 ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเอง


	
อย่างต่อเนื่อง
๘.๑ 	 มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีนิสัยรักการอ่าน
๘.๒ 	 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
๘.๓ 	 เข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง หรือศึกษาต่อ
๘.๔ 	 เป็นสมาชิกสมาคม ชมรม หรือกลุ่มวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
๘.๕ 	 มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ และแลกเปลี่ ย นประสบการณ์

	 เกี่ยวกับการดำเนินงานห้องสมุด
๘.๖	 มีวุฒิบรรณารักษศาสตร์หรือสารสนเทศศาสตร์ หรือผ่านการศึกษา

	 อบรมด้านงานห้องสมุด

องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

27
มาตรฐานด้านครูผู้สอน
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี
้
มาตรฐานที่ ๙ 	ครูผู้สอนใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน
๙.๑	 มี แ ผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ บู ร ณาการการใช้ ห้ อ งสมุ ด ในสาระ

	 การเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบ 
๙.๒	 มีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
๙.๓	 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ 
๙.๔	 มีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุด 
มาตรฐานที่ ๑๐	 ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า น


	
แก่นักเรียน
๑๐.๑ 	 มี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า นในสาระการเรี ย นรู้

ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย
๑๐.๒ 	 มี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า นในสาระการเรี ย นรู้

ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง
๑๐.๓ 	 มีการประสานความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
๑๐.๔ 	 มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
๑๐.๕ 	 มีการรายงานผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย

รักการอ่านต่อผู้บริหารโรงเรียน
๑๐.๖	 มีการเผยแพร่ผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนทราบ
๑๐.๗	 มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัย

รักการอ่าน

28

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานด้านนักเรียน 
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี
้
มาตรฐานที่ ๑๑		 นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์

		 จากสารสนเทศ
๑๑.๑ 	 กำหนดลักษณะและขอบเขตของสารสนเทศที่ต้องการได้ 
๑๑.๒ 	 ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑๑.๓ 	 ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้อง
๑๑.๔ 	 สรุป เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้
๑๑.๕ 	 จัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศได้
๑๑.๖ 	 สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้
๑๑.๗ 	 มีจิตสำนึกที่ดีในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
๑๑.๘ 	 มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
มาตรฐานที่ ๑๒ 	นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน
๑๒.๑ 	 นักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
๑๒.๒ 	 นั ก เรี ย นยื ม หนั ง สื อ หรื อ สื่ อ ทรั พ ยากรสารสนเทศอื่ น อย่ า ง
สม่ำเสมอ
๑๒.๓ 	 นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างสม่ำเสมอ
๑๒.๔ 	 นั ก เรี ย นมี ป ริ ม าณการอ่ า นเหมาะสมกั บ ระดั บ ชั้ น ตามเกณฑ์

การอ่ า นหนั ง สื อ ขั้ น ต่ ำ ที่ ส ำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา

ขั้นพื้นฐานกำหนด


องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

29
มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ 
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๑๓		 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
๑๓.๑	 ห้องสมุดมีหนังสืออ้างอิง เช่น หนังสือพระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สารานุกรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
เป็นต้น
๑๓.๒ 	 ห้องสมุดมีหนังสือสารคดี บันเทิงคดี หนังสือภาษาต่างประเทศ
วารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ จุ ล สาร เอกสารหลั ก สู ต ร 

ที่ เ หมาะสม สอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รและความต้ อ งการของ

ผู้ใช้บริการ
๑๓.๓ 	 ห้องสมุดมีหนังสืออย่างน้อย ๑๐ เล่ม ต่อนักเรียน ๑ คน
๑๓.๔ 	 ห้ อ งสมุ ด มี ว ารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ ไว้ ใ ห้ บ ริ ก ารอย่ า ง
เหมาะสมและเพียงพอ

30

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐานที่ ๑๔ 	ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
๑๔.๑ 	 ห้องสมุดมีวัสดุไม่ตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในปริมาณ

ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการของ

ผู้ใช้บริการ เช่น
	
๑๔.๑.๑ 	ลูกโลก
	
๑๔.๑.๒ 	แผนที่
	
๑๔.๑.๓ 	หุ่นจำลอง ของตัวอย่าง
	
๑๔.๑.๔ 	เกม ของเล่นเสริมทักษะ
	
๑๔.๑.๕ 	วีดิทัศน์ ซีดี-รอม ดีวีดี
	
๑๔.๑.๖ 	บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
	
๑๔.๑.๗ 	หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
	
๑๔.๑.๘ 	บทเรียนออนไลน์
ฯลฯ 
มาตรฐานที่ ๑๕	การจั ด การทรั พ ยากรสารสนเทศโดยใช้ เ ทคโนโลยี


		 สารสนเทศ 
๑๕.๑ 	 ห้องสมุดใช้โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
๑๕.๒ 	 ห้องสมุดมีการสืบค้นออนไลน์ทางเว็บไซต์
๑๕.๓ 	 ห้องสมุดมีเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการใช้ทรัพยากร
สารสนเทศ
๑๕.๔ 	 ห้ อ งสมุ ด มี ก ารจั ด ฝึ ก อบรมการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศของ

ห้องสมุด


องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

31
มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ 
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๑๖  อาคารสถานที่ 
๑๖.๑ 	 ห้องสมุดตั้งอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม สะดวกในการเข้าใช้บริการ
๑๖.๒ 	 ห้องสมุดมีการออกแบบและตกแต่งอย่างเหมาะสมและสวยงาม
๑๖.๓	 ห้ อ งสมุ ด มี ก ารจั ด พื้ น ที่ แ ละบรรยากาศที่ เ อื้ อ ต่ อ การอ่ า นและ

การเรียนรู้
๑๖.๔ 	 ห้องสมุดมีการจัดการด้านสภาพแวดล้อม (สะอาด แสงสว่าง
เสียง และการถ่ายเทอากาศ) อย่างเหมาะสม
๑๖.๕	 ห้องสมุดมีมาตรการในการรักษาความปลอดภัยของห้องสมุด
และผู้ใช้บริการ
มาตรฐานที่ ๑๗  วัสดุครุภัณฑ์
๑๗.๑	 ห้องสมุดมีครุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับขนาดของห้องและผู้ใช้บริการ
๑๗.๒	 ห้ อ งสมุ ด มี ค รุ ภั ณ ฑ์ เ พี ย งพอและจั ด วางได้ เ หมาะสมกั บ

การปฏิบัติงานและให้บริการ
๑๗.๓	 ห้ อ งสมุ ด มี ค รุ ภั ณ ฑ์ เครื่ อ งมื อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ร องรั บ การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุด (คอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น
และคอมพิวเตอร์เพื่อการปฏิบัติงาน)
๑๗.๔	 ห้องสมุดมีเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน

