SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แนวปฏิบัติที่ดี
ในการนางานประกันคุณภาพการศึกษา
สู่กิจกรรมของนักศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
ปีการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา : ด้านกิจกรรมนักศึกษา
แนวปฏิบัติทีดี (Best Practice)
ในการนางานประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมของนักศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
ปีการศึกษา 2555
บทนา
นักศึกษาในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการประกันคุณภาพการศึกษา คือเป็นผู้รับบริการ และ
เป็นผลผลิตสาคัญของสถาบันอุดมศึกษาดังนั้นหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันอุดมศึกษาจึงมีพัน ธกิจ สาคัญในการ
ทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับตัวนักศึกษา การที่นักศึกษาได้เข้ามา มีส่วนร่วมและเป็น
พลังสาคัญในการผลักดันงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ซึ้งเป็น
เหตุผลสาคัญในการนาประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาโดย ดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพ
การศึกษา (PDCA) ของคณะอย่างต่อเนื่อง
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตระหนักถึงความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา และมุ่ง
ทีจะพัฒนางาน กระบวนการด้านการประกันคุณภาพฯ อย่างต่อเนือง ทั้งนี้ คณะฯ ยังคานึงถึงการ พัฒน า
นักศึกษาโดยเฉพาะกิจกรรมของนักศึกษา โดยมีการจัดอบรมหรือสัมมนาเพื่อให้ความรู้เรื่องการ ประกัน
คุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจงานประกันคุณภาพฯ ในส่วนทีเกี่ยวกับ นักศึกษา
ทั้งนี้นักศึกษาต้องมีทักษะการประกันคุณภาพฯ เพื่อนาไปปรับใช้ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยสอดคล้อง
กับกระบวนการ PDCA (Plan – Do – Check – Act) เป็นสาคัญ ดังนั้น
คณะจึงได้เลือก แนวทางการดาเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาเพื่อให้
เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป โดยเริ่มต้นจากการถ่ายทอดความรู้และฝึกให้มีทักษะด้านการประกันคุณภาพฯ แก่
กลุ่มสโมสร นักศึกษาของคณะและผู้นานักศึกษาในแต่ละหลักสูตรสาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์แล ะ
เทคโนโลยี หลังจากนั้นนักศึกษาสามารถที่จะใช้กระบวนการ PDCA มาดาเนินกิจกรรมตามแผนงาน แล้วคณะ
จะผลักดันนักศึกษาให้มีการสร้างเครือข่ายการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษารวมไป
ถึงการนาผลการประเมินไปพัฒนาการถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพเพื่อนาไปวางแผนใน
ครั้งต่อไป
แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์และนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
และด้านการ พัฒนานักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปฏิบัติตาม
เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพการศึกษาโดยเน้น ถ่ายทอดและฝึกทักษะแก่นักศึกษาของคณะให้เข้าใจ
กระบวนการ PDCA ร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน (Plan) ร่วมกันดาเนินงานตามแผนที่กาหนดและจัดให้มี
การประเมินย่อย เพื่อนาผลมาปรับปรุงในระหว่างการดาเนินกิจกรรม (Do & Check) มีการประเมินผลรวม
ภายหลังการดาเนินงานตามกิจกรรม/ โครงการเสร็จสิ้นและนาผลประเมินมาสรุป (Check) นาผลประเมินไป
ปรับปรุงเพื่อพัฒนาการดาเนินงาน ในครั้งต่อไปและนาวางแผนงานต่อไป (Action)
แนวทางที่ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดี จากการดาเนินงาน 3 ขันตอนข้างต้นและระบบของแนวปฏิบัติทีดี
ด้านการประกันคุณภาพสู่ กิจกรรมนักศึกษา คณะได้ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนงานและวางแผนงานเพื่อเอื้อ
ต่อการปฏิบัติและ ผลักดันให้เกิดระบบและกลไกการประกันคุณภาพ โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้
วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยี
ภาคใต้ ดาเนินงานด้านประกัน คุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการทั้งใน
ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมอันจะนาไปสู่การสร้าง
ความมันใจกับสังคมว่าได้จัด การศึกษาอย่างมีคุณภาพและผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยกาหนดวัตถุประสงค์
ของการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาดังนี้
1. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ให้มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐาน
3. เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาเนินงาน ของหน่วยงานภายในคณะในภาพรวมตามระบบ
คุณภาพและกลไกการประเมินคุณภาพที่กาหนดขึ้นโดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ใน
ทุกองค์ประกอบว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน
4. เพื่อให้หลักสูตรสาขาวิชา และคณะทราบสถานภาพของตนเอง อันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพไปสู่เป้าหมาย (target) และเป้าประสงค์ (goal) ที่ตั้งไว้
5. เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้มั่นใจว่า คณะ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
6. เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้พร้อมสาหรับการตรวจสอบคุณภาพ (Quality
Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยหน่วยงานภายนอก จากวัตถุประสงค์ของคณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้นโยบายการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาตามมา ซึ่งบรรจุ
อยู่ในนโยบาย 5 ข้อ ที่เป็นจุดเริ่มต้นในการนาประกันคุณภาพ การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา (รายงานประจาปี
2554 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้) และคณะยังจัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ พ.ศ. 2555 (ฉบับปรับปรุง) ให้มีความทันสมัยและ
