SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ก
คํานํา
การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนดวยแบบทดสอบแบบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบระดับ
นานาชาติ นอกจากจะเปนการประเมินความรูความสามารถของผูเรียนตามกรอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แลว ยังเปนการประเมินความสามารถในการเขียนสื่อความของ
ผูเรียนอีกดวย ซึ่งในปจจุบันผูเรียนไมคอยมีความสามารถในเขียนสื่อความมากนัก ซึ่งดูจากผลการทดสอบในระดับ
นานาชาติ (PISA) ของเด็กไทย ซึ่งครูผูสอนจะตองปลูกฝงความสามารถในการเขียนสื่อความโดยผานทางการวัดและ
ประเมินผลในชั้นเรียน นอกจากนี้เปนการประเมินความรูความสามารถตามหลักสูตรแลว ยังเปนการเตรียมความพรอม
ใหแกผูเรียนในการทดสอบในระดับนานาชาติอีกดวย ดังนั้น เอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศก
ในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติที่สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒนาขึ้นนี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ ตั้งแตความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร
หลักการออกแบบและวางแผนการวัดและประเมินผล หลักในการสรางขอสอบแบบเขียนตอบ หลักในการตรวจสอบ
คุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมินผล รวมทั้งมีพัฒนาทักษะกระบวนการในการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและ
ประเมินผล ซึ่งไดแก การฝกปฏิบัติในการเขียนขอสอบ การเขียนเกณฑประเมินคุณภาพ(Rubric) การวิพากษขอสอบ
จากผูเชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถในการเขียนขอสอบเปนอยางดี และการฝกวิเคราะหหาคาคุณภาพของขอสอบ
รายขอ เปนตน
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพ
ครูผูสอนและศึกษานิเทศกในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาตินี้ จะ
เปนประโยชนในการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกของหนวยงานตางๆไดเปนอยางดี
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เมษายน 2557
ข | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
สารบัญ
รายการ หนา
คํานํา..................................................................................................................................................................ก
สารบัญ...............................................................................................................................................................ข
หนวยที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ
ระดับนานาชาติ (PISA) ......................................................................................................................................1
สาระสําคัญ............................................................................................................................................................ 2
วัตถุประสงค.......................................................................................................................................................... 2
เวลา...................................................................................................................................................................... 2
บทบาทของผูเขาอบรม.......................................................................................................................................... 2
กิจกรรม................................................................................................................................................................. 2
สื่อ......................................................................................................................................................................... 2
วิธีการประเมิน....................................................................................................................................................... 3
ใบความรูที่ 1.1...................................................................................................................................................... 4
ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ...............................7
ใบงานที่ 1.2 กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก)..............................................................................8
หนวยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย...............................9
สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................10
วัตถุประสงค........................................................................................................................................................10
เวลา....................................................................................................................................................................10
บทบาทผูเขาอบรม..............................................................................................................................................10
กิจกรรม...............................................................................................................................................................10
สื่อ.......................................................................................................................................................................11
วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................11
ใบความรูที่ 2.1....................................................................................................................................................12
ใบงานที่ 2.1 “ฉันอยูขั้นไหน”..............................................................................................................................16
ใบความรูที่ 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย.......................................................17
ใบงานที่ 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับ
นานาชาติ (PISA).................................................................................................................................................24
หนวยที่ 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนว
การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)..................................................................................................................25
สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................26
วัตถุประสงค........................................................................................................................................................26
เวลา....................................................................................................................................................................26
บทบาทผูเขาอบรม..............................................................................................................................................26
กิจกรรม...............................................................................................................................................................26
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ค
สารบัญ
รายการ หนา
หนวยที่ 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนว
การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) (ตอ)
สื่อ.......................................................................................................................................................................27
การประเมินผล....................................................................................................................................................27
ใบความรูที่ 3.1....................................................................................................................................................28
ใบงานที่ 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด.................................................................................34
หนวยที่ 4 การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย..................................................................35
สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................36
วัตถุประสงค........................................................................................................................................................36
เวลา....................................................................................................................................................................36
บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................36
กิจกรรม...............................................................................................................................................................36
สื่อ.......................................................................................................................................................................37
วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................37
ใบความรูที่ 4.1....................................................................................................................................................38
ใบงานที่ 4.1 การเขียนขอสอบอัตนัย...................................................................................................................43
ใบงานที่ 4.2 วิพากษขอสอบอัตนัย......................................................................................................................44
หนวยที่ 5 การเขียนเกณฑการใหคะแนน..........................................................................................................45
สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................46
วัตถุประสงค........................................................................................................................................................46
เวลา....................................................................................................................................................................46
บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................46
กิจกรรม...............................................................................................................................................................46
สื่อ.......................................................................................................................................................................46
วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................47
ใบความรูที่ 5.......................................................................................................................................................48
ใบงานที่ 5.1 ตรวจสอบความรู เรื่องเกณฑการใหคะแนน (Rubric).....................................................................56
ใบงานที่ 5.2 การวิพากษเครื่องมือ.......................................................................................................................57