ของบรรณารักษ์และการให้บริการ

32

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
เกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน

หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร
	 มาตรฐาน	

ตัวบ่งชี้	

เกณฑ์การประเมิน	

มาตรฐานที่ ๑ 
 ๑.๑ 	 ผู้บริหารมีการ

แนวทางการให้คะแนน

ผู้บริหารมีความ
 กำหนดนโยบายและ
มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน

สามารถในการ
 แผนการดำเนินงาน

มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน
บริหารจัดการ
 ห้องสมุดโรงเรียน
มีครบทุกข้อได้ ๓ คะแนน


	 ๑.๑.๑ 	มีแผน

แนวทางการประเมิน
การพัฒนาห้องสมุด


ไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพ
 ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน

การศึกษาของโรงเรียน
 ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน

	 ๑.๑.๒ 	มีการ
ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน


กำหนดนโยบาย


ให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระ
 

การเรียนรู้จัดการเรียน
 

การสอนโดยใช้ห้องสมุด 


เป็นแหล่งเรียนรู้


	 ๑.๑.๓ 	มีการ


กำหนดนโยบาย


การใช้ห้องสมุดเพื่อ


ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน 

ของนักเรียน ครู บุคลากร 
 


และชุมชน

ข้อมูลเชิงประจักษ์
วิธีการและเอกสารหลักฐาน
เช่น
-	 แผนพัฒนาห้องสมุด
-	 แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

ที่ใช้ห้องสมุดเป็น

แหล่งเรียนรู้และหรือ

มีการบูรณาการการอ่าน 
-	 แผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา
- 	แผนปฏิบัติการ
- 	โครงการต่าง ๆ 
- 	แผนภูมิโครงสร้าง

การบริหาร
- 	กิจกรรม โครงการส่งเสริม

การอ่าน
- 	สถิติการเข้าใช้ห้องสมุด
- 	คำสั่งมอบหมายงาน
ฯลฯ

เกณฑ์การประเมิน
และแนวทางการให้คะแนน

35
มาตรฐาน	

ตัวบ่งชี้	

เกณฑ์การประเมิน	

มาตรฐานที่ ๑ 
 ๑.๒	 ผู้บริหารจัดให้มี แนวทางการให้คะแนน


ผู้บริหารมีความ
 โครงสร้างการบริหารงาน
 มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 


สามารถในการ
 ที่ชัดเจน
ให้ข้อละ ๑ คะแนน

บริหารจัดการ
 	 ๑.๒.๑ 	มีการ
กำหนดโครงสร้าง

แนวทางการประเมิน
(ต่อ)
การบริหารงานห้องสมุด 
 ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน

แต่งตั้งคณะกรรมการ
ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน

บริหารงานห้องสมุด

ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน

และคณะกรรมการ

	

ดำเนินงานห้องสมุด 


	 ๑.๒.๒ 	มีการ


กำหนดบทบาทหน้าที่
 

ของบุคลากรตามโครงสร้าง
 

และส่งเสริมให้มีการ


ดำเนินงานตามบทบาท


หน้าที่


	 ๑.๒.๓ 	มีการ


ประชุมคณะกรรมการ


บริหารงานห้องสมุดและ


คณะกรรมการดำเนินงาน


ห้องสมุด อย่างน้อย



ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง


	 ๑.๒.๔ 	มีการ


แต่งตั้งครูหรือบุคลากร
 

ทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น
 

คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ
 


36

ข้อมูลเชิงประจักษ์
วิธีการและเอกสารหลักฐาน
เช่น
- 	แผนภูมิโครงสร้าง 
- 	คำสั่งมอบหมายงาน
- 	รายงานการประชุม
ฯลฯ




มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
มาตรฐาน	

ตัวบ่งชี้	

มาตรฐานที่ ๑ 
 ๑.๓ 	 ผู้บริหารจัดให้มี



ผู้บริหารมีความ
 ครูหรือบุคลากร


สามารถในการ
 ทำหน้าที่บรรณารักษ์

บริหารจัดการ
 และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
	 ๑.๓.๑ 	มีการ

(ต่อ)
แต่งตั้งครูหรือบุคลากร


ทำหน้าที่บรรณารักษ์ 

และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด

	 ๑.๓.๒ 	มีการ


เสริมแรง ให้ขวัญและ

กำลังใจแก่ครูหรือบุคลากร

ทำหน้าที่บรรณารักษ์ 


และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด

	 ๑.๓.๓ 	มีการ


ส่งเสริมสนับสนุน 


และให้โอกาสแก่


ครูหรือบุคลากร 


ทำหน้าที่บรรณารักษ์ 


และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด


ได้รับการพัฒนา


เกณฑ์การประเมิน	

ข้อมูลเชิงประจักษ์

แนวทางการให้คะแนน
 วิธีการและเอกสารหลักฐาน
มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน
 เช่น
มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน
 - 	คำสั่งแต่งตั้ง

มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน
 มอบหมายงาน 

- 	สังเกต 
แนวทางการประเมิน
 - 	สัมภาษณ์ 
ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน
 - 	หลักฐานการเข้าร่วม
ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ประชุม สัมมนา 
ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
 - 	เกียรติบัตร รางวัล

ฯลฯ













เกณฑ์การประเมิน
และแนวทางการให้คะแนน

37
มาตรฐาน	

ตัวบ่งชี้	

เกณฑ์การประเมิน	

ข้อมูลเชิงประจักษ์

วิธีการและเอกสารหลักฐาน 
มาตรฐานที่ ๑ 
 ๑.๔ 	 ผู้บริหารจัดให้มี
 



เช่น
ผู้บริหารมีความ
 งบประมาณสำหรับ



สามารถในการ
 การดำเนินงานและ

- 	คำสั่ง 

- 	แผนพัฒนาห้องสมุด 
บริหารจัดการ
 พัฒนาห้องสมุด
แนวทางการให้คะแนน
 - 	แผนพัฒนาคุณภาพ


	 ๑.๔.๑ 	มีการ

(ต่อ)
จัดสรรงบประมาณประจำปี
 ข้อ ๑.๔.๑
การศึกษา 

เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน จัดสรรงบประมาณประจำปี
 - 	แผนปฏิบัติการ 

และการพัฒนาห้องสมุด
 เพื่อซื้อหนังสือและจัด - 	หลักฐานการจัดหา



กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน งบประมาณ


ดังนี้
ฯลฯ


โรงเรียนประถมศึกษา
 


ขนาดเล็ก (นักเรียน




น้อยกว่า ๑๒๑ คน) 