ทันต่อสถานการณ์สังคมปัจจุบัน ทั้ง นี้เพื่อให้สอดรับกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าประสงค์เพื่อ
แนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในทักษะ
วิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งในระดับชาติและนานาชาติและเพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ของคณะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะจึงได้กาหนดกลยุทธ์การพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้บริหารของคณะได้เลือกให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีด้านกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพ คือ กลยุทธ์ ด้าน
พัฒนานักศึกษาและกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ รายละเอียดมีดังนี้
1. กลยุทธ์ด้านพัฒนานักศึกษา วัตถุประสงค์ พัฒนานักศึกษาที่มีคุณธรรมทีพึงประสงค์และเป็นไป
ตามคุณลักษณะที่กาหนดในหลักสูตร
1.1.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาทั้งในด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้า นทานุ
บารุงศิลปวัฒนธรรม สืบสานงานตามแนวพระราชดาริและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น โครงงานทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม โครงการวันสาคัญทางสาธารณสุข ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ โครงการรณรงค์การแต่งกาย
ด้วยผ้าไทย โครงการลูกสะตออาสาพัฒนาสังคม เป็นต้น
1.2. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถ แนะ
แนวด้านการศึกษา อาชีพและส่วนตัว
1.3. สนับสนุนและส่งเสริมการดาเนินงานของคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา
1.4. สนับสนุนและส่งเสริมการเสนอผลงานในระดับประเทศและนานาชาติของนักศึกษา ทุก
หลักสูตรสาขาวิชา
1.5. สร้างเครือข่ายและจัดโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
1.6. สารวจติดตามการมีงานทาของนักศึกษา
1.7. อบรม / ถ่ายทอด ความรู้ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพให้กับนักศึกษา
2. กลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบประกันคุณภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งใน
ระดับคณะ และหลักสูตรสาขาวิชา กลวิธี
2.1. กาหนดให้ทุกหลักสูตรบูรณาการดาเนินงานควบคู่ไปกับมาตรฐานคุณภาพ (สมศ. กพร.
และมหาวิทยาลัย) และบริหารงานโดยยึดวงจรคุณภาพเป็นหลัก (วางแผนตามกรอบมาตรฐาน ดาเนินงาน โดย
ยึดเป้าหมาย ประเมินและตรวจสอบการดาเนินงาน และนาผลไปปรับปรุงและพัฒนา)
2.2. กาหนดให้คณะ และหลักสูตรสาขาวิชาจัดตั้ง ฝ่ายประกันคุณภาพ โดยมีคู่มือประกัน
คุณภาพและเอกสารรายงานการประเมินตนเองตามกาหนดเวลา
2.3. ให้คณะ และหลักสูตรสาขาวิชาจัดทาแผนตามพันธกิจและดาเนินการ ต่อไปนี้
- แผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี
- แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
- แผนปฏิบัติการตามกรอบมาตรฐานการศึกษา
- แผนการเงินและงบประมาณ
- แผนการตรวจและติดตามประเมินผล
- แผนการจัดการความรู้
- พัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการทั้งด้านหลักสูตร อาจารย์
นักศึกษาและอื่นๆ
2.4. กาหนดให้มีการปรับปรุงบริหารจัดการให้ครบถ้วนตามกระบวนการการประกันคุณภาพ
(PDCA) โดยทั้ง 2 กลยุทธ์นี้มีความสัมพันธ์กันทีสามารถนามาสร้างเป็นแนวปฏิบัติทีดี กล่าวคือนักศึกษา ได้รับ
ความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านการประกันคุณภาพการศึกษาแล้วสามารถนากระบวนการประกันคุณภาพ
(PDCA) เข้ามาดาเนินงานกิจกรรมได้ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ของคณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ การประกันคุณภาพการศึกษา ตามหลักเป็นการบริการจัดการของ
หน่วยงานในการสร้างขั้นตอน การดาเนินงานต่าง ๆ ทีมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบเพื่อให้
เกิด 3 สิ่งสาคัญดังนี้
1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นการวางแผนและดาเนินงานเพื่อ
พัฒนาคุณภาพ
2. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงาน
ตามหลักฐาน หรือร่องรอยของการดาเนินงานตามแผน เพื่อเป็นการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน
ต่าง ๆ
3. การประเมินคุณภาพ ( Quality Assessment) เป็นการประเมินผลการ
ดาเนินงานที่ปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ โดยรับการประเมินคุณภาพจากกรรมการประเมินประกัน
คุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ระบบประกันคุณภาพ กลไกการประกันคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
- การกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย วัตถุประสงค์ ปณิธาน และการ
วางแผนปฏิบัติงาน
- การแต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบตามพันธกิจ
- การกาหนดเกณฑ์มาตรฐานที่มีผลต่อคุณภาพ
- การกาหนดตัวบ่งชี้
- การกาหนดเกณฑ์ตัดสินการตรวจสอบหรือการประเมินคุณภาพ
- การดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการ P-D-C-A
- การรวบรวมหลักฐานอ้างอิงตามกิจกรรมทีทาเป็นรายตัวบ่งชี้
ระบบประกันคุณภาพ กลไกการประกันคุณภาพ
การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)
- สังเกตการปฏิบัติงานจริง สัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ การตรวจดูรายงาน
การประเมินตนเอง (SAR) ตลอดจนรายงานประจาปี
1) การตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor)
2) การตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ตรวจสอบภายนอก ( External Auditor)
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)
- การประเมินคุณภาพภายใน โดยกัลยาณมิตรทางวิชาการภายใน วิทยาลัยและ