หนวยที่ 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ......................................58
สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................59
วัตถุประสงค........................................................................................................................................................59
เวลา....................................................................................................................................................................59
บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................59
สื่อ.......................................................................................................................................................................59
วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................59
ง | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
สารบัญ
รายการ หนา
หนวยที่ 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (ตอ)
ใบความรูที่ 6.......................................................................................................................................................60
ใบงานที่ 6.1 การวิเคราะหหาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัด......................................................67
กิจกรรมที่ 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และอํานาจจําแนก...................................................................69
ใบงานที่ 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก..................................................................70
บรรณานุกรม....................................................................................................................................................72
คณะทํางาน.......................................................................................................................................................73
1 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หนวยที่ 1
ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ
ระดับนานาชาติ (PISA)
กิจกรรม เนื้อหา
รูปแบบ
การอบรม
เวลา สื่อ/ประกอบ
ตรวจสอบมโนทัศน ความหมายและความสําคัญของ
เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบอัตนัย
ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 1.1
- ใบงานที่ 1.1
ปฏิบัติกิจกรรม สรางความตระหนัก (สะทอน
ความรูสึก)
ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 1.2
- ใบงานที่ 1.2
ฟงการบรรยาย ความหมายและความสําคัญของ
เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบอัตนัย
บรรยาย 30 นาที - ppt
- ใบความรูที่ 1.1
2 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หนวยที่ 1
ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ
ระดับนานาชาติ (PISA)
สาระสําคัญ
แบบทดสอบแบบอัตนัย เปนแบบทดสอบที่ผูสอบจะตองเรียบเรียงแนวความคิดและความรูที่ไดเรียนมา
ตลอดจนเรียบเรียงภาษาและผูกเปนรูปประโยคใหเปนขอความที่ชัดเจน แลวเขียนเปนคําตอบใหเหมาะสมกับความ
ตองการของคําถาม ขอคําถามของแบบทดสอบแบบอัตนัยโดยทั่วไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบ
เรียงความรู ความคิด และขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ ซึ่งลักษณะของแบบทดสอบแบบอัตนัยหรือ
เขียนตอบเปนแบบทดสอบที่มีเฉพาะคําถาม ผูสอบจะตองหาคําตอบเอง โดยการเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น
วิพากษ วิจารณเรื่องราวพฤติกรรมตาง ๆ จากความรูและประสบการณที่ไดรับ ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะ
เปนโจทยหรือคําถามที่กําหนดสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง
แบบทดสอบแบบอัตนัยสามารถประเมินความเขาใจและความคิดในเนื้อหานั้น ๆ รวมทั้งประเมิน
ความสามารถในการเขียนของผูเรียน ดังนั้น การสรางแบบทดสอบแบบอัตนัยที่มีคุณภาพจะชวยวัดความสามารถของ
ผูเรียนในดานการจัดระเบียบความคิดและการสังเคราะหความรูตาง ๆ ไดเปนอยางดี
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจความหมายและตระหนักถึงความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
เวลา
ใชเวลา 60 นาที
บทบาทของผูเขาอบรม
1. ตรวจสอบมโนทัศน
2. ปฏิบัติกิจกรรม
3. ฟงการบรรยาย
กิจกรรม
1. ผูเขาอบรมตรวจสอบมโนทัศนและประเมินความรูเดิมเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของ
เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (กิจกรรมที่ 1)
2. ผูเขาอบรมปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก: กิจกรรมที่ 2)
3. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของ
เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Power point, ใบความรูที่ 1)
4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของ
เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
สื่อ
1. ใบกิจกรรม (1.1, 1.2)
2. แบบตรวจสอบมโนทัศน (กิจกรรมที่ 1.1)
3. แบบฝกปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (กิจกรรมที่ 1.2)
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 3
4. เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนแบบอัตนัย (ใบความรูที่ 1)
5. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
วิธีการประเมิน
รายการประเมิน เครื่องมือ
ระดับคุณภาพ
พอใช ดี ดีมาก
1. การตรวจสอบมโนทัศน
เกี่ยวกับความหมายและ
ความสําคัญของเครื่องมือ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบอัตนัย (10 คะแนน)
แบบบันทึก
กิจกรรมที่ 1
1-3 คะแนน 4-7 คะแนน 8-10 คะแนน
2. การสรางความตระหนัก แบบบันทึก
กิจกรรมที่ 2
เขียนแสดงความ
คิดเห็นได
เขียนแสดงความ
คิดเห็นไดอยาง
สมเหตุสมผล
ชัดเจน
เขียนแสดงความ
คิดเห็นไดอยาง
สมเหตุสมผล
ชัดเจน มีขอมูล
สนับสนุน
เกณฑการตัดสิน
1. ผลการประเมินเทากัน 2 รายการ ใหสรุปตามผลการประเมิน
2. ผลการประเมินไมเทากัน ใหสรุปตามผลการประเมินที่ดีกวา
4 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
ใบความรูที่ 1.1
ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ความหมายของแบบทดสอบแบบอัตนัย
แบบทดสอบแบบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบแบบเขียนตอบที่ผูสอบจะตองเรียบเรียงความคิดและ
ความรูใหสอดคลองกับคําถาม แลวเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเรื่องราว พฤติกรรมตาง ๆ
ตามความรูและประสบการณที่มีลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเปนโจทยหรือคําถามที่กําหนดสถานการณหรือ
ปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง โดยทั่วไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบเรียงความรู ความคิด และ
ขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ
จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบแบบอัตนัย มีดังนี้
1. ตองการใหผูเขาสอบแสดงความสามารถดานความคิดสรางสรรค (Creativity) และบรรยายความคิด
ออกมาไดอยางเปนอิสระและตองคํานึงถึงความสามารถทักษะการเขียนของนักเรียนดวย
2. ตองการเนนความรูขั้นลึกซึ้ง เชน ความสามารถในการสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจใน
เนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย
แบบทดสอบอัตนัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. แบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว (Unrestricted Response) เปนแบบทดสอบที่ไมจํากัดคําตอบ
แตผูสอบจะตองจํากัดคําตอบใหเหมาะสมกับคําถามและเวลาโดยจะตองเรียบเรียงความรู ความคิดและจัดลําดับ
ความสําคัญ แลวเรียบเรียงออกมาเปนคําตอบตามความคิดและเหตุผลของตน โดยใหมีความยาวที่เหมาะสมกับหลัก
และเหตุผลที่คําถามตองการ ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ สามารถใชวัดความสามารถระดับการวิเคราะห การ
สังเคราะหและการประเมินผลไดเปนอยางดี จึงมักใชกับผูเรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคําถามมักมีคําวา “จงอธิบาย
อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห สรุปประเด็นสําคัญ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ประเมินผล แนวทางแกปญหา”
เปนตน แตมักมีปญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจใหคะแนน
2. แบบทดสอบแบบจํากัดคําตอบหรือตอบแบบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item)
เปนแบบทดสอบที่จํากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคําตอบ และกําหนดขอบเขตของประเด็นใหตอบใน
เนื้อหาที่แคบลงและสั้นกวาแบบทดสอบที่ไมจํากัดความยาว ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ ใชวัดความรู
ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงไดดีกวาแบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว ซึ่งเหมาะที่จะวัดผลการเรียนที่สําคัญ โดยที่
ผูสอบจะตองเลือกความรูที่ดีที่สุดสําหรับคําถามนั้น ๆ ลักษณะคําตอบมักอยูในรูป “จงอธิบายสั้น ๆ จงบอกประโยชน
จงอธิบายสาเหตุหรือจงบอกขั้นตอน” แตแบบทดสอบนี้ไมไดเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความรู ความสามารถอยาง
เต็มที่
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 5
ขอดีและขอจํากัดของแบบทดสอบแบบอัตนัย
ขอดี ขอจํากัด
1. สามารถวัดพฤติกรรมตาง ๆ ไดทุกดานโดยเฉพาะ
กระบวนการคิดวิเคราะหและสังเคราะหจะวัดไดดี
2. ผูตอบมีโอกาสใชความรูแสดงความคิดเห็นและ
ความสามารถในการใชภาษา
3. โอกาสในการเดาโดยไมมีความรูในเรื่องนั้น แลวได
คะแนน มีนอยมาก
4. สรางไดงายและประหยัดคาใชจาย
1. คําถามไมสามารถครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน
เนื่องจากจํานวนขอมีจํากัด เปนการยากที่จะสุม
เนื้อหาใหครอบคลุมความรูที่ตองการจะวัดได
ครบถวน
2. การตรวจใหคะแนนไมคงที่แนนอน มักมีความ
คลาดเคลื่อนมาก และควบคุมใหเกิดความยุติธรรม
ไดยาก
3. ไมเหมาะที่จะใชกับผูสอบจํานวนมาก ๆ เพราะใช
เวลาในการตรวจ
4. ลายมือของผูตอบและความสามารถในการเขียน
บรรยายอาจจะมีผลตอคะแนน
5. มีความเชื่อมั่นต่ําและมักขาดความเที่ยงธรรม
6 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
กิจกรรมที่ 1.1
การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ผูเขาอบรมแตละคนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1
เรื่อง การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
โดยบันทึกความคิดเห็นลงในใบงานที่ 1.1
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 7
ใบงานที่ 1.1
การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน
ประเด็นคําถาม
ความคิดเห็น
ใช ไมใช
1. แบบทดสอบอัตนัยมีคุณสมบัติที่สําคัญ คือ ผูตอบตองเขียนบรรยายและมีสิทธิการตอบ
อยางเสรี
2. แบบทดสอบอัตนัยอาจจะมีคําตอบที่ถูกตองหลายแนวทางมีความแตกตางทั้งดาน
คุณภาพ และความถูกตอง
3. ขอสอบแบบอัตนัยเนนเฉพาะแบบเติมคําใหสมบูรณและแบบตอบสั้น
4. แบบทดสอบแบบอัตนัยเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความคิดเห็นเหมาะสําหรับวัดความรู
ขั้นสูงกวาความจําและความเขาใจ
5. ขอสอบแบบอัตนัย แบงเปน 2 ประเภท คือแบบไมจํากัดคําตอบและแบบจํากัดคําตอบ
6. ขอสอบแบบอัตนัยเหมาะสําหรับวัดความรูระดับความจําและการประยุกตใช
7. ขอสอบอัตนัยแบบไมจํากัดคําตอบเนนใหนักเรียนอาศัยการสังเคราะหและการ
ประเมินผล
8. ขอสอบแบบจํากัดคําตอบสวนใหญมักจะไมกําหนดขอบเขตแบบฟอรมและเนื้อหาที่
เฉพาะใหนักเรียนไดตอบ
9. จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนคําตอบที่เปนการบรรยาย
10.จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนความรูขั้นลึกซึ้ง เชน ความสามารถดาน
การสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
8 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
ใบงานที่ 1.2
กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก)
ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่
คําชี้แจง
1. ผูเขาอบรมแบงกลุมปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.2 กลุมละ 3-5 คน
2. ผูเขาอบรมแตละคนเขียนแสดงความคิดเห็นของตนเองลงในใบงานที่ 1.2
3. สมาชิกแตละกลุมชวยกันแสดงความคิดเห็น แลวสรุปบันทึกลงในใบงานที่ 1.2
4. แตละกลุมนําเสนอผลการอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน
ทานมีความคิดเห็นตอคํากลาวนี้อยางไร จงใหเหตุผลประกอบ
“ขอสอบอัตนัยสามารถวัดความรูและ
ความคิดระดับสูงไดดีจริงหรือ”
9 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หนวยที่ 2
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
กิจกรรม เนื้อหา
รูปแบบ
การอบรม
เวลา สื่อประกอบ
ฟงการบรรยาย - ทฤษฎีความรูของบลูม
(Bloom’s Taxonomy Revised)
- แนวคิดเกี่ยวกับเครื่องมือวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ
อัตนัย
บรรยาย 30 นาที - ppt
- ใบความรูที่ 2.1
ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.1 ระดับพฤติกรรมตามทฤษฎีความรู
ของบลูม (Bloom’s Taxonomy
Revised)
ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 2.1
- ใบงานที่ 2.1
ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ
อัตนัยตามแนวการทดสอบระดับ
นานาชาติ (PISA)
ปฏิบัติ 20 นาที - กิจกรรมที่ 2.2
- ใบงานที่ 2.2
10 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หนวยที่ 2
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
สาระสําคัญ
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ในการอบรมและ
พัฒนาครูผูสอนในครั้งนี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) ที่ปรับแกใหมโดย
Anderson and Krathwohl (2001) ที่ไดแบงระดับความสามารถทางดานสมองของผูเรียนใหม ดังนี้ ระดับความจํา
(remembering) ระดับความเขาใจ (Understanding) ระดับการนําไปใช (Applying) ระดับการวิเคราะห
(Analyzing) ระดับการประเมินคา (Evaluating) และระดับความคิดสรางสรรค (Creating) และรูปแบบของเครื่องมือ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Essay) ที่กลาวถึงรายละเอียดรูปแบบและประเภทเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนแบบอัตนัยตาง ๆ ซึ่งประกอบไปดวย แบบจํากัดคําตอบ (Restricted-answer essay) ซึ่งแบงเปนแบบ
เติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) กับแบบตอบสั้น (short-answer essay) และแบบไมจํากัดคําตอบ
(Extended-answer essay)
วัตถุประสงค
1. เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s
Taxonomy Revised)
2. เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ
อัตนัย (Essay) ตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
เวลา
ใชเวลา 60 นาที
บทบาทผูเขาอบรม
1. ฟงการบรรยาย
2. ศึกษาเอกสาร
3. ปฏิบัติกิจกรรม
กิจกรรม
1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม
(Bloom Taxonomy’s Revised) (Power point, ใบความรูที่ 2.1, ใบความรูที่ 2.2)
2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูที่ 2.1 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันอยูขั้นไหน” (กิจกรรมที่ 2.1)
3. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูที่ 2.2 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันคือใคร” (กิจกรรมที่ 2.2)
4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเกี่ยวกับระดับพฤติกรรมของขอสอบ รูปแบบ
และลักษณะของขอสอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 11
สื่อ
1. กิจกรรม (2.1, 2.2)
2. ใบงาน (2.1, 2.2)
3. เอกสารประกอบการบรรยาย
ใบความรูที่ 2.1 แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised)
ใบความรูที่ 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
4. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
และรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
วิธีการประเมิน
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
พอใช ดี ดีมาก
ผลการปฏิบัติกิจกรรม มีผลงานตามเปาหมายที่
กําหนด
ผลงานมีความเปนไปได
และเห็นแนวทางอยางเปน
รูปธรรมสูการปฏิบัติ
ผลงานมีความเปนไปได มี
ความชัดเจน เนื้อหาสาระ
สมบูรณและเห็นแนวทาง
อยางเปนรูปธรรมสูการ
ปฏิบัติ
12 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
ใบความรูที่ 2.1
แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised)
แนวคิดทฤษฎีการเรียนรูของบลูม Bloom Taxonomy’s Revised
ในป 1956, Benjamin Bloom นํากลุมนักจิตวิทยาการศึกษากลุมหนึ่งพัฒนาการจัดกลุมพฤติกรรมทาง
สมองที่สําคัญตอการเรียนรู ระหวาง ป 1990 มีนักจิตวิทยากลุมใหม นําโดย Anderson and Krathwohl (2001) ซึ่ง
เปนลูกศิษยเกาของ Bloom ไดปรับปรุงกลุมพฤติกรรมขึ้นมาใหม และสะทอนผลงานในศตวรรษที่ 21 เปนรูปภาพที่
เปนตัวแทนของคํากริยาใหมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่เราคุนเคยมานาน บันทึกนี้เปลี่ยนจาก
นามเปนกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกตางกันของกลุมพฤติกรรรม ดังภาพประกอบ
ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองที่สําคัญตอการเรียนรูตามแนวคิด ทฤษฎี ความรูของบลูม ตามแนวคิดเดิม และที่
ปรับปรุงใหม
กระบวนการทางปญญา ดานพุทธิพิสัยของบลูม มีลําดับขั้น 6 ขั้น ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้
1. จํา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได แสดงรายการได บอกได ระบุชื่อได
การบอกชื่อ การบอกตําแหนง การใหสัญลักษณ ยกตัวอยาง บอกความสัมพันธ การจัดกลุม คัดเลือกได อธิบายใต
รูปภาพ เรียงลําดับ จับคู บันทึกขอมูล
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจํามีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
รูจัก จําได พยัญชนะไทยแบงไดเปนกี่หมู อะไรบาง
จัดทํารายการ นักเรียนเขียนรายการอาหารที่มีประโยชนมา 3 มื้อ/1 วัน
อธิบาย นักเรียนอธิบายความหมายของสามเหลี่ยมดานเทา
การระบุ นักเรียนระบุประเภทของใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคูมาทั้งหมด
บอกความแตกตาง สัตวน้ําแตกตางกับสัตวบกอยางไรบาง
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 13
2. เขาใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอยาง สรุปอางอิง
การเรียบเรียงใหม การจําแนกหมวดหมู สังเกต ทําเคาโครงเรื่อง ใหคําจํากัดความ แปลความหมาย ประมาณคา
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเขาใจมีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
การสรุปความ จากขอความที่นักเรียนไดสรุปสาระสําคัญไดอยางไร
การแปลความหมาย บทรอยกรองขางตนตรงกับสุภาษิตไทยคืออะไร
การเปรียบเทียบ จงเปรียบเทียบสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือกับภาคใต
อธิบาย จงอธิบายสภาพทองถิ่นของนักเรียน
บรรยาย จากภาพวงจรชีวิตของผีเสื้อใหนักเรียนบรรยายรายละเอียด
3. ประยุกตใช (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนําไปใช ประยุกตใช แกไขปญหา ลงมือทํา
แปลความหมาย ใชภาพประกอบ การคํานวณ เรียงลําดับ การแกปญหา ประยุกตใช คาดคะเน
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกตใชมีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
การนําไปปฏิบัติ นักเรียนสามารถใชความรูในการแกไขปญหาไดอยางไร
การลงมือทํา ถาเราจะขึงลวดใหตึงเพื่อทําราวตากผาจะตองทําอยางไร
การใช จงยกอาหารที่มีคุณคาและราคาถูกในชีวิตประจําวันและอธิบายดวยวามีคุณคาตอรางกาย
อยางไร
การจัดการ ถานักเรียนมีเงินรายรับเปนรายเดือน นักเรียนจัดระบบการใชจายเงินอยางไรถึงจะมีเงิน
ใชทั้งเดือน
การแปลความหมาย “โคมสวรรคพราวพราย” โคมสวรรคหมายถึงสิ่งใด
4. วิเคราะห (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ การจัดการ
ทดลอง แยกกลุม คํานวณ วิพากษวิจารณ ลําดับเรื่อง ทําแผนผัง หาความสัมพันธ
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับ วิเคราะหมีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
การจัดระบบ เลขโดด 1-9 นํามาสรางจํานวนเต็ม 4 หลักแลวหารดวย 5 ลงตัวมีกี่จํานวน
การสืบเสาะ สืบสวน ขอใดบางกลาวถึงวิธีการโครงสรางภูมิคุมกันไขหวัดนก
การใหเหตุผล การอางเหตุผล ลูกที่ดีของพอแมควรมีพฤติกรรมอยางไรบางเพราะเหตุใด
จําแนกความแตกตาง นักเรียนบอกความแตกตางระหวางกบกับกระตายมาตามเกณฑที่นักเรียนกําหนด
การตีคา “วิชัยทําการบานสงครูทุกวัน” นักเรียนคิดวาวิชัยเปนคนอยางไรเพราะเหตุใด
14 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
5. ประเมินคา (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ ตัดสิน ใหคะแนน
ประมาณคา เปรียบเทียบผล ตีคา สรุป แนะนํา สืบคน ตัดสินใจ คัดเลือก วัด
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินคามีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
การตรวจสอบ “รองเทากีฬาที่ดีควรมีคุณสมบัติครบทั้ง 4 ประการ” คุณสมบัติเหลานั้นควรมีอะไรบาง
ตั้งสมมติฐาน ถาทองฟามืดครึ้มแลวฝนจะตก นักเรียนคิดวาเปนเชนนั้นหรือไมเพราะเหตุใด
วิพากษวิจารณ ทําไมในสินคาที่นักเรียนเลือกซื้อตองมี”วันที่ควรบริโภค”กํากับมาดวย
ทดลอง นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลอง ใสหินอานชิ้นเล็กๆในน้ําบริสุทธและน้ําอัดลมอยางละเทาๆกัน เพื่อ
ทดลองเรื่องอะไร
ตัดสิน นักเรียนสามารถตัดสินคุณคาของน้ําอัดลมและน้ําบริสุทธิ์ไดอยางไร
6. คิดสรางสรรค (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต
ประดิษฐ พยากรณ ออกแบบ ทํานาย สรางสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง
ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสรางสรรคมีดังนี้
พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม
ออกแบบ ใหนักเรียนออกแบบหองนอนที่นักเรียนคิดวาเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ
สราง ใหนักเรียนนําเสนอวิธีการสรางหุนยนตใหมที่แตกตางไปจากหุนยนตเดิม
วางแผน นักเรียนชวยเขียนขั้นตอนการทํารายงาน”ทองถิ่นในฝนของขาพเจา”
ปรับปรุง จงบอกวิธีปรับปรุงดินใหเหมาะกับการปลูกขาว
พยากรณ จากขอมูลของกราฟเสนตรง นักเรียนคิดวาในป พ.ศ. 2557 จะเปนอยางไร
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 15
กิจกรรมที่ 2.1
“ฉันอยูขั้นไหน”
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการอบรมสามารถระบุไดวาขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยสอดคลองกับ
แนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูม ระดับใด
อุปกรณ
1. ใบความรูที่ 2.1 เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม
2. ขอสอบอัตนัย จํานวน 3 ขอ
วิธีการ
1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน
2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาเอกสารใบความรูที่ 2.1
3. เมื่อศึกษาใบความรูที่ 2.1 แลวตัวแทนกลุมรับใบขอสอบ
4. สมาชิกแตละกลุมพิจารณาขอสอบแตละขอวาสอดคลองกับพฤติกรรมใดตามแนวคิดทฤษฎีของบลูม
พรอมทั้งบอกเหตุผล บันทึกผลงานการปฏิบัติลงในใบงานที่ 2.1
5. นําเสนอผลงานโดยติดบนปายนิเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู
เวลา
ใชเวลา 20 นาที
การประเมิน
ผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.1
ระดับคุณภาพ
พอใช ดี ดีมาก
ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู
ของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง
1 ขอ
ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู
ของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง
2 ขอ
ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู
ของบลูม พรอมบอกเหตุผลได
ถูกตองทุกขอ
16 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
ใบงานที่ 2.1
“ฉันอยูขั้นไหน”
ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่
คําชี้แจง อานสถานการณและคําถามที่กําหนดใหแลวพิจารณาวาขอคําถามแตละขอสอดคลองกับทฤษฎี ความรู
ของบลูมในระดับใด
การแปรงฟนของคุณ
ฟนของเราสะอาดมากขึ้นและมากขึ้นเมื่อเราแปรงนานขึ้นและแรงขึ้นใชหรือไม?
นักวิจัยชาวอังกฤษบอกวาไมใช เขาไดทดสอบหลาย ๆ ทางเลือก และทายที่สุดก็พบวิธีที่สมบูรณแบบ
ในการแปรงฟน การแปรงฟน 2 นาที โดยไมแปรงฟนแรงจนเกินไปใหผลที่ดีที่สุด ถาคุณแปรงฟนแรงคุณกําลังทําราย
เคลือบฟนและเหงือกโดยไมไดขจัดเศษอาหารหรือคราบหินปูน
เบนท ฮันเซน ผูเชี่ยวชาญเรื่องการแปรงฟน กลาววา วิธีจับแปรงสีฟนที่ดีก็คือจับใหเหมือนจับปากกา
“เริ่มจากมุมหนึ่ง และแปรงไปตามฟนจนหมดแถว” เธอบอกวา “อยาลืมลิ้นของคุณดวย มันสามารถสะสมแบคทีเรีย
ไดมากทีเดียว ซึ่งเปนสาเหตุของกลิ่นปาก
ขอคําถาม
1. จากบทความดังกลาวมีผูเชี่ยวชาญเสนอแนะวิธีการจับแปรงสีฟนที่ดีอยางไร
วัดพฤติกรรม ระดับ..........................................................................................
เพราะ...............................................................................................................................................................