- 	จัดสรรไม่น้อยกว่า



ร้อยละ ๕ 



ของเงินอุดหนุน 



ได้ ๑ คะแนน


- 	จัดสรรไม่น้อยกว่า



ร้อยละ ๖ 



ของเงินอุดหนุน 



ได้ ๒ คะแนน


- 	จัดสรรไม่น้อยกว่า



ร้อยละ ๗ 



ของเงินอุดหนุน 



ได้ ๓ คะแนน



38

มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56

More Related Content

What's hot

Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 Somchart Phaeumnart
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarSuriyen Butimarn
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...Jaru O-not
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันQA Bpi
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลนิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลJaru O-not
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 

What's hot (19)

คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSar
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลนิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
 
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
O net
O netO net
O net
 

Viewers also liked

Automated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLibAutomated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLibBoonlert Aroonpiboon
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555K S
 
Powerpointแนะนำห้องสมุด
Powerpointแนะนำห้องสมุดPowerpointแนะนำห้องสมุด
Powerpointแนะนำห้องสมุดusaneetoi
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์Boonlert Aroonpiboon
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติCapitano Oishi
 

Viewers also liked (14)

Automated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLibAutomated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLib
 
World-Class Standard School
World-Class Standard SchoolWorld-Class Standard School
World-Class Standard School
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
7-KM Process
7-KM Process7-KM Process
7-KM Process
 
Greenstone
GreenstoneGreenstone
Greenstone
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
Greenstone 2.85 installation
 Greenstone 2.85 installation Greenstone 2.85 installation
Greenstone 2.85 installation
 
Introduction to Stat
Introduction to StatIntroduction to Stat
Introduction to Stat
 
Powerpointแนะนำห้องสมุด
Powerpointแนะนำห้องสมุดPowerpointแนะนำห้องสมุด
Powerpointแนะนำห้องสมุด
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Edu reform-draft
Edu reform-draftEdu reform-draft
Edu reform-draft
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 

Similar to School lib-standard-th-56

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานdmathdanai
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียนkrupornpana55
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 

Similar to School lib-standard-th-56 (20)

สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
20
2020
20
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน
 