ภายนอกวิทยาลัย เช่น บุคลากรจากภายใน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ บุคลากรภายนอกในกลุ่ม เครือข่าย
อุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน กรรมการภายนอกจาก สกอ. เป็นต้น ซึ่งจะมีการประเมิน คุณภาพทุกปีการศึกษา/
ปีงบประมาณ
- การประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมิน
คุณภาพการศึกษา : สมศ.(องค์การมหาชน) ซึ่งจะประเมินคุณภาพการศึกษาทุก 5 ปี
ระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา
1. คณบดีประชุมกลุ่มผู้นานักศึกษาและนักศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบประกัน
คุณภาพของงาน ต่างๆ และฝ่ายกิจการนักศึกษาของคณะดาเนินการจัดโครงการโดยให้นักศึกษาเข้ามามีส่วน
ร่วม
2. กาหนดตัวบ่งชี้และดาเนินการตามขั้นตอนการประเมินตามตัวบ่งชี้
3. แต่งตั้งคณะกรรมการนักศึกษารับผิดชอบติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด
4. สรุปผลการประเมินโครงการ เพื่อนามาทารายงานสรุปและนาผลเข้าประชุมเพื่อปรับปรุง
ต่อไป
5. นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพมากขึ้น
แผนภูมิระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
บทบาทนักศึกษากับการประกันคุณภาพ
1. บทบาทในการศึกษา ติดตาม รับรู้การดาเนินงานประกันคุณภาพของคณะและ
มหาวิทยาลัย ทั้งในภาพรวมและองค์ประกอบในส่วนทีเกี่ยวข้องซึ่งมีผลต่อนักศึกษาโดยตรง ได้แก่
องค์ประกอบด้านการเรียนการสอน ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ด้านการบริการวิชาการหรือด้านทานุบารุง
และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม โดยควรศึกษาว่าคณะ/มหาวิทยาลัยได้กาหนดนโยบายคุณภาพและแนวทางการ
ดาเนินงานประกันคุณภาพในแต่ละองค์ประกอบไว้อย่างไร คณบดี รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ประธาน
สโมสรนักศึกษา คณะกรรมการดาเนินกิจกรรมนักศึกษา คณะกรรมการประกันคุณภาพฝ่ายงานนักศึกษา
ติดตามประเมินการดาเนินกิจกรรมนักศึกษา นาผลการประเมินมาปรับปรุงการทางานในครั้งต่อไป เครือข่าย
นักศึกษาภายนอก เครือข่ายนักศึกษาภายใน แผนกิจกรรม ปฏิทินปฏิบัติงาน กิจกรรม ผลงาน
2. บทบาทในการให้ข้อเสนอแนะการดาเนินงานประกันคุณภาพต่อคณะ/มหาวิทยาลัยใน
ส่วนที่นักศึกษาพิจารณาว่า หากได้มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมในแต่ละเรือง จะก่อให้เกิดประโยชน์หรือเป็น
การเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานมากยิ่งขึ้น
3. บทบาทในการให้ความร่วมมือและให้ข้อมูลย้อนกลับในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประเมินการ
ดาเนินงานประกันคุณภาพ ซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัยดาเนินการด้วยข้อมูลที่ตรงไปตรงมา ให้ข้อเท็จจริงมาก
ทีสุด เพื่อให้ข้อมูลความคิดเห็นของนักศึกษาเป็นข้อมูลทีเชื่อถือได้ และเป็นประโยชน์ในการนามาใช้ใน
การพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพของคณะ/วิทยาลัยในครั้งต่อไป
4. บทบาทในการสะท้อนภาพการดาเนินงานของหน่วยงานหรือการดาเนินบทบาทของ
คณาจารย์ และบุคลากรต่อคณะ/มหาวิทยาลัยโดยตรง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานทีเกี่ยวข้องได้ปรับปรุง
แนวทางการดาเนินงานให้เป็นไปตามแนวทางการประกันคุณภาพต่อไป
5. บทบาทในการเผยแพร่และเชิญชวนให้นักศึกษาในคณะ/มหาวิทยาลัย ได้ให้ความสนใจ
และให้ความสาคัญในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
6. บทบาทในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตังสโมสรนักศึกษาของคณะเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการ
ประกันคุณภาพของคณะ/มหาวิทยาลัย เพื่อสร้างเครือข่ายในการร่วมติดตาม รับรู้การดาเนินงานประกัน
คุณภาพ สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์และโลกทัศน์ด้าน
กระบวนการประกันคุณภาพ ทั้งสนับสนุนให้การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพมีความเข้มแข็งและก่อให้เกิด
ประโยชน์อย่างแท้จริงแก่นักศึกษาต่อไป
7. บทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา และการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
7.1 ให้ข้อมูลแก่คณะ/ วิทยาลัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
สาขาวิชา ทีสะท้อนสภาพทีเกิดขึ้นจริง
7.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพการสอนของคณาจารย์และข้อมูลทีนาไปสู่การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย์
7.3 เสนอแนะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียน
7.4 แสดงความสนใจในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนรู้ให้ผู้สอนทราบ
7.5 ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลของสถาบัน
7.6 พัฒนาตนเองให้อยู่ในข่ายทีจะได้รับการยกย่องและทาตนไม่ให้คณะ/วิทยาลัย
เสื่อมเสียชื่อเสียง
7.7 หาโอกาสในการสร้างชื่อเสียงในทางที่ดีแก่คณะ/วิทยาลัยตามศักยภาพของ
ตนเอง
7.8 ช่วยให้ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลของเพื่อนักศึกษาหรือศิษย์เก่าทีได้รับการยก
ย่องให้สถาบันรับทราบ
7.9 ให้ข้อมูลต่อคณะ/วิทยาลัยเกี่ยวกับคุณภาพหรือความเหมาะสมของบริการที่
คณะ/ วิทยาลัยจัดให้
7.10 เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่คณะ/วิทยาลัยจัดขึ้นเพื่อพัฒนาตนเอง
7.11 นากระบวนการคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมนักศึกษา
แนวปฏิบัติทีดี (Best Practice) ในการนางานประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมของนักศึกษา
ระดับนักศึกษาของคณะและผู้นานักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. กระบวนการส่งเสริม กลไก การจัดอบรม ให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพ
การศึกษาแก่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะได้ดาเนินการจัดโครงการ “ประชุมสัมมนาเพื่อ