2. จากบทความดังกลาวเกี่ยวของกับเรื่องอะไร
สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ.....................................................................................................
เพราะ...............................................................................................................................................................
3. ทําไมจึงควรแปรงลิ้นในขณะแปรงฟน
สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ.....................................................................................................
เพราะ...............................................................................................................................................................
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 17
ใบความรูที่ 2.2
รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเปนการสรางขอสอบใหผูเขาสอบเขียนตอบโดยมีความเชื่อวา
ถาผูเขาสอบมีความรูในเรื่องนั้นดี ก็จะสามารถเขียนอธิบายไดอยางชัดเจน โดยรูปแบบของขอสอบอัตนัยโดยทั่วไป
กําหนดใหผูเขาสอบนําเสนอคําตอบใน 2 รูปแบบ คือ
1. แบบจํากัดคําตอบ (restriced-answer essay) เปนขอสอบที่ผูตอบตองตอบใหตรงประเด็นที่
ตองการ ถาตอบเปนอยางอื่นจะไมไดคะแนน แบงเปน 2 แบบ ไดแก
1.1 แบบเติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) มีลักษณะเปนขอคําถามที่เวนคําหรือวลีไวแลว ให
ผูเขาสอบเติมคําหรือวลีที่เปนคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว ทั้งนี้ Cocks และ Bormuth (1975) ไดเสนอแนะวา
บางครั้งอาจจําเปนตองใหคะแนนสําหรับคําตอบที่คลายกันหรือขอความที่ใชแทนกันดวยความเหมาะสม
1.2 แบบตอบสั้น (short-answer essay) ขอสอบแบบตอบสั้น มีเจตนาใหผูเขาสอบเสนอคําตอบ
ออกมา ซึ่งขอสอบแบบตอบสั้นนี้ ถูกเลือกใชในการเขียนขอสอบแบบอัตนัยบอยครั้งมากเพราะสามารถถามได
ครอบคลุมและลึกกวาขอสอบแบบเติมคําใหสมบูรณ แตมีขอจํากัดเรื่องการตรวจใหคะแนนโดยตองใหความสําคัญกับ
เกณฑการใหคะแนนที่ชัดเจนเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนน
2. แบบไมจํากัดคําตอบ (Extended-answer essay) เปนขอสอบที่มีวัตถุประสงคในการตรวจสอบ
ความเขาใจทั้งหมดในเรื่องที่เรียนรู โดยผูเขาสอบจะตองเขียนคําตอบไดอยางรวบรัดและชัดเจน ผูออกขอสอบตอง
กําหนดรูปแบบคําตอบ/ขอบเขตของการตอบเปนเกณฑในการใหคะแนนอยางชัดเจน จึงสามารถตรวจ ใหคะแนนได
ตรงกัน
การเขียนขอสอบแบบอัตนัย อาจสรางไดงายกวาขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple-choice) เพราะ
มีเพียงขอคําถามไมตองมีตัวเลือกใหกับผูเขาสอบ ผูเขาสอบเปนผูเขียนตอบเอง แตขอสอบลักษณะนี้หากไมมีเกณฑ
การใหคะแนนที่ชัดเจน จะทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนนได
สําหรับการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ใชขอสอบอัตนัย
เปนเครื่องมือสําคัญในการวัดผลสัมฤทธิ์ โดยลักษณะเดนของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนว (PISA) จักมี
สถานการณที่ใชเปนขอมูลในการตอบคําถามใหและมีคําถามใหผูเขาสอบพิจารณา และนําเสนอคําตอบใน 3 แบบ
ไดแก
1. แบบสรางคําตอบแบบปด มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบเขียนคําตอบที่เปน
คําตอบถูกตองที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เชน
คําถาม
บริษัทที่ทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร
........................................................................................................................................
2. แบบเขียนตอบสั้น ๆ มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถาม และใหผูเขาสอบเขียนคําตอบสั้น ๆ ใน
ที่วางที่เตรียมไวในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคําตอบเปนตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เชน
คําถาม
ถานักเรียนตองการหาเสนทางสั้นที่สุดเพื่อเดินทางดวยรถไฟใตดินจากสถานีซาโตไปยังสถานีปาไม
จงเขียนเสนทางที่นักเรียนจะใชเดินทางลงในแผนที่
18 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
3. แบบสรางคําตอบแบบอิสระ มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบอธิบายคําตอบ
หรือใหเหตุผลประกอบคําตอบที่แสดงความเขาใจที่มีตอคําถาม ผูเขาสอบควรเขียนคําตอบในเสนบรรทัดที่กําหนดไว
ให จํานวนเสนบรรทัดจะเปนตัวบอกความยาวอยางคราว ๆ ที่ควรเขียนตอบ
คําถาม
ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ที่ทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
สําหรับเกณฑการใหคะแนนในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับ
นานาชาติ (PISA) กําหนดมีเกณฑการใหคะแนนที่ชัดเจน โดยเกณฑใหคะแนนแบงไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
1. แบบใหคะแนนเปน 2 คา กลาวคือ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน ซึ่งจะกําหนด
ขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบ กรณีไดคะแนนและไมไดคะแนน เชน
คําถาม
บริษัทที่ทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร
.............................................................................................................................................................
การใหคะแนน
คะแนนเต็ม
รหัส 1 : ระบุชื่อผูผลิตไดอยางถูกตอง  ไฟนฟูดส หรือบริษัท ไฟนฟูดส จํากัด
ไมไดคะแนน
รหัส 0: ใหคําตอบที่ไมเพียงพอหรือกวางเกิน
 ผูผลิต  ใครก็ไดบางคน  บริษัท
แสดงความเขาใจเนื้อเรื่องที่คลาดเคลื่อนหรือใหคําตอบทีเปนไปไมไดหรือไมเกี่ยวของ
 ครีมมะนาว  ซุปเปอรมาเก็ต  คนทําขนมปง
รหัส 9: ไมตอบ
2. ใหคะแนนมากกวา 2 คา ซึ่งจะกําหนดขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบที่ไดคะแนนในแตละ
ระดับ เชน
คําถาม
ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ที่ทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน
..........................................................................................................................................
การใหคะแนน
คะแนนเต็ม
รหัส 2: อางถึง ความเปนนิยายของภาพยนตร หรือ โดยเฉพาะตัวนักแสดงที่ตายแลวจะปรากฎตัวขึ้นมาใหมอีก
อาจคัดลอกประโยคที่สามจากเนื้อเรื่องมาโดยตรง (“...เพราะวาตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง ซึ่งพวก
เขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม...”) หรือใน
ขอความสุดทาย (“สิ่งที่มีเปนเพียงภาพในจินตนาการเทานั้น”)
 คนที่พวกเขาคิดวาตายไปแลวกลับมามีชีวิตอีก
 พวกเขาคิดวาภาพยนตรเปนเรื่องจริงแตกลับไมใช
 พวกเขาคิดวาคนในภาพยนตรแกลงตาย และพวกเขาถูกหลอกเหมือนคนโง
 ตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในภาพยนตรเรื่องหนึ่ง กลับมีชีวิตขึ้นมาอีกในภาพยนตรเรื่องตอมา
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 19
ไดคะแนนบางสวน
รหัส 1: อางถึง ความหลอกลวงหรือเลหเหลี่ยมหรือความคาดหวังของผูดูที่ถูกทําลายลง อาจอางคําวา “สิ่ง
หลอกลวง” หรือ “เหยื่อของธุรกิจหนังเร” โดยตรง
ไมไดคะแนน
รหัส 0: ใหคําตอบที่ไมเพียงพอหรือไมตรงประเด็น
 พวกเขาโกรธ บรูโน เครสป
พวกเขาไมชอบภาพยนตรที่นํามาฉาย
พวกเขาตองการเงินคืน
พวกเขาคิดวาพวกเขาตกเปนเหยื่อ
พวกเขาเปนคนรุนแรง
พวกเขาโง
พวกเขาแสดงความรูสึกของตนเอง
เพราะพวกเขาจายเงินสองเซ็นตาโวแตไมไดสิ่งที่ตองการ (คําวา “สิ่งที่ตองการ” กวางเกินไป)
หรือ แสดงถึง ความไมเขาใจ ในเนื้อหาที่อาน หรือใหคําตอบที่ไมมีเหตุผลหรือที่ไมเกี่ยวของ
พวกเขารูสึกวาไมควรยุงกับปญหาผูอื่น (ผิด คนเราตองกายุงกับปญหาจริง ๆ ของคนอื่น)
เปนวิธีที่พวกเขาประทวงการเสียเงินโดยเปลาประโยชน
พวกเขาโกรธที่ตองมาดูคนตายและถูกฝง (อางประโยคที่ทําใหคิดวา “พวกเขาไมชอบเห็นคนตายใน
ภาพยนตร”...เปนการแปลความที่ไมถูก)
รหัส 9: ไมตอบ
อยางไรก็ตาม ผูออกขอสอบตองตรวจสอบคุณภาพของเกณฑการใหคะแนน โดยเกณฑการใหคะแนนที่มี
ประสิทธิภาพจะทําใหผูตรวจขอสอบใหคะแนนจากการตรวจผลงานของผูเขาสอบไดตรงกัน
20 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
กิจกรรมที่ 2.2
“ฉันคือใคร”
จุดประสงค
เพื่อใหผูเขาอบรมสามารถระบุรูปแบบของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการ
ทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ได
อุปกรณ
1. ใบงานที่ 2.2
2. ปากกาหรือดินสอสี
3. ตัวอยางขอสอบจํานวน 4 ขอ
วิธีการ
1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน
2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาตัวอยางขอสอบที่ใชในการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ที่กําหนดให
จํานวน 4 ขอ
3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันระดมสมอง โดยสรุปรูปแบบและลักษณะของขอสอบแตละรูปแบบที่ใชใน
การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
4. นําเสนอผลงานลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 และติดผลงานบนปายนิเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู
เวลา
ใชเวลา 20 นาที
การประเมิน
ผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.2
ระดับคุณภาพ
พอใช ดี ดีมาก
- ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 1
รูปแบบ และ/หรือ
- ระบุลักษณะของขอสอบได 1
รูปแบบ
- ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 2
หรือ 3 รูปแบบ
- ระบุลักษณะของรูปแบบแตละ
รูปแบบโดยระบุคําสําคัญได 2-3
รูปแบบ
- ระบุรูปแบบของขอสอบไดเปน 3
รูปแบบ
- ระบุลักษณะของแตละรูปแบบโดย
ระบุคําสําคัญไดดังนี้
รูปแบบที่ 1 ระบุวามีขอคําถามให
ตอบคําถามโดยแบบระบุคําตอบที่
เฉพาะเจาะจง
รูปแบบที่ 2 ระบุวามีขอคําถามให
ตอบคําถามโดยใหเขียนคําตอบสั้น ๆ
รูปแบบที่ 3 ระบุวามีขอคําถามให
ตอบคําถามโดยใหเขียนตอบแบบ
อิสระ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 21
ตัวอยางขอสอบ PISA
ขอ 1 มาซอนโด
มาซอนโด
ดวยความละลานตาของสิ่งประดิษฐที่นาพิศวง ชาวเมืองมาซอนโดไมรูดวยซ้ําวา ความมหัศจรรยนั้น
เริ่มตนจากตรงไหน พวกเขายอมอดหลับอดนอนทั้งคืนเพื่อจองดูหลอดไฟสีนวล ที่มีกระแสไฟปอนมาจากเครื่อง
ปนไฟที่ ออรเรเลียโน ทริสเต บรรทุกมากับรถไฟเที่ยวที่สอง และพยายามทนเพื่อใหคุนกับเสียง ตูม ตูม ของเครื่อง
ประหลาดนั่น ตอมาพวกเขาก็เริ่มไมพอใจกับการชมภาพยนตร ที่เคลื่อนไหวเหมือนมีชีวิตที่ ดอน บรูโน เครสป
พอคาผูร่ํารวยนํามาฉายในโรงฉายที่มีชองขายตั๋วทําเปนหัวสิงโตเพราะวาตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง
ซึ่งพวกเขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม ผูชมตอง
จายเงินสองเซ็นตาโวเปนคาตั๋วเขาชม เพื่อรวมเสียใจกับความทุกขยากของตัวละคร พวกเขาไมยอมถูกหลอกใหดู
ของไมจริงอีกตอไป จึงแสดงความโกรธดวยการทุบทําลายเกาอี้ ดอน บรูโน เครสป ไดขอรองใหนายกเทศมนตรี
ชวยประกาศวาภาพยนตรเปนเพียงภาพลวงตา ไมควรนํามาเปนอารมณ และไมมีคาควรแกการที่ผูชมจะระเบิด
ความโกรธแคน จากคําชี้แจงที่เตือนสตินี้เองทําใหหลายคนรูสึกวาตนตกเปนเหยื่อของธุรกิจหนังเรจึงตัดสินใจ ไมดู
ภาพยนตรอีก เพราะคิดวาตัวเองก็มีความทุกขยากมากเกินกวาที่จะไปรองไหกับสิ่งที่เปนเพียงภาพลวงตาเหลานั้น
คําถาม: มาซอนโด
นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการตัดสินใจของชาวเมืองมาซอนโด เกี่ยวกับคุณคาของภาพยนตร
จงอธิบายคําตอบโดยเปรียบเทียบความรูสึกของนักเรียนกับของชาวเมืองมาซอนโดที่มีตอภาพยนตร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ขอ 2 ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต
การแจงเตือนการแพถั่วลิสง
ขนมปงกรอบไสครีมมะนาว
วันที่แจงเตือน: 4 กุมภาพันธ
ชื่อผูผลิต: บริษัท ไฟนฟูดส จํากัด
ขอมูลผลิตภัณฑ: ขนมปงกรองไสครีมมะนาว 125 กรัม
(ควรบริโภคกอน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคกอน 1 กรกฎาคม)
รายละเอียด: ขนมปงกรอบบางอยางในรุนการผลิตเหลานี้ อาจมีชิ้นสวนของถั่วลิสงผสมอยู แตไมแจงไวใน
รายการสวนผสม คนที่แพถั่วไมควรรับประทานขนมปงกรอบนี้
การปฏิบัติของผูบริโภค: ถาทานซื้อขนมปงกรองนี้ไป ทานสามารถนํามาคืน ณ ที่ที่ทานซื้อ เพื่อรับเงินคืน
ไดเต็มจํานวนหรือโทรสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 1800 034 241
คําถาม: ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต
บริษัทที่ทําขนมปงกรองชื่อบริษัทอะไร
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