20
2020
20
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

School lib-standard-th-56

  • 1.
  • 3. มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ © ลิขสิทธิ์ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ จำนวนพิมพ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-202-820-5 ผู้จัดพิมพ์ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมวิทยบริการ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ อาคาร สพฐ. ๓ ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๐-๓๒ http://academic.obec.go.th/ พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๖๑ ๔๕๖๗ โทรสาร ๐ ๒๕๗๙ ๕๑๐๑ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุ แห่งชาติ ด National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖. - - กรุงเทพฯ : สำนักงาน, ๒๕๕๖. ๘๔ หน้า. ๑. ห้องสมุดโรงเรียน. ๒. ห้องสมุด - - มาตรฐาน. I. ชื่อเรื่อง. ๐๒๗.๘ ISBN 978-616-202-820-5
  • 4. คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๑๑๐๘/๒๕๕๖ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ เพื่อให้การดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ทำให้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญ ของโรงเรียน รองรับการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี ค วามสามารถในการคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละแก้ ไขปั ญ หา ใช้ ก ารอ่ า นเพื่ อ พัฒนาตนเองและเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมโลก สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงเห็นชอบให้ใช้ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ แทน มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้สถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นแนวทางในการ ดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใช้เป็นแนวทางการนิเทศ ประเมิน และให้คำแนะนำแก่โรงเรียน ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 5.
  • 6. คำนำ สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการส่ ง เสริ ม การอ่ า นซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานสำคั ญ สำหรั บ การเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย น การที่ ส ถานศึ ก ษาจะสร้ า งนิ สั ย รั ก การอ่ า น และการค้นคว้าใฝ่หาความรู้ให้เกิดกับนักเรียนย่อมต้องอาศัยห้องสมุด เป็นแหล่งเรียนรู้สำคัญ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึ ง ได้ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ โ รงเรี ย นทุ ก แห่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ให้ เ ป็ น แหล่งเรียนรู้หลักของโรงเรียนและชุมชน และได้ประกาศใช้ มาตรฐาน ห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียนสังกัด สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ตั้ ง แต่ พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็ น ต้ น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น และได้ มี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผลการใช้ มาตรฐานห้ อ งสมุ ด ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง พบว่ า มี จุ ด ดี คื อ เป็ น แนวทางสำหรั บ โรงเรี ย นใช้ ใ นการประเมิ น ผลการดำเนิ น งานและพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ของตนเอง และสำนั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาใช้ ใ นการนิ เ ทศและให้ คำแนะนำโรงเรียน โดยกำหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้ ค ะแนน และข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ไว้ เ พื่ อ สะดวกในการ ประเมิ น อย่ า งไรก็ ต ามจากผลการสำรวจการนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด ดั ง กล่ า วไปใช้ โ ดยครู บ รรณารั ก ษ์ แ ละศึ ก ษานิ เ ทศก์ พ บว่ า มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน และข้อมูลเชิงประจักษ์ ของบางตั ว บ่ ง ชี้ ค วรมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การนำไป ปฏิบัติจริงมากยิ่งขึ้น ก
  • 7. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการทบทวน มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อ พัฒนาไปสู่ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ โดยนำข้อมูลจากการติดตาม ประเมิ น ผลการใช้ แ ละนโยบายปฏิ รู ป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) นโยบายการพัฒนาห้องสมุดสถานศึกษาให้เป็น ห้องสมุด ๓ ดี (หนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี บรรยากาศดี บรรณารักษ์ และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านดี) ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) และแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ของเครือข่ายองค์กร ความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ (Partnership for 21st Century Skills) มาใช้ในการพัฒนามาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ให้มีความเหมาะสม ชัดเจนยิ่งขึ้น และได้กำหนดวิสัยทัศน์ หลักการ และเป้ า หมายของห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อช่วยกำหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา และปรับปรุงมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน และข้อมูลเชิงประจักษ์ให้ชัดเจนต่อการนำไปปฏิบัต ิ มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้โรงเรียน นำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและตรวจสอบการดำเนินงานห้องสมุด ของตนเองเพื่ อ พั ฒ นาได้ ทุ ก ระยะ และสามารถก้ า วสู่ ม าตรฐานที่ สูงกว่าเดิมได้หากมีความพร้อม และสำหรับศึกษานิเทศก์จากสำนักงาน ข
  • 8. เขตพื้นที่การศึกษาใช้ในการนิเทศ ประเมิน และให้คำแนะนำแก่โรงเรียน เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้หลักของโรงเรียน ด้วยความ มุ่ ง หวั ง ว่ า เด็ ก และเยาวชนไทยทุ ก คนในระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ มีความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับเป็น เครื่องมือในการแสวงหาความรู้สำหรับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต และดำรงชีวิตในสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตลอดจนการเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานขอขอบคุ ณ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละคณะทำงานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร ะดมพลั ง ปั ญ ญา ความรู้ ความสามารถ และช่วยเหลือในการทดลอง ปรับปรุง และให้ความคิดเห็น เพิ่มเติม ซึ่งช่วยให้การพัฒนา มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ฉบับนี้ มีความ สมบูรณ์และเหมาะสมสำหรับใช้ในการพัฒนาการดำเนินงานห้องสมุด และการส่งเสริมการอ่านในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วันที่ ๘ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ค
  • 9.
  • 10. สารบัญ คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๑๑๐๘/๒๕๕๖ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ คำนำ ความสำคัญและความเป็นมา วิสัยทัศน์ หลักการ เป้าหมาย องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านนักเรียน หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ หมวดที่ ๕ มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ การสรุปผลการประเมิน หน้า ก ๑ ๙ ๑๑ ๑๕ ๑๙ ๓๕ ๓๕ ๔๖ ๕๔ ๕๗ ๖๐ ๖๓ จ
  • 12.
  • 13.
  • 14. ความสำคัญและความเป็นมา การอ่ า นเป็ น พื้ น ฐานสำคั ญ สำหรั บ การเรี ย นรู้ ทั้ ง การเรี ย นรู้ ในห้องเรียน การเรียนรู้นอกห้องเรียน และการเรียนรู้นอกโรงเรียนคือ การศึ ก ษาตลอดชีวิต นักเรียนที่มีสมรรถนะด้า นการอ่ า นจะส่ ง ผลต่ อ การเรียนรู้เนื้อหาสาระในวิชาต่าง ๆ ได้ดี เนื่องจากการอ่านทำให้พัฒนาทักษะ ด้านภาษาและคำศัพท์ การอ่านทำให้ได้เรียนรู้โลกกว้างและยังช่วยสร้าง จินตนาการ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการอ่าน ไปใช้ ใ นการดำเนิ น ชี วิ ต เป็ น พลเมื อ งที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ประเทศ และโลกต่อไป ห้ อ งสมุ ด เป็ น หั ว ใจของโรงเรี ย น เป็ น แหล่ ง รวบรวมความรู้ เป็นที่ที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร หนังสือ และสื่อในห้องสมุดนำนักเรียนไปสู่ประสบการณ์ใหม่ ๆ ซึ่งมีทั้งความรู้ และความเพลิ ด เพลิ น ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งจิ น ตนาการ และสร้ า ง ความตระหนักและเข้าใจในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่ง ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นการส่ ง เสริ ม การอ่ า น สำหรับประชากรในวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนา ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ความสำคัญและความเป็นมา