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการอบรมการประกันคุณภาพนักศึกษา ” ในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555 ณ
ห้องยางพารา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ โดยโครงการนี้มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ
เกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้ร่วมมือกับคณะอื่นภายในวิทยาลัย เพื่อให้
นักศึกษาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเกิดเครือข่ายภายในวิทยาลัยขึ้น ทั้งกลุ่มสโมสรนักศึกษาและ
ผู้นานักศึกษาเกิดความสนใจในการสร้างเครือข่ายภายนอกสถาบันด้วย ซึ่งต่อมานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ได้เข้าร่วม โครงการการประชุมเครือข่ายอุดมศึกษา จังหวัดนครซรี
ธรรมราช ๒๕๕๕ ซึ่งเป็น เครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับนักศึกษาและได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือด้าน
เครือข่ายด้านการประกันคุณภาพนักศึกษาระหว่าง เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน ได้แก่ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย นครศรีธรรมราช (พื้นที่ไสใหญ่ พื้นที่ทุ่งใหญ่ พื้นที่ขนอม) มหาวิทยาลัย
รามคาแหง นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ วิทยาลัยนาฎศิลปนครศรีธรรมราช สถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งในครั้งนี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ เป็นเจ้าภาพในการจัด โดยมีกาหนดเมื่อ วันที่ 6
ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมชัยพฏษ์ วิทยลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ซึ่งนักศึกษาที่ผ่านการอบรมมานั้นสามารถที่
จะจัดกิจกรรม โครงการโดยใช้กระบวนการประกันคุณภาพ (PDCA) มาดาเนินการ
เอกสารหลักฐาน
1.1 รายงานสรุปผลโครงการ “ประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการ
อบรมการประกันคุณภาพนักศึกษา”
1.2 เอกสารประกอบการเข้าโครงการ “การประชุมเครือข่ายอุดมศึกษา จังหวัด
นครซรีธรรมราช ๒๕๕๕”
1.3 ภาพการดาเนินโครงการค่ายเครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับนักศึกษา
1.4 แบบเสนอโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012”
2. การจัดโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” โดยใช้กระบวนการ (PDCA) ฝ่ายกิจการ
นักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาของ คณะดาเนินการเสนอโครงการ “รัก
น้องใหม่ Sci-Tech 2012” ต่อคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากนั้นคณะกรรมการนักศึกษาได้จัดประชุม
เพื่อวางแผนงาน กาหนด ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม รวมไปถึงการใช้งบประมาณจากวิทยาลัยเพื่อดาเนิน
โครงการ โดยมี อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการเป็นผู้ดูแลการดาเนินโครงการ ในระหว่างการดาเนินงานจะมีการ
ประเมินผลย่อยคือการประชุมย่อยเพื่อปรับรูปแบบให้เป็นไปตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลังเสร็จสิ้นโครงการมี
การประเมินผลโดยรวม ซึ่งประเมินทั้งผู้จัดโครงการและผู้เข้าร่วมโครงการด้วย แล้วนาผลการประเมินที่ได้มา
สรุปเป็นรายงานต่อคณะฯ คณะกรรมการดาเนินการสรุปและวางแผนสาหรับการจัดในครั้งต่อไป โดยภาพรวม
กิจกรรมนี้ประสบความสาเร็จในด้านการนากระบวนการ PDCA มาใช้ และอาจนาไปสู่การขยายผลต่อในการ
ดาเนินงานโครงการต่อไป
เอกสารหลักฐาน
2.1 รายงานสรุปผลโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012”
2.2 การเตรียมงานเพื่อรองรับโครงการค่ายเครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับ
นักศึกษา
3. การนาผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการให้ความรู้และกลไก ดาเนินงานประกัน
คุณภาพที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา หลังจากการสรุปงานโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” แล้ว ฝ่าย
กิจการนักศึกษา และสโมสรนักศึกษาของคณะฯ ได้ดาเนินการสรุปผลการดาเนินงาน และนาข้อเสนอแนะของ
นักศึกษา และข้อคิดเห็นของผู้ม าเข้าร่วมโครงการไปใช้ในการดาเนินการรายงานผลโครงการ เพื่อพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มนักศึกษาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องตามกระบวนการ PDCA และเพื่อเป็นการ วาง
แผนการดาเนินงานในปีต่อไป
เอกสารหลักฐาน
3.1 รายงานสรุปผลโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012”
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ สานักงานแผนและประกันคุณภาพ (2554). คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัย
เทคโนโลยีภาคใต้ ปีการศึกษา 2554 : สานักงานแผนและประกันคุณภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
มหาวิทยาลัยพายัพ สานักงานประกันคุณภาพ. ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับองค์กร นักศึกษา):
เชียงใหม่ : สานักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยพายัพ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ. (2554). การประกันคุณภาพการศึกษา :
ความหมาย. 27 พฤษภาคม 2554. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา
http://bba.ubru.ac.th/home2/index.php/quality-assurance
สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น. (2554). งานประกันคุณภาพ. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา
http://qa.tni.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=50&Itemid=89

More Related Content

What's hot

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาK S
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอลิศลา กันทาเดช
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceSajee Sirikrai
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 

What's hot (15)

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