More Related Content

What's hot

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553weerawat pisurat
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarSuriyen Butimarn
 
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 Somchart Phaeumnart
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 

What's hot (18)

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSar
 
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Similar to หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556Kruthai Kidsdee
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 

Similar to หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ (20)

คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 

More from Jaru O-not

Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Jaru O-not
 
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยแนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยJaru O-not
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"Jaru O-not
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3Jaru O-not
 
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557Jaru O-not
 
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทยคู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทยJaru O-not
 
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556Jaru O-not
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 

More from Jaru O-not (8)

Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
 
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยแนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
 
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทยคู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
 
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
รูปแบบข้อสอบ สาระและมาตรฐาน ข้อสอบ ป.6 ม.3 ม.6 ปีการศึกษา 2556
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 

หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

  • 1. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ก คํานํา การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนดวยแบบทดสอบแบบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบระดับ นานาชาติ นอกจากจะเปนการประเมินความรูความสามารถของผูเรียนตามกรอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แลว ยังเปนการประเมินความสามารถในการเขียนสื่อความของ ผูเรียนอีกดวย ซึ่งในปจจุบันผูเรียนไมคอยมีความสามารถในเขียนสื่อความมากนัก ซึ่งดูจากผลการทดสอบในระดับ นานาชาติ (PISA) ของเด็กไทย ซึ่งครูผูสอนจะตองปลูกฝงความสามารถในการเขียนสื่อความโดยผานทางการวัดและ ประเมินผลในชั้นเรียน นอกจากนี้เปนการประเมินความรูความสามารถตามหลักสูตรแลว ยังเปนการเตรียมความพรอม ใหแกผูเรียนในการทดสอบในระดับนานาชาติอีกดวย ดังนั้น เอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศก ในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติที่สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒนาขึ้นนี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ ตั้งแตความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร หลักการออกแบบและวางแผนการวัดและประเมินผล หลักในการสรางขอสอบแบบเขียนตอบ หลักในการตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมินผล รวมทั้งมีพัฒนาทักษะกระบวนการในการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและ ประเมินผล ซึ่งไดแก การฝกปฏิบัติในการเขียนขอสอบ การเขียนเกณฑประเมินคุณภาพ(Rubric) การวิพากษขอสอบ จากผูเชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถในการเขียนขอสอบเปนอยางดี และการฝกวิเคราะหหาคาคุณภาพของขอสอบ รายขอ เปนตน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพ ครูผูสอนและศึกษานิเทศกในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาตินี้ จะ เปนประโยชนในการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกของหนวยงานตางๆไดเปนอยางดี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมษายน 2557
  • 2. ข | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ สารบัญ รายการ หนา คํานํา..................................................................................................................................................................ก สารบัญ...............................................................................................................................................................ข หนวยที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ ระดับนานาชาติ (PISA) ......................................................................................................................................1 สาระสําคัญ............................................................................................................................................................ 2 วัตถุประสงค.......................................................................................................................................................... 2 เวลา...................................................................................................................................................................... 2 บทบาทของผูเขาอบรม.......................................................................................................................................... 2 กิจกรรม................................................................................................................................................................. 2 สื่อ......................................................................................................................................................................... 2 วิธีการประเมิน....................................................................................................................................................... 3 ใบความรูที่ 1.1...................................................................................................................................................... 4 ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ...............................7 ใบงานที่ 1.2 กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก)..............................................................................8 หนวยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย...............................9 สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................10 วัตถุประสงค........................................................................................................................................................10 เวลา....................................................................................................................................................................10 บทบาทผูเขาอบรม..............................................................................................................................................10 กิจกรรม...............................................................................................................................................................10 สื่อ.......................................................................................................................................................................11 วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................11 ใบความรูที่ 2.1....................................................................................................................................................12 ใบงานที่ 2.1 “ฉันอยูขั้นไหน”..............................................................................................................................16 ใบความรูที่ 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย.......................................................17 ใบงานที่ 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับ นานาชาติ (PISA).................................................................................................................................................24 หนวยที่ 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนว การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)..................................................................................................................25 สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................26 วัตถุประสงค........................................................................................................................................................26 เวลา....................................................................................................................................................................26 บทบาทผูเขาอบรม..............................................................................................................................................26 กิจกรรม...............................................................................................................................................................26
  • 3. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ค สารบัญ รายการ หนา หนวยที่ 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนว การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) (ตอ) สื่อ.......................................................................................................................................................................27 การประเมินผล....................................................................................................................................................27 ใบความรูที่ 3.1....................................................................................................................................................28 ใบงานที่ 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด.................................................................................34 หนวยที่ 4 การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย..................................................................35 สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................36 วัตถุประสงค........................................................................................................................................................36 เวลา....................................................................................................................................................................36 บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................36 กิจกรรม...............................................................................................................................................................36 สื่อ.......................................................................................................................................................................37 วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................37 ใบความรูที่ 4.1....................................................................................................................................................38 ใบงานที่ 4.1 การเขียนขอสอบอัตนัย...................................................................................................................43 ใบงานที่ 4.2 วิพากษขอสอบอัตนัย......................................................................................................................44 หนวยที่ 5 การเขียนเกณฑการใหคะแนน..........................................................................................................45 สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................46 วัตถุประสงค........................................................................................................................................................46 เวลา....................................................................................................................................................................46 บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................46 กิจกรรม...............................................................................................................................................................46 สื่อ.......................................................................................................................................................................46 วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................47 ใบความรูที่ 5.......................................................................................................................................................48 ใบงานที่ 5.1 ตรวจสอบความรู เรื่องเกณฑการใหคะแนน (Rubric).....................................................................56 ใบงานที่ 5.2 การวิพากษเครื่องมือ.......................................................................................................................57 หนวยที่ 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ......................................58 สาระสําคัญ..........................................................................................................................................................59 วัตถุประสงค........................................................................................................................................................59 เวลา....................................................................................................................................................................59 บทบาทของผูเขารับการอบรม.............................................................................................................................59 สื่อ.......................................................................................................................................................................59 วิธีการประเมิน.....................................................................................................................................................59
  • 4. ง | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ สารบัญ รายการ หนา หนวยที่ 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (ตอ) ใบความรูที่ 6.......................................................................................................................................................60 ใบงานที่ 6.1 การวิเคราะหหาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัด......................................................67 กิจกรรมที่ 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และอํานาจจําแนก...................................................................69 ใบงานที่ 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก..................................................................70 บรรณานุกรม....................................................................................................................................................72 คณะทํางาน.......................................................................................................................................................73
  • 5. 1 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ หนวยที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ ระดับนานาชาติ (PISA) กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ การอบรม เวลา สื่อ/ประกอบ ตรวจสอบมโนทัศน ความหมายและความสําคัญของ เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบอัตนัย ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ปฏิบัติกิจกรรม สรางความตระหนัก (สะทอน ความรูสึก) ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 1.2 - ใบงานที่ 1.2 ฟงการบรรยาย ความหมายและความสําคัญของ เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบอัตนัย บรรยาย 30 นาที - ppt - ใบความรูที่ 1.1
  • 6. 2 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ หนวยที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ ระดับนานาชาติ (PISA) สาระสําคัญ แบบทดสอบแบบอัตนัย เปนแบบทดสอบที่ผูสอบจะตองเรียบเรียงแนวความคิดและความรูที่ไดเรียนมา ตลอดจนเรียบเรียงภาษาและผูกเปนรูปประโยคใหเปนขอความที่ชัดเจน แลวเขียนเปนคําตอบใหเหมาะสมกับความ ตองการของคําถาม ขอคําถามของแบบทดสอบแบบอัตนัยโดยทั่วไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบ เรียงความรู ความคิด และขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ ซึ่งลักษณะของแบบทดสอบแบบอัตนัยหรือ เขียนตอบเปนแบบทดสอบที่มีเฉพาะคําถาม ผูสอบจะตองหาคําตอบเอง โดยการเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเรื่องราวพฤติกรรมตาง ๆ จากความรูและประสบการณที่ไดรับ ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะ เปนโจทยหรือคําถามที่กําหนดสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง แบบทดสอบแบบอัตนัยสามารถประเมินความเขาใจและความคิดในเนื้อหานั้น ๆ รวมทั้งประเมิน ความสามารถในการเขียนของผูเรียน ดังนั้น การสรางแบบทดสอบแบบอัตนัยที่มีคุณภาพจะชวยวัดความสามารถของ ผูเรียนในดานการจัดระเบียบความคิดและการสังเคราะหความรูตาง ๆ ไดเปนอยางดี วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจความหมายและตระหนักถึงความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) เวลา ใชเวลา 60 นาที บทบาทของผูเขาอบรม 1. ตรวจสอบมโนทัศน 2. ปฏิบัติกิจกรรม 3. ฟงการบรรยาย กิจกรรม 1. ผูเขาอบรมตรวจสอบมโนทัศนและประเมินความรูเดิมเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของ เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (กิจกรรมที่ 1) 2. ผูเขาอบรมปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก: กิจกรรมที่ 2) 3. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของ เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Power point, ใบความรูที่ 1) 4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของ เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย สื่อ 1. ใบกิจกรรม (1.1, 1.2) 2. แบบตรวจสอบมโนทัศน (กิจกรรมที่ 1.1) 3. แบบฝกปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (กิจกรรมที่ 1.2)
  • 7. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 3 4. เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนแบบอัตนัย (ใบความรูที่ 1) 5. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย วิธีการประเมิน รายการประเมิน เครื่องมือ ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก 1. การตรวจสอบมโนทัศน เกี่ยวกับความหมายและ ความสําคัญของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบอัตนัย (10 คะแนน) แบบบันทึก กิจกรรมที่ 1 1-3 คะแนน 4-7 คะแนน 8-10 คะแนน 2. การสรางความตระหนัก แบบบันทึก กิจกรรมที่ 2 เขียนแสดงความ คิดเห็นได เขียนแสดงความ คิดเห็นไดอยาง สมเหตุสมผล ชัดเจน เขียนแสดงความ คิดเห็นไดอยาง สมเหตุสมผล ชัดเจน มีขอมูล สนับสนุน เกณฑการตัดสิน 1. ผลการประเมินเทากัน 2 รายการ ใหสรุปตามผลการประเมิน 2. ผลการประเมินไมเทากัน ใหสรุปตามผลการประเมินที่ดีกวา
  • 8. 4 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ ใบความรูที่ 1.1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ความหมายของแบบทดสอบแบบอัตนัย แบบทดสอบแบบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบแบบเขียนตอบที่ผูสอบจะตองเรียบเรียงความคิดและ ความรูใหสอดคลองกับคําถาม แลวเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเรื่องราว พฤติกรรมตาง ๆ ตามความรูและประสบการณที่มีลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเปนโจทยหรือคําถามที่กําหนดสถานการณหรือ ปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง โดยทั่วไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบเรียงความรู ความคิด และ ขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบแบบอัตนัย มีดังนี้ 1. ตองการใหผูเขาสอบแสดงความสามารถดานความคิดสรางสรรค (Creativity) และบรรยายความคิด ออกมาไดอยางเปนอิสระและตองคํานึงถึงความสามารถทักษะการเขียนของนักเรียนดวย 2. ตองการเนนความรูขั้นลึกซึ้ง เชน ความสามารถในการสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจใน เนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย แบบทดสอบอัตนัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว (Unrestricted Response) เปนแบบทดสอบที่ไมจํากัดคําตอบ แตผูสอบจะตองจํากัดคําตอบใหเหมาะสมกับคําถามและเวลาโดยจะตองเรียบเรียงความรู ความคิดและจัดลําดับ ความสําคัญ แลวเรียบเรียงออกมาเปนคําตอบตามความคิดและเหตุผลของตน โดยใหมีความยาวที่เหมาะสมกับหลัก และเหตุผลที่คําถามตองการ ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ สามารถใชวัดความสามารถระดับการวิเคราะห การ สังเคราะหและการประเมินผลไดเปนอยางดี จึงมักใชกับผูเรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคําถามมักมีคําวา “จงอธิบาย อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห สรุปประเด็นสําคัญ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ประเมินผล แนวทางแกปญหา” เปนตน แตมักมีปญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจใหคะแนน 2. แบบทดสอบแบบจํากัดคําตอบหรือตอบแบบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item) เปนแบบทดสอบที่จํากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคําตอบ และกําหนดขอบเขตของประเด็นใหตอบใน เนื้อหาที่แคบลงและสั้นกวาแบบทดสอบที่ไมจํากัดความยาว ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ ใชวัดความรู ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงไดดีกวาแบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว ซึ่งเหมาะที่จะวัดผลการเรียนที่สําคัญ โดยที่ ผูสอบจะตองเลือกความรูที่ดีที่สุดสําหรับคําถามนั้น ๆ ลักษณะคําตอบมักอยูในรูป “จงอธิบายสั้น ๆ จงบอกประโยชน จงอธิบายสาเหตุหรือจงบอกขั้นตอน” แตแบบทดสอบนี้ไมไดเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความรู ความสามารถอยาง เต็มที่
  • 9. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 5 ขอดีและขอจํากัดของแบบทดสอบแบบอัตนัย ขอดี ขอจํากัด 1. สามารถวัดพฤติกรรมตาง ๆ ไดทุกดานโดยเฉพาะ กระบวนการคิดวิเคราะหและสังเคราะหจะวัดไดดี 2. ผูตอบมีโอกาสใชความรูแสดงความคิดเห็นและ ความสามารถในการใชภาษา 3. โอกาสในการเดาโดยไมมีความรูในเรื่องนั้น แลวได คะแนน มีนอยมาก 4. สรางไดงายและประหยัดคาใชจาย 1. คําถามไมสามารถครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน เนื่องจากจํานวนขอมีจํากัด เปนการยากที่จะสุม เนื้อหาใหครอบคลุมความรูที่ตองการจะวัดได ครบถวน 2. การตรวจใหคะแนนไมคงที่แนนอน มักมีความ คลาดเคลื่อนมาก และควบคุมใหเกิดความยุติธรรม ไดยาก 3. ไมเหมาะที่จะใชกับผูสอบจํานวนมาก ๆ เพราะใช เวลาในการตรวจ 4. ลายมือของผูตอบและความสามารถในการเขียน บรรยายอาจจะมีผลตอคะแนน 5. มีความเชื่อมั่นต่ําและมักขาดความเที่ยงธรรม
  • 10. 6 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ กิจกรรมที่ 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ผูเขาอบรมแตละคนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย โดยบันทึกความคิดเห็นลงในใบงานที่ 1.1