  • 15. ตามหลักสูตรและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตระหนักถึงความสำคัญ ดั ง กล่ า วจึ ง ได้ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ โรงเรี ย นทุ ก แห่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ห ลั ก ของโรงเรี ย นและชุ ม ชน และได้ ป ระกาศใช้ มาตรฐานห้องสมุดและตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาห้องสมุดให้มีคุณภาพและ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้ในการนิเทศและให้คำแนะนำโรงเรียน (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ๒๕๕๒) จากการติดตาม ผลการใช้ ม าตรฐานในช่ ว งระยะ ๔ ปี ที่ ผ่ า นมา พบว่ า มาตรฐาน ห้ อ งสมุ ด และตั ว บ่ ง ชี้ เ พื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดดีคือเป็นแนวทาง สำหรั บ โรงเรี ย นใช้ ใ นการประเมิ น ผลการดำเนิ น งานและพั ฒ นา ห้ อ งสมุ ด ของตนเอง และสำนั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาใช้ ใ นการ นิ เ ทศและให้ ค ำแนะนำโรงเรี ย น โดยกำหนดมาตรฐาน ตั ว บ่ ง ชี้ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนนไว้เพื่อสะดวกในการประเมิน อย่ า งไรก็ ต ามจากผลการสำรวจการนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด ดั ง กล่ า ว ไปใช้ โ ดยครู บ รรณารั ก ษ์ แ ละศึ ก ษานิ เ ทศก์ พ บว่ า มาตรฐาน ตั ว บ่ ง ชี้ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนนของบางตัวบ่งชี้ควรมี การปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับการนำไปปฏิบัติจริงมากยิ่งขึ้น มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 16. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ดำเนินการ ปรั บ ปรุ ง มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นเพื่ อ ให้ ก ารดำเนิ น งานพั ฒ นา ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นและการส่ ง เสริ ม การอ่ า นสอดคล้ อ งกั บ ความเจริ ญ ก้าวหน้าทางวิทยาการ และความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่แน่นอน และมีความซับซ้อนของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ที่การดำเนินชีวิตอย่าง มีคุณภาพและสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้นั้นอาศัยความรู้ การวิจัยและ พัฒนา ซึ่งครูผู้สอนและครูบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนต้องตระหนัก และร่วมมือกันในการเตรียมนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเป็น พลเมืองของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ เช่น ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณและการแก้ ปั ญ หา การสื่อสารและความร่วมมือ ความยืดหยุ่นและความสามารถในการ ปรั บ ตั ว การริ เริ่ มและการกำกับดูแลตนเองได้ ทั ก ษะด้ า นสั ง คมและ ความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย การมีผลงานและความรับผิดชอบ ตรวจสอบได้ ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ ความรู้และความตระหนัก เกี่ยวกับโลก ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี เป็นต้น นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ ส อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) โดยมี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ ห้ ค นไทย ได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ทั้งนี้ได้กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ ๔ ประการ คือ ๑) คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ระดับสากล ๒) คนไทยใฝ่รู้ : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน ความสำคัญและความเป็นมา
  • 17. และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ๓) คนไทยใฝ่ดี : มีคุณธรรมพื้นฐาน มี จิ ต สำนึ ก และค่ า นิ ย มที่ พึ ง ประสงค์ เห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นรวม มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย ๔) คนไทยคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ : มีทักษะในการคิดและการปฏิบัติ มีความสามารถในการ แก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร (กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร, ๒๕๕๓) คำแถลงนโยบายของคณะรั ฐ มนตรี ที่ แ ถลงต่ อ รัฐสภา เมื่อวันอังคารที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นโยบายการศึกษา ได้ ก ำหนดเร่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยปฏิ รู ป ระบบความรู้ ข อง สังคมไทย ซึ่งมีองค์ประกอบหนึ่งคือการส่งเสริมการอ่าน (สำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี, ๒๕๕๔) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบั บ ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ได้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของ การสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น ในประเทศให้ เข้ ม แข็ ง เตรี ย มความพร้ อ มให้ แ ก่ ค น สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถรองรับผลกระทบจาก กระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็ว และซับซ้อนมาก โดยหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่ได้กำหนดขึ้น คือยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน มุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน มีนิสัยใฝ่รู้ รักการอ่านตั้งแต่วัยเด็ก (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๔) มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 18. มาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานนี้ แบ่งออกเป็น ๕ หมวด คือ หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู ซึ่งแบ่งออกเป็นครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และครูผู้สอน หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านนักเรียน หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ หมวดที่ ๕ มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ การปรับปรุงมาตรฐานในส่วนที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ๑) มาตรฐาน ด้านผู้บริหารมีการเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ในการจัดหางบประมาณจากหน่วยงาน ภาครั ฐ และเอกชนจากแหล่ ง ทุ น ภายในและภายนอกเพื่ อ สนั บ สนุ น การดำเนิ น งานและการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ๒) มาตรฐานด้ า นครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารเพิ่ ม เติ ม ตั ว บ่ ง ชี้ ใ นการแนะนำ การใช้ห้องสมุด การสอนวิชาการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และ ใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ การจัดเก็บสถิติการใช้บริการ และมีทักษะ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ในส่วนของครูผู้สอนมีการตัด ตัวบ่งชี้ด้านการเข้ารับการประชุม อบรม สัมมนาเกี่ยวกับด้านห้องสมุด และการส่งเสริมการอ่านออกเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง ในการพัฒนา ๓) มาตรฐานด้านนักเรียนได้ปรับปรุงตัวบ่งชี้ด้านปริมาณ การอ่านเหมาะสมกับระดับชั้นให้เป็นไปตามเกณฑ์การอ่านหนังสือขั้นต่ำ ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด ๔) มาตรฐาน ความสำคัญและความเป็นมา
  • 19. ด้ า นทรั พ ยากรสารสนเทศ เพิ่ ม ตั ว บ่ ง ชี้ ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร สารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนา ในปัจจุบันและอนาคต ๕) ในส่วนของด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ ได้นำตัวบ่งชี้ที่เคยอยู่ในมาตรฐานอื่น ๆ แยกออกมาเป็นอีกหนึ่งหมวด เพื่ อ ให้ มี ค วามชั ด เจน ในส่ ว นของตั ว บ่ ง ชี้ อื่ น ๆ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น สำนวนภาษาบ้างเล็กน้อยเพื่อให้สละสลวยขึ้น รวมทั้งเกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนนของบางตัวบ่งชี้เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ ความเป็นจริงและปฏิบัติได้มากยิ่งขึ้น การดำเนินงานพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนจะประสบความสำเร็จได้ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น ครู บ รรณารั ก ษ์ ครู ผู้ ส อน บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องมีส่วนร่วม และรับผิดชอบ โดยมีการทำงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตั้งแต่ การวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ประเมินผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงพัฒนา เพื่อพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายของห้องสมุด โรงเรียน คือ การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การส่งเสริม และสร้างนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยมีทักษะและ นิสัยในการตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ วางแผน แสวงหา เลือกและประเมิน วิธีการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะ การรับรู้ เข้าถึง ประเมิน เลือก และใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่าง มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม และส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 20. ใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ า งรั บ ผิ ด ชอบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการแสวงหาความรู้และมีทักษะสำหรับการดำเนินชีวิตในคริสต์ศตวรรษ ที่ ๒๑ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสำคัญและความเป็นมา
  • 21.