Devalue
DevalueDevalue
Devalue
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
Scbf
ScbfScbf
Scbf
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 

Similar to แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555

Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa educationpratanago
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentmaruay songtanin
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...Siriratbruce
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 

Similar to แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555 (20)

แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
Wanchai s
Wanchai sWanchai s
Wanchai s
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa education
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessment
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555

  • 2. แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา : ด้านกิจกรรมนักศึกษา แนวปฏิบัติทีดี (Best Practice) ในการนางานประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมของนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปีการศึกษา 2555 บทนา นักศึกษาในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการประกันคุณภาพการศึกษา คือเป็นผู้รับบริการ และ เป็นผลผลิตสาคัญของสถาบันอุดมศึกษาดังนั้นหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันอุดมศึกษาจึงมีพัน ธกิจ สาคัญในการ ทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับตัวนักศึกษา การที่นักศึกษาได้เข้ามา มีส่วนร่วมและเป็น พลังสาคัญในการผลักดันงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ซึ้งเป็น เหตุผลสาคัญในการนาประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาโดย ดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพ การศึกษา (PDCA) ของคณะอย่างต่อเนื่อง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตระหนักถึงความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา และมุ่ง ทีจะพัฒนางาน กระบวนการด้านการประกันคุณภาพฯ อย่างต่อเนือง ทั้งนี้ คณะฯ ยังคานึงถึงการ พัฒน า นักศึกษาโดยเฉพาะกิจกรรมของนักศึกษา โดยมีการจัดอบรมหรือสัมมนาเพื่อให้ความรู้เรื่องการ ประกัน คุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจงานประกันคุณภาพฯ ในส่วนทีเกี่ยวกับ นักศึกษา ทั้งนี้นักศึกษาต้องมีทักษะการประกันคุณภาพฯ เพื่อนาไปปรับใช้ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยสอดคล้อง กับกระบวนการ PDCA (Plan – Do – Check – Act) เป็นสาคัญ ดังนั้น คณะจึงได้เลือก แนวทางการดาเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาเพื่อให้ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป โดยเริ่มต้นจากการถ่ายทอดความรู้และฝึกให้มีทักษะด้านการประกันคุณภาพฯ แก่ กลุ่มสโมสร นักศึกษาของคณะและผู้นานักศึกษาในแต่ละหลักสูตรสาขาวิชาของคณะวิทยาศาสตร์แล ะ เทคโนโลยี หลังจากนั้นนักศึกษาสามารถที่จะใช้กระบวนการ PDCA มาดาเนินกิจกรรมตามแผนงาน แล้วคณะ จะผลักดันนักศึกษาให้มีการสร้างเครือข่ายการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษารวมไป ถึงการนาผลการประเมินไปพัฒนาการถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพเพื่อนาไปวางแผนใน ครั้งต่อไป
  • 3. แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์และนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และด้านการ พัฒนานักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปฏิบัติตาม เกณฑ์ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพการศึกษาโดยเน้น ถ่ายทอดและฝึกทักษะแก่นักศึกษาของคณะให้เข้าใจ กระบวนการ PDCA ร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน (Plan) ร่วมกันดาเนินงานตามแผนที่กาหนดและจัดให้มี การประเมินย่อย เพื่อนาผลมาปรับปรุงในระหว่างการดาเนินกิจกรรม (Do & Check) มีการประเมินผลรวม ภายหลังการดาเนินงานตามกิจกรรม/ โครงการเสร็จสิ้นและนาผลประเมินมาสรุป (Check) นาผลประเมินไป ปรับปรุงเพื่อพัฒนาการดาเนินงาน ในครั้งต่อไปและนาวางแผนงานต่อไป (Action) แนวทางที่ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดี จากการดาเนินงาน 3 ขันตอนข้างต้นและระบบของแนวปฏิบัติทีดี ด้านการประกันคุณภาพสู่ กิจกรรมนักศึกษา คณะได้ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนงานและวางแผนงานเพื่อเอื้อ ต่อการปฏิบัติและ ผลักดันให้เกิดระบบและกลไกการประกันคุณภาพ โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยี ภาคใต้ ดาเนินงานด้านประกัน คุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการทั้งใน ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมอันจะนาไปสู่การสร้าง ความมันใจกับสังคมว่าได้จัด การศึกษาอย่างมีคุณภาพและผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยกาหนดวัตถุประสงค์ ของการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐาน 3. เพื่อตรวจสอบและประเมินการดาเนินงาน ของหน่วยงานภายในคณะในภาพรวมตามระบบ คุณภาพและกลไกการประเมินคุณภาพที่กาหนดขึ้นโดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ใน ทุกองค์ประกอบว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 4. เพื่อให้หลักสูตรสาขาวิชา และคณะทราบสถานภาพของตนเอง อันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทาง ในการพัฒนาคุณภาพไปสู่เป้าหมาย (target) และเป้าประสงค์ (goal) ที่ตั้งไว้ 5. เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้มั่นใจว่า คณะ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ 6. เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้พร้อมสาหรับการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยหน่วยงานภายนอก จากวัตถุประสงค์ของคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้นโยบายการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาตามมา ซึ่งบรรจุ อยู่ในนโยบาย 5 ข้อ ที่เป็นจุดเริ่มต้นในการนาประกันคุณภาพ การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา (รายงานประจาปี 2554 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้) และคณะยังจัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ พ.ศ. 2555 (ฉบับปรับปรุง) ให้มีความทันสมัยและ ทันต่อสถานการณ์สังคมปัจจุบัน ทั้ง นี้เพื่อให้สอดรับกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าประสงค์เพื่อ แนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในทักษะ
  • 4. วิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งในระดับชาติและนานาชาติและเพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ของคณะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะจึงได้กาหนดกลยุทธ์การพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้บริหารของคณะได้เลือกให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีด้านกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพ คือ กลยุทธ์ ด้าน พัฒนานักศึกษาและกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ รายละเอียดมีดังนี้ 1. กลยุทธ์ด้านพัฒนานักศึกษา วัตถุประสงค์ พัฒนานักศึกษาที่มีคุณธรรมทีพึงประสงค์และเป็นไป ตามคุณลักษณะที่กาหนดในหลักสูตร 1.1.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาทั้งในด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้า นทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม สืบสานงานตามแนวพระราชดาริและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น โครงงานทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม โครงการวันสาคัญทางสาธารณสุข ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ โครงการรณรงค์การแต่งกาย ด้วยผ้าไทย โครงการลูกสะตออาสาพัฒนาสังคม เป็นต้น 1.2. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถ แนะ แนวด้านการศึกษา อาชีพและส่วนตัว 1.3. สนับสนุนและส่งเสริมการดาเนินงานของคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา 1.4. สนับสนุนและส่งเสริมการเสนอผลงานในระดับประเทศและนานาชาติของนักศึกษา ทุก หลักสูตรสาขาวิชา 1.5. สร้างเครือข่ายและจัดโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ 1.6. สารวจติดตามการมีงานทาของนักศึกษา 1.7. อบรม / ถ่ายทอด ความรู้ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพให้กับนักศึกษา 2. กลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบประกันคุณภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งใน ระดับคณะ และหลักสูตรสาขาวิชา กลวิธี 2.1. กาหนดให้ทุกหลักสูตรบูรณาการดาเนินงานควบคู่ไปกับมาตรฐานคุณภาพ (สมศ. กพร. และมหาวิทยาลัย) และบริหารงานโดยยึดวงจรคุณภาพเป็นหลัก (วางแผนตามกรอบมาตรฐาน ดาเนินงาน โดย ยึดเป้าหมาย ประเมินและตรวจสอบการดาเนินงาน และนาผลไปปรับปรุงและพัฒนา) 2.2. กาหนดให้คณะ และหลักสูตรสาขาวิชาจัดตั้ง ฝ่ายประกันคุณภาพ โดยมีคู่มือประกัน คุณภาพและเอกสารรายงานการประเมินตนเองตามกาหนดเวลา 2.3. ให้คณะ และหลักสูตรสาขาวิชาจัดทาแผนตามพันธกิจและดาเนินการ ต่อไปนี้ - แผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี - แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา - แผนปฏิบัติการตามกรอบมาตรฐานการศึกษา - แผนการเงินและงบประมาณ - แผนการตรวจและติดตามประเมินผล - แผนการจัดการความรู้ - พัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการทั้งด้านหลักสูตร อาจารย์ นักศึกษาและอื่นๆ
  • 5. 2.4. กาหนดให้มีการปรับปรุงบริหารจัดการให้ครบถ้วนตามกระบวนการการประกันคุณภาพ (PDCA) โดยทั้ง 2 กลยุทธ์นี้มีความสัมพันธ์กันทีสามารถนามาสร้างเป็นแนวปฏิบัติทีดี กล่าวคือนักศึกษา ได้รับ ความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านการประกันคุณภาพการศึกษาแล้วสามารถนากระบวนการประกันคุณภาพ (PDCA) เข้ามาดาเนินงานกิจกรรมได้ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ การประกันคุณภาพการศึกษา ตามหลักเป็นการบริการจัดการของ หน่วยงานในการสร้างขั้นตอน การดาเนินงานต่าง ๆ ทีมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบเพื่อให้ เกิด 3 สิ่งสาคัญดังนี้ 1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นการวางแผนและดาเนินงานเพื่อ พัฒนาคุณภาพ 2. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงาน ตามหลักฐาน หรือร่องรอยของการดาเนินงานตามแผน เพื่อเป็นการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน ต่าง ๆ 3. การประเมินคุณภาพ ( Quality Assessment) เป็นการประเมินผลการ ดาเนินงานที่ปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ โดยรับการประเมินคุณภาพจากกรรมการประเมินประกัน คุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ระบบประกันคุณภาพ กลไกการประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) - การกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย วัตถุประสงค์ ปณิธาน และการ วางแผนปฏิบัติงาน - การแต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบตามพันธกิจ - การกาหนดเกณฑ์มาตรฐานที่มีผลต่อคุณภาพ - การกาหนดตัวบ่งชี้ - การกาหนดเกณฑ์ตัดสินการตรวจสอบหรือการประเมินคุณภาพ - การดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการ P-D-C-A - การรวบรวมหลักฐานอ้างอิงตามกิจกรรมทีทาเป็นรายตัวบ่งชี้ ระบบประกันคุณภาพ กลไกการประกันคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) - สังเกตการปฏิบัติงานจริง สัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ การตรวจดูรายงาน การประเมินตนเอง (SAR) ตลอดจนรายงานประจาปี 1) การตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor) 2) การตรวจสอบคุณภาพโดยผู้ตรวจสอบภายนอก ( External Auditor) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)