  • 11. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 7 ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่ คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน ประเด็นคําถาม ความคิดเห็น ใช ไมใช 1. แบบทดสอบอัตนัยมีคุณสมบัติที่สําคัญ คือ ผูตอบตองเขียนบรรยายและมีสิทธิการตอบ อยางเสรี 2. แบบทดสอบอัตนัยอาจจะมีคําตอบที่ถูกตองหลายแนวทางมีความแตกตางทั้งดาน คุณภาพ และความถูกตอง 3. ขอสอบแบบอัตนัยเนนเฉพาะแบบเติมคําใหสมบูรณและแบบตอบสั้น 4. แบบทดสอบแบบอัตนัยเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความคิดเห็นเหมาะสําหรับวัดความรู ขั้นสูงกวาความจําและความเขาใจ 5. ขอสอบแบบอัตนัย แบงเปน 2 ประเภท คือแบบไมจํากัดคําตอบและแบบจํากัดคําตอบ 6. ขอสอบแบบอัตนัยเหมาะสําหรับวัดความรูระดับความจําและการประยุกตใช 7. ขอสอบอัตนัยแบบไมจํากัดคําตอบเนนใหนักเรียนอาศัยการสังเคราะหและการ ประเมินผล 8. ขอสอบแบบจํากัดคําตอบสวนใหญมักจะไมกําหนดขอบเขตแบบฟอรมและเนื้อหาที่ เฉพาะใหนักเรียนไดตอบ 9. จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนคําตอบที่เปนการบรรยาย 10.จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนความรูขั้นลึกซึ้ง เชน ความสามารถดาน การสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
  • 12. 8 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ ใบงานที่ 1.2 กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก) ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่ คําชี้แจง 1. ผูเขาอบรมแบงกลุมปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.2 กลุมละ 3-5 คน 2. ผูเขาอบรมแตละคนเขียนแสดงความคิดเห็นของตนเองลงในใบงานที่ 1.2 3. สมาชิกแตละกลุมชวยกันแสดงความคิดเห็น แลวสรุปบันทึกลงในใบงานที่ 1.2 4. แตละกลุมนําเสนอผลการอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ทานมีความคิดเห็นตอคํากลาวนี้อยางไร จงใหเหตุผลประกอบ “ขอสอบอัตนัยสามารถวัดความรูและ ความคิดระดับสูงไดดีจริงหรือ”
  • 13. 9 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ หนวยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ การอบรม เวลา สื่อประกอบ ฟงการบรรยาย - ทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) - แนวคิดเกี่ยวกับเครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ อัตนัย บรรยาย 30 นาที - ppt - ใบความรูที่ 2.1 ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.1 ระดับพฤติกรรมตามทฤษฎีความรู ของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมที่ 2.1 - ใบงานที่ 2.1 ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ อัตนัยตามแนวการทดสอบระดับ นานาชาติ (PISA) ปฏิบัติ 20 นาที - กิจกรรมที่ 2.2 - ใบงานที่ 2.2
  • 14. 10 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ หนวยที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย สาระสําคัญ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ในการอบรมและ พัฒนาครูผูสอนในครั้งนี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) ที่ปรับแกใหมโดย Anderson and Krathwohl (2001) ที่ไดแบงระดับความสามารถทางดานสมองของผูเรียนใหม ดังนี้ ระดับความจํา (remembering) ระดับความเขาใจ (Understanding) ระดับการนําไปใช (Applying) ระดับการวิเคราะห (Analyzing) ระดับการประเมินคา (Evaluating) และระดับความคิดสรางสรรค (Creating) และรูปแบบของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Essay) ที่กลาวถึงรายละเอียดรูปแบบและประเภทเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแบบอัตนัยตาง ๆ ซึ่งประกอบไปดวย แบบจํากัดคําตอบ (Restricted-answer essay) ซึ่งแบงเปนแบบ เติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) กับแบบตอบสั้น (short-answer essay) และแบบไมจํากัดคําตอบ (Extended-answer essay) วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) 2. เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ อัตนัย (Essay) ตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) เวลา ใชเวลา 60 นาที บทบาทผูเขาอบรม 1. ฟงการบรรยาย 2. ศึกษาเอกสาร 3. ปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) (Power point, ใบความรูที่ 2.1, ใบความรูที่ 2.2) 2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูที่ 2.1 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันอยูขั้นไหน” (กิจกรรมที่ 2.1) 3. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูที่ 2.2 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันคือใคร” (กิจกรรมที่ 2.2) 4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเกี่ยวกับระดับพฤติกรรมของขอสอบ รูปแบบ และลักษณะของขอสอบ
  • 15. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 11 สื่อ 1. กิจกรรม (2.1, 2.2) 2. ใบงาน (2.1, 2.2) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย ใบความรูที่ 2.1 แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) ใบความรูที่ 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย 4. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย และรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย วิธีการประเมิน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก ผลการปฏิบัติกิจกรรม มีผลงานตามเปาหมายที่ กําหนด ผลงานมีความเปนไปได และเห็นแนวทางอยางเปน รูปธรรมสูการปฏิบัติ ผลงานมีความเปนไปได มี ความชัดเจน เนื้อหาสาระ สมบูรณและเห็นแนวทาง อยางเปนรูปธรรมสูการ ปฏิบัติ
  • 16. 12 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ ใบความรูที่ 2.1 แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) แนวคิดทฤษฎีการเรียนรูของบลูม Bloom Taxonomy’s Revised ในป 1956, Benjamin Bloom นํากลุมนักจิตวิทยาการศึกษากลุมหนึ่งพัฒนาการจัดกลุมพฤติกรรมทาง สมองที่สําคัญตอการเรียนรู ระหวาง ป 1990 มีนักจิตวิทยากลุมใหม นําโดย Anderson and Krathwohl (2001) ซึ่ง เปนลูกศิษยเกาของ Bloom ไดปรับปรุงกลุมพฤติกรรมขึ้นมาใหม และสะทอนผลงานในศตวรรษที่ 21 เปนรูปภาพที่ เปนตัวแทนของคํากริยาใหมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่เราคุนเคยมานาน บันทึกนี้เปลี่ยนจาก นามเปนกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกตางกันของกลุมพฤติกรรรม ดังภาพประกอบ ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองที่สําคัญตอการเรียนรูตามแนวคิด ทฤษฎี ความรูของบลูม ตามแนวคิดเดิม และที่ ปรับปรุงใหม กระบวนการทางปญญา ดานพุทธิพิสัยของบลูม มีลําดับขั้น 6 ขั้น ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้ 1. จํา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได แสดงรายการได บอกได ระบุชื่อได การบอกชื่อ การบอกตําแหนง การใหสัญลักษณ ยกตัวอยาง บอกความสัมพันธ การจัดกลุม คัดเลือกได อธิบายใต รูปภาพ เรียงลําดับ จับคู บันทึกขอมูล ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจํามีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม รูจัก จําได พยัญชนะไทยแบงไดเปนกี่หมู อะไรบาง จัดทํารายการ นักเรียนเขียนรายการอาหารที่มีประโยชนมา 3 มื้อ/1 วัน อธิบาย นักเรียนอธิบายความหมายของสามเหลี่ยมดานเทา การระบุ นักเรียนระบุประเภทของใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคูมาทั้งหมด บอกความแตกตาง สัตวน้ําแตกตางกับสัตวบกอยางไรบาง
  • 17. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 13 2. เขาใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอยาง สรุปอางอิง การเรียบเรียงใหม การจําแนกหมวดหมู สังเกต ทําเคาโครงเรื่อง ใหคําจํากัดความ แปลความหมาย ประมาณคา ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเขาใจมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม การสรุปความ จากขอความที่นักเรียนไดสรุปสาระสําคัญไดอยางไร การแปลความหมาย บทรอยกรองขางตนตรงกับสุภาษิตไทยคืออะไร การเปรียบเทียบ จงเปรียบเทียบสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือกับภาคใต อธิบาย จงอธิบายสภาพทองถิ่นของนักเรียน บรรยาย จากภาพวงจรชีวิตของผีเสื้อใหนักเรียนบรรยายรายละเอียด 3. ประยุกตใช (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนําไปใช ประยุกตใช แกไขปญหา ลงมือทํา แปลความหมาย ใชภาพประกอบ การคํานวณ เรียงลําดับ การแกปญหา ประยุกตใช คาดคะเน ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกตใชมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม การนําไปปฏิบัติ นักเรียนสามารถใชความรูในการแกไขปญหาไดอยางไร การลงมือทํา ถาเราจะขึงลวดใหตึงเพื่อทําราวตากผาจะตองทําอยางไร การใช จงยกอาหารที่มีคุณคาและราคาถูกในชีวิตประจําวันและอธิบายดวยวามีคุณคาตอรางกาย อยางไร การจัดการ ถานักเรียนมีเงินรายรับเปนรายเดือน นักเรียนจัดระบบการใชจายเงินอยางไรถึงจะมีเงิน ใชทั้งเดือน การแปลความหมาย “โคมสวรรคพราวพราย” โคมสวรรคหมายถึงสิ่งใด 4. วิเคราะห (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ การจัดการ ทดลอง แยกกลุม คํานวณ วิพากษวิจารณ ลําดับเรื่อง ทําแผนผัง หาความสัมพันธ ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับ วิเคราะหมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม การจัดระบบ เลขโดด 1-9 นํามาสรางจํานวนเต็ม 4 หลักแลวหารดวย 5 ลงตัวมีกี่จํานวน การสืบเสาะ สืบสวน ขอใดบางกลาวถึงวิธีการโครงสรางภูมิคุมกันไขหวัดนก การใหเหตุผล การอางเหตุผล ลูกที่ดีของพอแมควรมีพฤติกรรมอยางไรบางเพราะเหตุใด จําแนกความแตกตาง นักเรียนบอกความแตกตางระหวางกบกับกระตายมาตามเกณฑที่นักเรียนกําหนด การตีคา “วิชัยทําการบานสงครูทุกวัน” นักเรียนคิดวาวิชัยเปนคนอยางไรเพราะเหตุใด
  • 18. 14 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ 5. ประเมินคา (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ ตัดสิน ใหคะแนน ประมาณคา เปรียบเทียบผล ตีคา สรุป แนะนํา สืบคน ตัดสินใจ คัดเลือก วัด ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินคามีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม การตรวจสอบ “รองเทากีฬาที่ดีควรมีคุณสมบัติครบทั้ง 4 ประการ” คุณสมบัติเหลานั้นควรมีอะไรบาง ตั้งสมมติฐาน ถาทองฟามืดครึ้มแลวฝนจะตก นักเรียนคิดวาเปนเชนนั้นหรือไมเพราะเหตุใด วิพากษวิจารณ ทําไมในสินคาที่นักเรียนเลือกซื้อตองมี”วันที่ควรบริโภค”กํากับมาดวย ทดลอง นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลอง ใสหินอานชิ้นเล็กๆในน้ําบริสุทธและน้ําอัดลมอยางละเทาๆกัน เพื่อ ทดลองเรื่องอะไร ตัดสิน นักเรียนสามารถตัดสินคุณคาของน้ําอัดลมและน้ําบริสุทธิ์ไดอยางไร 6. คิดสรางสรรค (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ พยากรณ ออกแบบ ทํานาย สรางสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง ตัวอยางของคําถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสรางสรรคมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม ออกแบบ ใหนักเรียนออกแบบหองนอนที่นักเรียนคิดวาเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ สราง ใหนักเรียนนําเสนอวิธีการสรางหุนยนตใหมที่แตกตางไปจากหุนยนตเดิม วางแผน นักเรียนชวยเขียนขั้นตอนการทํารายงาน”ทองถิ่นในฝนของขาพเจา” ปรับปรุง จงบอกวิธีปรับปรุงดินใหเหมาะกับการปลูกขาว พยากรณ จากขอมูลของกราฟเสนตรง นักเรียนคิดวาในป พ.ศ. 2557 จะเปนอยางไร
  • 19. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 15 กิจกรรมที่ 2.1 “ฉันอยูขั้นไหน” วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมสามารถระบุไดวาขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยสอดคลองกับ แนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูม ระดับใด อุปกรณ 1. ใบความรูที่ 2.1 เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม 2. ขอสอบอัตนัย จํานวน 3 ขอ วิธีการ 1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน 2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาเอกสารใบความรูที่ 2.1 3. เมื่อศึกษาใบความรูที่ 2.1 แลวตัวแทนกลุมรับใบขอสอบ 4. สมาชิกแตละกลุมพิจารณาขอสอบแตละขอวาสอดคลองกับพฤติกรรมใดตามแนวคิดทฤษฎีของบลูม พรอมทั้งบอกเหตุผล บันทึกผลงานการปฏิบัติลงในใบงานที่ 2.1 5. นําเสนอผลงานโดยติดบนปายนิเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู เวลา ใชเวลา 20 นาที การประเมิน ผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.1 ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู ของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง 1 ขอ ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู ของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง 2 ขอ ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรู ของบลูม พรอมบอกเหตุผลได ถูกตองทุกขอ