  • 22. วิสัยทัศน์ ห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ น ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ม าตรฐาน มี บ รรณารั ก ษ์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศครบถ้วนและทันสมัย มุ่งพัฒนานักเรียน ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ และแก้ ไขปั ญ หา ใช้ ก ารอ่ า นเพื่ อ พั ฒ นาตนเอง และเป็ น พลเมื อ งที่ มี ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก วิสัยทัศน์
  • 23.
  • 24. หลักการ การกำหนดมาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำนั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการสำคัญ ดังนี้ ๑. มุ่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นให้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ห ลั ก ของ โรงเรียน ที่มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ โดยมีบุคลากร ประจำห้องสมุดที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับลักษณะงาน ๒. เป็ น มาตรฐานที่ มุ่ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นเพื่ อ ใช้ ใ นการ สนั บ สนุ น การจั ด การเรี ย นการสอนตามหลั ก สู ต รและการค้ น คว้ า หาความรู้ โดยใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ และให้บริการทรัพยากร สารสนเทศหลากหลายรูปแบบที่มีคุณภาพและทันสมัย สอดคล้องกับ หลักสูตรและความต้องการของผู้ใช้บริการ ๓. มุ่งส่งเสริมและสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในโรงเรียน โดยเน้นความร่วมมือระหว่างห้องสมุดและห้องเรียนในการจัดกิจกรรม ส่ ง เสริ ม การอ่ า นอย่ า งหลากหลายและต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง การอ่ า นเพื่ อ ความเพลิดเพลินและการอ่านเพื่อการค้นคว้าหาความรู้ เพื่อสร้างนิสัย รั ก การอ่ า นที่ ยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และ ผู้บริหารโรงเรียน หลักการ 11
  • 25. ๔. มุ่ ง ให้ นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะการเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต เป็ น ผู้ ใช้ สารสนเทศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี จ ริ ย ธรรม และสามารถสร้ า ง องค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง ๕. เป็นแนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สั ง กั ด สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให้ มี คุ ณ ภาพ ได้มาตรฐาน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน การดำเนินงาน และการประเมิ น ผลการดำเนิ น งาน เพื่ อ ให้ ห้ อ งสมุ ด ให้ บ ริ ก ารอย่ า ง มีประสิทธิภาพ ทั่วถึง และผู้รับบริการพึงพอใจ ๖. เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มในการดำเนิ น งานและพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นโดยบุ ค ลากรทุ ก ฝ่ า ย ทั้ ง นั ก เรี ย น ครู บ รรณารั ก ษ์ ครู ผู้ ส อน ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน และองค์กร ๗. ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสำคัญและเป็นผู้นำในการสร้าง ความตระหนักให้บุคลากรทุกคนในโรงเรียนเห็นความสำคัญของห้องสมุด โรงเรียน และสนับสนุนการดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน 12 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 26.
  • 27.
  • 28. เป้าหมาย เป้าหมายของห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ๑. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด การเรี ย นการสอนตามหลั ก สู ต ร โดยมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ๒. ส่งเสริมการอ่านและการใช้ห้องสมุด โดยกระตุ้นและส่งเสริม ให้นักเรียนอ่าน ดู ฟัง จากทรัพยากรสารสนเทศและสื่อหลากหลาย ประเภทและรูปแบบ ทั้งการอ่านภายในห้องสมุดและภายนอกห้องสมุด เพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น เสริ ม สร้ า งจิ น ตนาการ การค้ น คว้ า หาความรู้ ความเข้ า ใจสำหรั บ การเรี ย น การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต และความเข้ า ใจ ในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย เป้าหมาย 15
  • 29. ๓. สร้ า งนิสัยรักการอ่านที่ยั่งยืนให้แก่ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากร ทางการศึกษา และผู้บริหารโรงเรียน ๔. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะ และนิสัยในการตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ วางแผน แสวงหา เลือกและ ประเมินวิธีการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อให้นักเรียนเป็น ผู้เรียนที่มีความรับผิดชอบ สามารถพึ่งพาตนเอง และเติบโตเป็นพลเมือง ที่สามารถพึ่งพาตนเอง และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๕. ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการรับรู้ เข้าถึง ประเมิน เลือก และใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต 16 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 30. ๖. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้เข้าถึงองค์ความรู้ ความคิด วัฒนธรรม และข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมกับวัยได้อย่างเสรี ๗. ให้ บ ริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพอย่ า งทั่ ว ถึ ง และเท่ า เที ย มกั น ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น ผู้ ป กครอง และชุมชน ๘. ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ และพัฒนาให้นักเรียน มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ เพื่อ ช่วยให้นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้และมีทักษะสำหรับการดำเนินชีวิต ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๙. บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดย ติดตามความรู้ ข่าวสาร ความคิด และนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการเตรียมความพร้อมของนักเรียนสำหรับการเรียนรู้และดำเนินชีวิต ในสังคมปัจจุบันที่มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และ รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย 17
  • 31.
  • 32. องค์ประกอบ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาห้องสมุด มาตรฐานที่ ๓ ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ มี ๕ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๔ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ มีความสามารถ ในการบริหารงานห้องสมุด มาตรฐานที่ ๕ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ ในการปฏิบัติงานเทคนิค มาตรฐานที่ ๖ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ ในการให้บริการ มาตรฐานที่ ๗ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีความสามารถ ในการจัดกิจกรรม มาตรฐานที่ ๘ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 19
  • 33. ครูผู้สอน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๙ ครูผู้สอนใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๑๐ ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า น แก่นักเรียน หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านนักเรียน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑๑ นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ มาตรฐานที่ ๑๒ นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑๓ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มาตรฐานที่ ๑๔ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ มาตรฐานที่ ๑๕ การจั ด การทรั พ ยากรสารสนเทศโดยใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศ หมวดที่ ๕ มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ มี ๒ มาตรฐาน ดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑๖ อาคารสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ วัสดุครุภัณฑ์ 20 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 34. มาตรฐานด้านผู้บริหาร ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มี ๖ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ผู้บริหารมีการกำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงานห้องสมุด โรงเรียน ๑.๑.๑ มี แ ผนการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ไว้ ใ นแผนพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาของโรงเรียน ๑.๑.๒ มีการกำหนดนโยบายให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ๑.๑.๓ มี การกำหนดนโยบายการใช้ห้อ งสมุ ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นิ สั ย รักการอ่านของนักเรียน ครู บุคลากร และชุมชน ๑.๒ ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน ๑.๒.๑ มีการกำหนดโครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารงานห้องสมุดและคณะกรรมการ ดำเนินงานห้องสมุด ๑.๒.๒ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรตามโครงสร้าง และส่งเสริมให้มีการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ ๑.๒.๓ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารงานห้ อ งสมุ ด และ คณะกรรมการดำเนินงานห้องสมุด อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๑.๒.๔ มีการแต่งตั้งครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 21