  • 6. - การประเมินคุณภาพภายใน โดยกัลยาณมิตรทางวิชาการภายใน วิทยาลัยและ ภายนอกวิทยาลัย เช่น บุคลากรจากภายใน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ บุคลากรภายนอกในกลุ่ม เครือข่าย อุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน กรรมการภายนอกจาก สกอ. เป็นต้น ซึ่งจะมีการประเมิน คุณภาพทุกปีการศึกษา/ ปีงบประมาณ - การประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมิน คุณภาพการศึกษา : สมศ.(องค์การมหาชน) ซึ่งจะประเมินคุณภาพการศึกษาทุก 5 ปี ระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา 1. คณบดีประชุมกลุ่มผู้นานักศึกษาและนักศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบประกัน คุณภาพของงาน ต่างๆ และฝ่ายกิจการนักศึกษาของคณะดาเนินการจัดโครงการโดยให้นักศึกษาเข้ามามีส่วน ร่วม 2. กาหนดตัวบ่งชี้และดาเนินการตามขั้นตอนการประเมินตามตัวบ่งชี้ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการนักศึกษารับผิดชอบติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด 4. สรุปผลการประเมินโครงการ เพื่อนามาทารายงานสรุปและนาผลเข้าประชุมเพื่อปรับปรุง ต่อไป 5. นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพมากขึ้น แผนภูมิระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา บทบาทนักศึกษากับการประกันคุณภาพ 1. บทบาทในการศึกษา ติดตาม รับรู้การดาเนินงานประกันคุณภาพของคณะและ มหาวิทยาลัย ทั้งในภาพรวมและองค์ประกอบในส่วนทีเกี่ยวข้องซึ่งมีผลต่อนักศึกษาโดยตรง ได้แก่ องค์ประกอบด้านการเรียนการสอน ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ด้านการบริการวิชาการหรือด้านทานุบารุง และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม โดยควรศึกษาว่าคณะ/มหาวิทยาลัยได้กาหนดนโยบายคุณภาพและแนวทางการ ดาเนินงานประกันคุณภาพในแต่ละองค์ประกอบไว้อย่างไร คณบดี รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ประธาน สโมสรนักศึกษา คณะกรรมการดาเนินกิจกรรมนักศึกษา คณะกรรมการประกันคุณภาพฝ่ายงานนักศึกษา ติดตามประเมินการดาเนินกิจกรรมนักศึกษา นาผลการประเมินมาปรับปรุงการทางานในครั้งต่อไป เครือข่าย นักศึกษาภายนอก เครือข่ายนักศึกษาภายใน แผนกิจกรรม ปฏิทินปฏิบัติงาน กิจกรรม ผลงาน 2. บทบาทในการให้ข้อเสนอแนะการดาเนินงานประกันคุณภาพต่อคณะ/มหาวิทยาลัยใน ส่วนที่นักศึกษาพิจารณาว่า หากได้มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมในแต่ละเรือง จะก่อให้เกิดประโยชน์หรือเป็น การเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานมากยิ่งขึ้น 3. บทบาทในการให้ความร่วมมือและให้ข้อมูลย้อนกลับในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประเมินการ ดาเนินงานประกันคุณภาพ ซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัยดาเนินการด้วยข้อมูลที่ตรงไปตรงมา ให้ข้อเท็จจริงมาก ทีสุด เพื่อให้ข้อมูลความคิดเห็นของนักศึกษาเป็นข้อมูลทีเชื่อถือได้ และเป็นประโยชน์ในการนามาใช้ใน การพัฒนาการดาเนินงานประกันคุณภาพของคณะ/วิทยาลัยในครั้งต่อไป
  • 7. 4. บทบาทในการสะท้อนภาพการดาเนินงานของหน่วยงานหรือการดาเนินบทบาทของ คณาจารย์ และบุคลากรต่อคณะ/มหาวิทยาลัยโดยตรง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานทีเกี่ยวข้องได้ปรับปรุง แนวทางการดาเนินงานให้เป็นไปตามแนวทางการประกันคุณภาพต่อไป 5. บทบาทในการเผยแพร่และเชิญชวนให้นักศึกษาในคณะ/มหาวิทยาลัย ได้ให้ความสนใจ และให้ความสาคัญในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา 6. บทบาทในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตังสโมสรนักศึกษาของคณะเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการ ประกันคุณภาพของคณะ/มหาวิทยาลัย เพื่อสร้างเครือข่ายในการร่วมติดตาม รับรู้การดาเนินงานประกัน คุณภาพ สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์และโลกทัศน์ด้าน กระบวนการประกันคุณภาพ ทั้งสนับสนุนให้การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพมีความเข้มแข็งและก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างแท้จริงแก่นักศึกษาต่อไป 7. บทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา และการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 7.1 ให้ข้อมูลแก่คณะ/ วิทยาลัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร สาขาวิชา ทีสะท้อนสภาพทีเกิดขึ้นจริง 7.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพการสอนของคณาจารย์และข้อมูลทีนาไปสู่การเพิ่ม ประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย์ 7.3 เสนอแนะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียน 7.4 แสดงความสนใจในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนรู้ให้ผู้สอนทราบ 7.5 ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลของสถาบัน 7.6 พัฒนาตนเองให้อยู่ในข่ายทีจะได้รับการยกย่องและทาตนไม่ให้คณะ/วิทยาลัย เสื่อมเสียชื่อเสียง 7.7 หาโอกาสในการสร้างชื่อเสียงในทางที่ดีแก่คณะ/วิทยาลัยตามศักยภาพของ ตนเอง 7.8 ช่วยให้ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลของเพื่อนักศึกษาหรือศิษย์เก่าทีได้รับการยก ย่องให้สถาบันรับทราบ 7.9 ให้ข้อมูลต่อคณะ/วิทยาลัยเกี่ยวกับคุณภาพหรือความเหมาะสมของบริการที่ คณะ/ วิทยาลัยจัดให้ 7.10 เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่คณะ/วิทยาลัยจัดขึ้นเพื่อพัฒนาตนเอง 7.11 นากระบวนการคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมนักศึกษา
  • 8. แนวปฏิบัติทีดี (Best Practice) ในการนางานประกันคุณภาพการศึกษาสู่กิจกรรมของนักศึกษา ระดับนักศึกษาของคณะและผู้นานักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. กระบวนการส่งเสริม กลไก การจัดอบรม ให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพ การศึกษาแก่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะได้ดาเนินการจัดโครงการ “ประชุมสัมมนาเพื่อ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการอบรมการประกันคุณภาพนักศึกษา ” ในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555 ณ ห้องยางพารา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ โดยโครงการนี้มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้ร่วมมือกับคณะอื่นภายในวิทยาลัย เพื่อให้ นักศึกษาเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเกิดเครือข่ายภายในวิทยาลัยขึ้น ทั้งกลุ่มสโมสรนักศึกษาและ ผู้นานักศึกษาเกิดความสนใจในการสร้างเครือข่ายภายนอกสถาบันด้วย ซึ่งต่อมานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ได้เข้าร่วม โครงการการประชุมเครือข่ายอุดมศึกษา จังหวัดนครซรี ธรรมราช ๒๕๕๕ ซึ่งเป็น เครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับนักศึกษาและได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือด้าน เครือข่ายด้านการประกันคุณภาพนักศึกษาระหว่าง เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน ได้แก่ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย นครศรีธรรมราช (พื้นที่ไสใหญ่ พื้นที่ทุ่งใหญ่ พื้นที่ขนอม) มหาวิทยาลัย รามคาแหง นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ วิทยาลัยนาฎศิลปนครศรีธรรมราช สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งในครั้งนี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ เป็นเจ้าภาพในการจัด โดยมีกาหนดเมื่อ วันที่ 6 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมชัยพฏษ์ วิทยลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ซึ่งนักศึกษาที่ผ่านการอบรมมานั้นสามารถที่ จะจัดกิจกรรม โครงการโดยใช้กระบวนการประกันคุณภาพ (PDCA) มาดาเนินการ เอกสารหลักฐาน 1.1 รายงานสรุปผลโครงการ “ประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการ อบรมการประกันคุณภาพนักศึกษา” 1.2 เอกสารประกอบการเข้าโครงการ “การประชุมเครือข่ายอุดมศึกษา จังหวัด นครซรีธรรมราช ๒๕๕๕” 1.3 ภาพการดาเนินโครงการค่ายเครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับนักศึกษา 1.4 แบบเสนอโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” 2. การจัดโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” โดยใช้กระบวนการ (PDCA) ฝ่ายกิจการ นักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาของ คณะดาเนินการเสนอโครงการ “รัก น้องใหม่ Sci-Tech 2012” ต่อคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากนั้นคณะกรรมการนักศึกษาได้จัดประชุม เพื่อวางแผนงาน กาหนด ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม รวมไปถึงการใช้งบประมาณจากวิทยาลัยเพื่อดาเนิน โครงการ โดยมี อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการเป็นผู้ดูแลการดาเนินโครงการ ในระหว่างการดาเนินงานจะมีการ ประเมินผลย่อยคือการประชุมย่อยเพื่อปรับรูปแบบให้เป็นไปตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลังเสร็จสิ้นโครงการมี
  • 9. การประเมินผลโดยรวม ซึ่งประเมินทั้งผู้จัดโครงการและผู้เข้าร่วมโครงการด้วย แล้วนาผลการประเมินที่ได้มา สรุปเป็นรายงานต่อคณะฯ คณะกรรมการดาเนินการสรุปและวางแผนสาหรับการจัดในครั้งต่อไป โดยภาพรวม กิจกรรมนี้ประสบความสาเร็จในด้านการนากระบวนการ PDCA มาใช้ และอาจนาไปสู่การขยายผลต่อในการ ดาเนินงานโครงการต่อไป เอกสารหลักฐาน 2.1 รายงานสรุปผลโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” 2.2 การเตรียมงานเพื่อรองรับโครงการค่ายเครือข่ายประกันคุณภาพสาหรับ นักศึกษา 3. การนาผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการให้ความรู้และกลไก ดาเนินงานประกัน คุณภาพที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา หลังจากการสรุปงานโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012” แล้ว ฝ่าย กิจการนักศึกษา และสโมสรนักศึกษาของคณะฯ ได้ดาเนินการสรุปผลการดาเนินงาน และนาข้อเสนอแนะของ นักศึกษา และข้อคิดเห็นของผู้ม าเข้าร่วมโครงการไปใช้ในการดาเนินการรายงานผลโครงการ เพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มนักศึกษาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องตามกระบวนการ PDCA และเพื่อเป็นการ วาง แผนการดาเนินงานในปีต่อไป เอกสารหลักฐาน 3.1 รายงานสรุปผลโครงการ “รักน้องใหม่ Sci-Tech 2012”
  • 10. แหล่งข้อมูลอ้างอิง วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ สานักงานแผนและประกันคุณภาพ (2554). คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีภาคใต้ ปีการศึกษา 2554 : สานักงานแผนและประกันคุณภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ มหาวิทยาลัยพายัพ สานักงานประกันคุณภาพ. ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษา (ระดับองค์กร นักศึกษา): เชียงใหม่ : สานักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยพายัพ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ. (2554). การประกันคุณภาพการศึกษา : ความหมาย. 27 พฤษภาคม 2554. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา http://bba.ubru.ac.th/home2/index.php/quality-assurance สถาบันเทคโนโลยีไทย – ญี่ปุ่น. (2554). งานประกันคุณภาพ. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา http://qa.tni.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=50&Itemid=89