  • 20. 16 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ ใบงานที่ 2.1 “ฉันอยูขั้นไหน” ชื่อ-สกุล สพป./สพม. เลขที่ คําชี้แจง อานสถานการณและคําถามที่กําหนดใหแลวพิจารณาวาขอคําถามแตละขอสอดคลองกับทฤษฎี ความรู ของบลูมในระดับใด การแปรงฟนของคุณ ฟนของเราสะอาดมากขึ้นและมากขึ้นเมื่อเราแปรงนานขึ้นและแรงขึ้นใชหรือไม? นักวิจัยชาวอังกฤษบอกวาไมใช เขาไดทดสอบหลาย ๆ ทางเลือก และทายที่สุดก็พบวิธีที่สมบูรณแบบ ในการแปรงฟน การแปรงฟน 2 นาที โดยไมแปรงฟนแรงจนเกินไปใหผลที่ดีที่สุด ถาคุณแปรงฟนแรงคุณกําลังทําราย เคลือบฟนและเหงือกโดยไมไดขจัดเศษอาหารหรือคราบหินปูน เบนท ฮันเซน ผูเชี่ยวชาญเรื่องการแปรงฟน กลาววา วิธีจับแปรงสีฟนที่ดีก็คือจับใหเหมือนจับปากกา “เริ่มจากมุมหนึ่ง และแปรงไปตามฟนจนหมดแถว” เธอบอกวา “อยาลืมลิ้นของคุณดวย มันสามารถสะสมแบคทีเรีย ไดมากทีเดียว ซึ่งเปนสาเหตุของกลิ่นปาก ขอคําถาม 1. จากบทความดังกลาวมีผูเชี่ยวชาญเสนอแนะวิธีการจับแปรงสีฟนที่ดีอยางไร วัดพฤติกรรม ระดับ.......................................................................................... เพราะ............................................................................................................................................................... 2. จากบทความดังกลาวเกี่ยวของกับเรื่องอะไร สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ..................................................................................................... เพราะ............................................................................................................................................................... 3. ทําไมจึงควรแปรงลิ้นในขณะแปรงฟน สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ..................................................................................................... เพราะ...............................................................................................................................................................
  • 21. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 17 ใบความรูที่ 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเปนการสรางขอสอบใหผูเขาสอบเขียนตอบโดยมีความเชื่อวา ถาผูเขาสอบมีความรูในเรื่องนั้นดี ก็จะสามารถเขียนอธิบายไดอยางชัดเจน โดยรูปแบบของขอสอบอัตนัยโดยทั่วไป กําหนดใหผูเขาสอบนําเสนอคําตอบใน 2 รูปแบบ คือ 1. แบบจํากัดคําตอบ (restriced-answer essay) เปนขอสอบที่ผูตอบตองตอบใหตรงประเด็นที่ ตองการ ถาตอบเปนอยางอื่นจะไมไดคะแนน แบงเปน 2 แบบ ไดแก 1.1 แบบเติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) มีลักษณะเปนขอคําถามที่เวนคําหรือวลีไวแลว ให ผูเขาสอบเติมคําหรือวลีที่เปนคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว ทั้งนี้ Cocks และ Bormuth (1975) ไดเสนอแนะวา บางครั้งอาจจําเปนตองใหคะแนนสําหรับคําตอบที่คลายกันหรือขอความที่ใชแทนกันดวยความเหมาะสม 1.2 แบบตอบสั้น (short-answer essay) ขอสอบแบบตอบสั้น มีเจตนาใหผูเขาสอบเสนอคําตอบ ออกมา ซึ่งขอสอบแบบตอบสั้นนี้ ถูกเลือกใชในการเขียนขอสอบแบบอัตนัยบอยครั้งมากเพราะสามารถถามได ครอบคลุมและลึกกวาขอสอบแบบเติมคําใหสมบูรณ แตมีขอจํากัดเรื่องการตรวจใหคะแนนโดยตองใหความสําคัญกับ เกณฑการใหคะแนนที่ชัดเจนเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนน 2. แบบไมจํากัดคําตอบ (Extended-answer essay) เปนขอสอบที่มีวัตถุประสงคในการตรวจสอบ ความเขาใจทั้งหมดในเรื่องที่เรียนรู โดยผูเขาสอบจะตองเขียนคําตอบไดอยางรวบรัดและชัดเจน ผูออกขอสอบตอง กําหนดรูปแบบคําตอบ/ขอบเขตของการตอบเปนเกณฑในการใหคะแนนอยางชัดเจน จึงสามารถตรวจ ใหคะแนนได ตรงกัน การเขียนขอสอบแบบอัตนัย อาจสรางไดงายกวาขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple-choice) เพราะ มีเพียงขอคําถามไมตองมีตัวเลือกใหกับผูเขาสอบ ผูเขาสอบเปนผูเขียนตอบเอง แตขอสอบลักษณะนี้หากไมมีเกณฑ การใหคะแนนที่ชัดเจน จะทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนนได สําหรับการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ใชขอสอบอัตนัย เปนเครื่องมือสําคัญในการวัดผลสัมฤทธิ์ โดยลักษณะเดนของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนว (PISA) จักมี สถานการณที่ใชเปนขอมูลในการตอบคําถามใหและมีคําถามใหผูเขาสอบพิจารณา และนําเสนอคําตอบใน 3 แบบ ไดแก 1. แบบสรางคําตอบแบบปด มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบเขียนคําตอบที่เปน คําตอบถูกตองที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เชน คําถาม บริษัทที่ทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร ........................................................................................................................................ 2. แบบเขียนตอบสั้น ๆ มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถาม และใหผูเขาสอบเขียนคําตอบสั้น ๆ ใน ที่วางที่เตรียมไวในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคําตอบเปนตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เชน คําถาม ถานักเรียนตองการหาเสนทางสั้นที่สุดเพื่อเดินทางดวยรถไฟใตดินจากสถานีซาโตไปยังสถานีปาไม จงเขียนเสนทางที่นักเรียนจะใชเดินทางลงในแผนที่
  • 22. 18 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ 3. แบบสรางคําตอบแบบอิสระ มีลักษณะเปนขอสอบที่มีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบอธิบายคําตอบ หรือใหเหตุผลประกอบคําตอบที่แสดงความเขาใจที่มีตอคําถาม ผูเขาสอบควรเขียนคําตอบในเสนบรรทัดที่กําหนดไว ให จํานวนเสนบรรทัดจะเปนตัวบอกความยาวอยางคราว ๆ ที่ควรเขียนตอบ คําถาม ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ที่ทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... สําหรับเกณฑการใหคะแนนในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับ นานาชาติ (PISA) กําหนดมีเกณฑการใหคะแนนที่ชัดเจน โดยเกณฑใหคะแนนแบงไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. แบบใหคะแนนเปน 2 คา กลาวคือ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน ซึ่งจะกําหนด ขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบ กรณีไดคะแนนและไมไดคะแนน เชน คําถาม บริษัทที่ทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร ............................................................................................................................................................. การใหคะแนน คะแนนเต็ม รหัส 1 : ระบุชื่อผูผลิตไดอยางถูกตอง  ไฟนฟูดส หรือบริษัท ไฟนฟูดส จํากัด ไมไดคะแนน รหัส 0: ใหคําตอบที่ไมเพียงพอหรือกวางเกิน  ผูผลิต  ใครก็ไดบางคน  บริษัท แสดงความเขาใจเนื้อเรื่องที่คลาดเคลื่อนหรือใหคําตอบทีเปนไปไมไดหรือไมเกี่ยวของ  ครีมมะนาว  ซุปเปอรมาเก็ต  คนทําขนมปง รหัส 9: ไมตอบ 2. ใหคะแนนมากกวา 2 คา ซึ่งจะกําหนดขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบที่ไดคะแนนในแตละ ระดับ เชน คําถาม ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ที่ทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน .......................................................................................................................................... การใหคะแนน คะแนนเต็ม รหัส 2: อางถึง ความเปนนิยายของภาพยนตร หรือ โดยเฉพาะตัวนักแสดงที่ตายแลวจะปรากฎตัวขึ้นมาใหมอีก อาจคัดลอกประโยคที่สามจากเนื้อเรื่องมาโดยตรง (“...เพราะวาตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง ซึ่งพวก เขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม...”) หรือใน ขอความสุดทาย (“สิ่งที่มีเปนเพียงภาพในจินตนาการเทานั้น”)  คนที่พวกเขาคิดวาตายไปแลวกลับมามีชีวิตอีก  พวกเขาคิดวาภาพยนตรเปนเรื่องจริงแตกลับไมใช  พวกเขาคิดวาคนในภาพยนตรแกลงตาย และพวกเขาถูกหลอกเหมือนคนโง  ตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในภาพยนตรเรื่องหนึ่ง กลับมีชีวิตขึ้นมาอีกในภาพยนตรเรื่องตอมา
  • 23. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 19 ไดคะแนนบางสวน รหัส 1: อางถึง ความหลอกลวงหรือเลหเหลี่ยมหรือความคาดหวังของผูดูที่ถูกทําลายลง อาจอางคําวา “สิ่ง หลอกลวง” หรือ “เหยื่อของธุรกิจหนังเร” โดยตรง ไมไดคะแนน รหัส 0: ใหคําตอบที่ไมเพียงพอหรือไมตรงประเด็น  พวกเขาโกรธ บรูโน เครสป พวกเขาไมชอบภาพยนตรที่นํามาฉาย พวกเขาตองการเงินคืน พวกเขาคิดวาพวกเขาตกเปนเหยื่อ พวกเขาเปนคนรุนแรง พวกเขาโง พวกเขาแสดงความรูสึกของตนเอง เพราะพวกเขาจายเงินสองเซ็นตาโวแตไมไดสิ่งที่ตองการ (คําวา “สิ่งที่ตองการ” กวางเกินไป) หรือ แสดงถึง ความไมเขาใจ ในเนื้อหาที่อาน หรือใหคําตอบที่ไมมีเหตุผลหรือที่ไมเกี่ยวของ พวกเขารูสึกวาไมควรยุงกับปญหาผูอื่น (ผิด คนเราตองกายุงกับปญหาจริง ๆ ของคนอื่น) เปนวิธีที่พวกเขาประทวงการเสียเงินโดยเปลาประโยชน พวกเขาโกรธที่ตองมาดูคนตายและถูกฝง (อางประโยคที่ทําใหคิดวา “พวกเขาไมชอบเห็นคนตายใน ภาพยนตร”...เปนการแปลความที่ไมถูก) รหัส 9: ไมตอบ อยางไรก็ตาม ผูออกขอสอบตองตรวจสอบคุณภาพของเกณฑการใหคะแนน โดยเกณฑการใหคะแนนที่มี ประสิทธิภาพจะทําใหผูตรวจขอสอบใหคะแนนจากการตรวจผลงานของผูเขาสอบไดตรงกัน
  • 24. 20 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ กิจกรรมที่ 2.2 “ฉันคือใคร” จุดประสงค เพื่อใหผูเขาอบรมสามารถระบุรูปแบบของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการ ทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ได อุปกรณ 1. ใบงานที่ 2.2 2. ปากกาหรือดินสอสี 3. ตัวอยางขอสอบจํานวน 4 ขอ วิธีการ 1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน 2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาตัวอยางขอสอบที่ใชในการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ที่กําหนดให จํานวน 4 ขอ 3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันระดมสมอง โดยสรุปรูปแบบและลักษณะของขอสอบแตละรูปแบบที่ใชใน การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) 4. นําเสนอผลงานลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 และติดผลงานบนปายนิเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู เวลา ใชเวลา 20 นาที การประเมิน ผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2.2 ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก - ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 1 รูปแบบ และ/หรือ - ระบุลักษณะของขอสอบได 1 รูปแบบ - ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 2 หรือ 3 รูปแบบ - ระบุลักษณะของรูปแบบแตละ รูปแบบโดยระบุคําสําคัญได 2-3 รูปแบบ - ระบุรูปแบบของขอสอบไดเปน 3 รูปแบบ - ระบุลักษณะของแตละรูปแบบโดย ระบุคําสําคัญไดดังนี้ รูปแบบที่ 1 ระบุวามีขอคําถามให ตอบคําถามโดยแบบระบุคําตอบที่ เฉพาะเจาะจง รูปแบบที่ 2 ระบุวามีขอคําถามให ตอบคําถามโดยใหเขียนคําตอบสั้น ๆ รูปแบบที่ 3 ระบุวามีขอคําถามให ตอบคําถามโดยใหเขียนตอบแบบ อิสระ
  • 25. หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 21 ตัวอยางขอสอบ PISA ขอ 1 มาซอนโด มาซอนโด ดวยความละลานตาของสิ่งประดิษฐที่นาพิศวง ชาวเมืองมาซอนโดไมรูดวยซ้ําวา ความมหัศจรรยนั้น เริ่มตนจากตรงไหน พวกเขายอมอดหลับอดนอนทั้งคืนเพื่อจองดูหลอดไฟสีนวล ที่มีกระแสไฟปอนมาจากเครื่อง ปนไฟที่ ออรเรเลียโน ทริสเต บรรทุกมากับรถไฟเที่ยวที่สอง และพยายามทนเพื่อใหคุนกับเสียง ตูม ตูม ของเครื่อง ประหลาดนั่น ตอมาพวกเขาก็เริ่มไมพอใจกับการชมภาพยนตร ที่เคลื่อนไหวเหมือนมีชีวิตที่ ดอน บรูโน เครสป พอคาผูร่ํารวยนํามาฉายในโรงฉายที่มีชองขายตั๋วทําเปนหัวสิงโตเพราะวาตัวละครที่ตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง ซึ่งพวกเขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตขึ้นมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม ผูชมตอง จายเงินสองเซ็นตาโวเปนคาตั๋วเขาชม เพื่อรวมเสียใจกับความทุกขยากของตัวละคร พวกเขาไมยอมถูกหลอกใหดู ของไมจริงอีกตอไป จึงแสดงความโกรธดวยการทุบทําลายเกาอี้ ดอน บรูโน เครสป ไดขอรองใหนายกเทศมนตรี ชวยประกาศวาภาพยนตรเปนเพียงภาพลวงตา ไมควรนํามาเปนอารมณ และไมมีคาควรแกการที่ผูชมจะระเบิด ความโกรธแคน จากคําชี้แจงที่เตือนสตินี้เองทําใหหลายคนรูสึกวาตนตกเปนเหยื่อของธุรกิจหนังเรจึงตัดสินใจ ไมดู ภาพยนตรอีก เพราะคิดวาตัวเองก็มีความทุกขยากมากเกินกวาที่จะไปรองไหกับสิ่งที่เปนเพียงภาพลวงตาเหลานั้น คําถาม: มาซอนโด นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการตัดสินใจของชาวเมืองมาซอนโด เกี่ยวกับคุณคาของภาพยนตร จงอธิบายคําตอบโดยเปรียบเทียบความรูสึกของนักเรียนกับของชาวเมืองมาซอนโดที่มีตอภาพยนตร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ขอ 2 ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต การแจงเตือนการแพถั่วลิสง ขนมปงกรอบไสครีมมะนาว วันที่แจงเตือน: 4 กุมภาพันธ ชื่อผูผลิต: บริษัท ไฟนฟูดส จํากัด ขอมูลผลิตภัณฑ: ขนมปงกรองไสครีมมะนาว 125 กรัม (ควรบริโภคกอน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคกอน 1 กรกฎาคม) รายละเอียด: ขนมปงกรอบบางอยางในรุนการผลิตเหลานี้ อาจมีชิ้นสวนของถั่วลิสงผสมอยู แตไมแจงไวใน รายการสวนผสม คนที่แพถั่วไมควรรับประทานขนมปงกรอบนี้ การปฏิบัติของผูบริโภค: ถาทานซื้อขนมปงกรองนี้ไป ทานสามารถนํามาคืน ณ ที่ที่ทานซื้อ เพื่อรับเงินคืน ไดเต็มจํานวนหรือโทรสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 1800 034 241 คําถาม: ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต บริษัทที่ทําขนมปงกรองชื่อบริษัทอะไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................