  • 35. ๑.๓ ผู้บริหารจัดให้มีครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ ห้องสมุด ๑.๓.๑ มีการแต่งตั้งครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ และ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ๑.๓.๒ มีการเสริมแรง ให้ขวัญและกำลังใจแก่ครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ๑.๓.๓ มีการส่งเสริมสนับสนุน และให้โอกาสแก่ครูหรือบุคลากร ทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ และเจ้ า หน้ า ที่ ห้ อ งสมุ ด ได้ รั บ การพัฒนา ๑.๔ ผู้บริหารจัดให้มีงบประมาณสำหรับการดำเนินงานและพัฒนาห้องสมุด ๑.๔.๑ มี ก ารจั ด สรรงบประมาณประจำปี เพื่ อ สนั บ สนุ น การดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุด ๑.๔.๒ มีการจัดหางบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จากแหล่ ง ทุ น ภายในและภายนอก เพื่ อ สนั บ สนุ น การ ดำเนินงานและการพัฒนาห้องสมุด ๑.๕ ผู้บริหารจัดให้มีห้องสมุดโรงเรียนที่ได้มาตรฐานไว้บริการนักเรียน ครู ผู้บริหาร บุคลากรภายในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ๑.๕.๑ จัดให้มีห้องสมุดโรงเรียนที่มีขนาดเหมาะสม ๑.๕.๒ ห้ อ งสมุ ด ตั้ ง อยู่ ใ นตำแหน่ ง ที่ เ หมาะสม เป็ น ศู น ย์ ก ลาง สะดวกต่อการเข้าไปใช้บริการ 22 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 36. ๑.๕.๓ ห้องสมุดมีสภาพดี ๑.๕.๔ ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๑.๕.๕ จัดให้มีวัสดุครุภัณฑ์เพียงพอกับการใช้บริการ ๑.๕.๖ จัดให้มีวัสดุครุภัณฑ์เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ๑.๕.๗ จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศที่เพียงพอกับการใช้บริการ ๑.๕.๘ จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ๑.๖ ผู้บริหารนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ๑.๖.๑ มีแผนการนิเทศงานห้องสมุด ๑.๖.๒ มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ๑.๖.๓ มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑.๖.๔ มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาห้องสมุด ๑.๖.๕ มี ก ารนำมาตรฐานห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นของสำนั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมาใช้ในการบริหารงาน ห้องสมุด องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 23
  • 37. มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาห้องสมุด ๒.๑ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ชุมชนมาใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ๒.๒ ผู้ บ ริ ห ารเปิ ด โอกาสให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด โรงเรียน ๒.๓ ผู้บริหารสร้างเครือข่ายความร่วมมือและแสวงหาความช่วยเหลือ จากหน่วยงานและองค์กรอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนา ห้องสมุดโรงเรียน มาตรฐานที่ ๓ ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ๓.๑ ผู้บริหารเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ด้านห้องสมุด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๓.๒ ผู้ บ ริ ห ารใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาตนเอง และพัฒนางาน ๓.๓ ผู้ บ ริ ห ารมี นิ สั ย รั ก การอ่ า น แสวงหาความรู้ และพั ฒ นาตนเอง อย่างต่อเนื่อง 24 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 38. มาตรฐานด้านครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์ ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๔ ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ ในการบริหารงานห้องสมุด ๔.๑ มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจของห้องสมุดโรงเรียน ๔.๒ มีการจัดทำแผนงาน โครงการห้องสมุดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ๔.๓ มีการจัดทำโครงสร้างการบริหารงานห้องสมุด ๔.๔ มี ก ารจั ด สภาพแวดล้อมและบรรยากาศของห้ อ งสมุ ด ให้ เ อื้ อ ต่ อ การจัดการเรียนรู้ ๔.๕ มีการประเมินผลการดำเนินงาน ๔.๖ มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนางานห้องสมุด ๔.๗ มีการนำมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมาใช้ในการบริหารงานห้องสมุด มาตรฐานที่ ๕ ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ ในการปฏิบัติงานเทคนิค ๕.๑ จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ การจั ด การเรียนการสอนตามหลักสูตร ๕.๒ จัดให้มีทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาเหมาะสม และตรงตาม ความต้องการของผู้ใช้บริการ ๕.๓ มี ก ารจั ด หมวดหมู่ แ ละทำรายการทรั พ ยากรสารสนเทศตาม หลักสากล องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 25
  • 39. ๕.๔ มีการเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการ ๕.๕ ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศ อย่ า งเหมาะสมตามสภาพของโรงเรี ย น สะดวกต่ อ การเข้ า ถึ ง และใช้บริการ ๕.๖ มีการสำรวจทรัพยากรสารสนเทศประจำปี ๕.๗ มี ก ารบำรุ ง รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศให้ อ ยู่ ใ นสภาพพร้ อ มให้ บริการ มาตรฐานที่ ๖ ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ ในการให้บริการ ๖.๑ มีการจัดทำระเบียบการใช้ห้องสมุด ๖.๒ มีการจัดทำตารางการใช้ห้องสมุดที่ชัดเจน ๖.๓ มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ ๖.๔ มีการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด และการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ ๖.๕ มีการจัดบริการการอ่านและการศึกษาค้นคว้า ๖.๖ มีการจัดบริการยืม-คืน ๖.๗ มีการจัดบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า ๖.๘ มีการจัดบริการเชิงรุกอย่างหลากหลาย ๖.๙ มีการจัดบริการสืบค้นทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และทางอินเทอร์เน็ต ๖.๑๐ มีการจัดเก็บสถิติการใช้บริการ 26 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 40. มาตรฐานที่ ๗ ครู ห รื อ บุ ค ลากรทำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ มี ค วามสามารถ ในการจัดกิจกรรม ๗.๑ มีการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตร ๗.๒ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลายเพื่อปลูกฝังนิสัย รักการอ่าน ๗.๓ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างต่อเนื่องเพื่อปลูกฝังนิสัย รักการอ่าน มาตรฐานที่ ๘ ครูหรือบุคลากรทำหน้าที่บรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๘.๑ มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีนิสัยรักการอ่าน ๘.๒ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ๘.๓ เข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง หรือศึกษาต่อ ๘.๔ เป็นสมาชิกสมาคม ชมรม หรือกลุ่มวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ๘.๕ มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ และแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ เกี่ยวกับการดำเนินงานห้องสมุด ๘.๖ มีวุฒิบรรณารักษศาสตร์หรือสารสนเทศศาสตร์ หรือผ่านการศึกษา อบรมด้านงานห้องสมุด องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 27
  • 41. มาตรฐานด้านครูผู้สอน ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี ้ มาตรฐานที่ ๙ ครูผู้สอนใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน ๙.๑ มี แ ผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ บู ร ณาการการใช้ ห้ อ งสมุ ด ในสาระ การเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบ ๙.๒ มีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ๙.๓ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ๙.๔ มีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุด มาตรฐานที่ ๑๐ ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า น แก่นักเรียน ๑๐.๑ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า นในสาระการเรี ย นรู้ ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย ๑๐.๒ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม นิ สั ย รั ก การอ่ า นในสาระการเรี ย นรู้ ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ๑๐.๓ มีการประสานความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๑๐.๔ มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๑๐.๕ มีการรายงานผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่านต่อผู้บริหารโรงเรียน ๑๐.๖ มีการเผยแพร่ผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนทราบ ๑๐.๗ มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน 28 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 42. มาตรฐานด้านนักเรียน ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑๑ นักเรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ ๑๑.๑ กำหนดลักษณะและขอบเขตของสารสนเทศที่ต้องการได้ ๑๑.๒ ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑๑.๓ ตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้อง ๑๑.๔ สรุป เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้ ๑๑.๕ จัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศได้ ๑๑.๖ สร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้ ๑๑.๗ มีจิตสำนึกที่ดีในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ๑๑.๘ มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ มาตรฐานที่ ๑๒ นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน ๑๒.๑ นักเรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ ๑๒.๒ นั ก เรี ย นยื ม หนั ง สื อ หรื อ สื่ อ ทรั พ ยากรสารสนเทศอื่ น อย่ า ง สม่ำเสมอ ๑๒.๓ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างสม่ำเสมอ ๑๒.๔ นั ก เรี ย นมี ป ริ ม าณการอ่ า นเหมาะสมกั บ ระดั บ ชั้ น ตามเกณฑ์ การอ่ า นหนั ง สื อ ขั้ น ต่ ำ ที่ ส ำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานกำหนด องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 29
  • 43. มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑๓ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ๑๓.๑ ห้องสมุดมีหนังสืออ้างอิง เช่น หนังสือพระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สารานุกรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นต้น ๑๓.๒ ห้องสมุดมีหนังสือสารคดี บันเทิงคดี หนังสือภาษาต่างประเทศ วารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ จุ ล สาร เอกสารหลั ก สู ต ร ที่ เ หมาะสม สอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รและความต้ อ งการของ ผู้ใช้บริการ ๑๓.๓ ห้องสมุดมีหนังสืออย่างน้อย ๑๐ เล่ม ต่อนักเรียน ๑ คน ๑๓.๔ ห้ อ งสมุ ด มี ว ารสาร นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ ไว้ ใ ห้ บ ริ ก ารอย่ า ง เหมาะสมและเพียงพอ 30 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 44. มาตรฐานที่ ๑๔ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ๑๔.๑ ห้องสมุดมีวัสดุไม่ตีพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในปริมาณ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการของ ผู้ใช้บริการ เช่น ๑๔.๑.๑ ลูกโลก ๑๔.๑.๒ แผนที่ ๑๔.๑.๓ หุ่นจำลอง ของตัวอย่าง ๑๔.๑.๔ เกม ของเล่นเสริมทักษะ ๑๔.๑.๕ วีดิทัศน์ ซีดี-รอม ดีวีดี ๑๔.๑.๖ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ๑๔.๑.๗ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ๑๔.๑.๘ บทเรียนออนไลน์ ฯลฯ มาตรฐานที่ ๑๕ การจั ด การทรั พ ยากรสารสนเทศโดยใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศ ๑๕.๑ ห้องสมุดใช้โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ ๑๕.๒ ห้องสมุดมีการสืบค้นออนไลน์ทางเว็บไซต์ ๑๕.๓ ห้องสมุดมีเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการใช้ทรัพยากร สารสนเทศ ๑๕.๔ ห้ อ งสมุ ด มี ก ารจั ด ฝึ ก อบรมการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศของ ห้องสมุด องค์ประกอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 31
  • 45. มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑๖ อาคารสถานที่ ๑๖.๑ ห้องสมุดตั้งอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม สะดวกในการเข้าใช้บริการ ๑๖.๒ ห้องสมุดมีการออกแบบและตกแต่งอย่างเหมาะสมและสวยงาม ๑๖.๓ ห้ อ งสมุ ด มี ก ารจั ด พื้ น ที่ แ ละบรรยากาศที่ เ อื้ อ ต่ อ การอ่ า นและ การเรียนรู้ ๑๖.๔ ห้องสมุดมีการจัดการด้านสภาพแวดล้อม (สะอาด แสงสว่าง เสียง และการถ่ายเทอากาศ) อย่างเหมาะสม ๑๖.๕ ห้องสมุดมีมาตรการในการรักษาความปลอดภัยของห้องสมุด และผู้ใช้บริการ มาตรฐานที่ ๑๗ วัสดุครุภัณฑ์ ๑๗.๑ ห้องสมุดมีครุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับขนาดของห้องและผู้ใช้บริการ ๑๗.๒ ห้ อ งสมุ ด มี ค รุ ภั ณ ฑ์ เ พี ย งพอและจั ด วางได้ เ หมาะสมกั บ การปฏิบัติงานและให้บริการ ๑๗.๓ ห้ อ งสมุ ด มี ค รุ ภั ณ ฑ์ เครื่ อ งมื อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ร องรั บ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุด (คอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น และคอมพิวเตอร์เพื่อการปฏิบัติงาน) ๑๗.๔ ห้องสมุดมีเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ของบรรณารักษ์และการให้บริการ 32 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 46.
  • 47.
  • 48. เกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน มาตรฐานที่ ๑ ๑.๑ ผู้บริหารมีการ แนวทางการให้คะแนน ผู้บริหารมีความ กำหนดนโยบายและ มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน สามารถในการ แผนการดำเนินงาน มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน บริหารจัดการ ห้องสมุดโรงเรียน มีครบทุกข้อได้ ๓ คะแนน ๑.๑.๑ มีแผน แนวทางการประเมิน การพัฒนาห้องสมุด ไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพ ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน การศึกษาของโรงเรียน ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ๑.๑.๒ มีการ ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน กำหนดนโยบาย ให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้จัดการเรียน การสอนโดยใช้ห้องสมุด เป็นแหล่งเรียนรู้ ๑.๑.๓ มีการ กำหนดนโยบาย การใช้ห้องสมุดเพื่อ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ของนักเรียน ครู บุคลากร และชุมชน ข้อมูลเชิงประจักษ์ วิธีการและเอกสารหลักฐาน เช่น - แผนพัฒนาห้องสมุด - แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ที่ใช้ห้องสมุดเป็น แหล่งเรียนรู้และหรือ มีการบูรณาการการอ่าน - แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา - แผนปฏิบัติการ - โครงการต่าง ๆ - แผนภูมิโครงสร้าง การบริหาร - กิจกรรม โครงการส่งเสริม การอ่าน - สถิติการเข้าใช้ห้องสมุด - คำสั่งมอบหมายงาน ฯลฯ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 35
  • 49. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน มาตรฐานที่ ๑ ๑.๒ ผู้บริหารจัดให้มี แนวทางการให้คะแนน ผู้บริหารมีความ โครงสร้างการบริหารงาน มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ สามารถในการ ที่ชัดเจน ให้ข้อละ ๑ คะแนน บริหารจัดการ ๑.๒.๑ มีการ กำหนดโครงสร้าง แนวทางการประเมิน (ต่อ) การบริหารงานห้องสมุด ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน แต่งตั้งคณะกรรมการ ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน บริหารงานห้องสมุด ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน และคณะกรรมการ ดำเนินงานห้องสมุด ๑.๒.๒ มีการ กำหนดบทบาทหน้าที่ ของบุคลากรตามโครงสร้าง และส่งเสริมให้มีการ ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ ๑.๒.๓ มีการ ประชุมคณะกรรมการ บริหารงานห้องสมุดและ คณะกรรมการดำเนินงาน ห้องสมุด อย่างน้อย ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๑.๒.๔ มีการ แต่งตั้งครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ 36 ข้อมูลเชิงประจักษ์ วิธีการและเอกสารหลักฐาน เช่น - แผนภูมิโครงสร้าง - คำสั่งมอบหมายงาน - รายงานการประชุม ฯลฯ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖
  • 50. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๓ ผู้บริหารจัดให้มี ผู้บริหารมีความ ครูหรือบุคลากร สามารถในการ ทำหน้าที่บรรณารักษ์ บริหารจัดการ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ๑.๓.๑ มีการ (ต่อ) แต่งตั้งครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ๑.๓.๒ มีการ เสริมแรง ให้ขวัญและ กำลังใจแก่ครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ๑.๓.๓ มีการ ส่งเสริมสนับสนุน และให้โอกาสแก่ ครูหรือบุคลากร ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ได้รับการพัฒนา เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ แนวทางการให้คะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน เช่น มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน - คำสั่งแต่งตั้ง มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน มอบหมายงาน - สังเกต แนวทางการประเมิน - สัมภาษณ์ ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน - หลักฐานการเข้าร่วม ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ประชุม สัมมนา ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน - เกียรติบัตร รางวัล ฯลฯ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 37
  • 51. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ วิธีการและเอกสารหลักฐาน มาตรฐานที่ ๑ ๑.๔ ผู้บริหารจัดให้มี เช่น ผู้บริหารมีความ งบประมาณสำหรับ สามารถในการ การดำเนินงานและ - คำสั่ง - แผนพัฒนาห้องสมุด บริหารจัดการ พัฒนาห้องสมุด แนวทางการให้คะแนน - แผนพัฒนาคุณภาพ ๑.๔.๑ มีการ (ต่อ) จัดสรรงบประมาณประจำปี ข้อ ๑.๔.๑ การศึกษา เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน จัดสรรงบประมาณประจำปี - แผนปฏิบัติการ และการพัฒนาห้องสมุด เพื่อซื้อหนังสือและจัด - หลักฐานการจัดหา กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน งบประมาณ ดังนี้ ฯลฯ โรงเรียนประถมศึกษา ขนาดเล็ก (นักเรียน น้อยกว่า ๑๒๑ คน) - จัดสรรไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕ ของเงินอุดหนุน ได้ ๑ คะแนน - จัดสรรไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๖ ของเงินอุดหนุน ได้ ๒ คะแนน - จัดสรรไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗ ของเงินอุดหนุน ได้ ๓ คะแนน 38 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๖