SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน
้
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๒
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๒
และใช้ในโรงเรียนทั่วไป ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนภัทรบพิตร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต ๓๒ ในฐานะที่เป็นโรงเรียนใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จึงได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ เพื่อใช้เป็นกรอบและ
ทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนภัทรบพิตร และเพื่อให้การนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ และ
นาผลที่ได้จากการวัดและประเมินผลไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรงเรียนภัทรบพิตรได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร
พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และจัดทาระเบียบ
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนให้สอดคล้อง กับแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานโรงเรียนภัทรบพิตร ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๓ มีมติเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาและระเบียบว่าด้วยการวัด
และประเมินผลการเรียน โรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ จึงเห็นควรให้นาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ของโรงเรียนต่อไป

โรงเรียนภัทรบพิตร

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ตอน ๑
ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕
-------------------------------------โดยที่โรงเรียนภัทรบพิตรได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวง ศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓ / ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบ
โรงเรียนภัทรบพิตรว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว
ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
งานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงวางระเบียบ
ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔ ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตรตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ข้อ ๕ ให้ผู้อานวยการโรงเรียน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๑
หลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียน

หมวด ๑
หลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียน
ข้อ ๖ การประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามหลักการดาเนินการต่อไปนี้
๖.๑ โรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิด
โอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
๖.๒ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ผลการเรียน
๖.๓ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มี
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๖.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียน
ได้อย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติเหมาะสม
กับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน
ของความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้
๖.๕ การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต
พฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการ
เรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา
๖.๖ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมิน ผลการเรียนรู้
๖.๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและระหว่างรูปแบบการศึกษา
ต่างๆ
๖.๘

โรงเรียนจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผล
การเรียนรู้ รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของ

ผู้เรียน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๒
วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๒
วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ข้อ ๗ โรงเรียนดาเนินการวัดและประเมินผล ให้ครบองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน คือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน
๗.๑ การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เป็นการ
ประเมิน
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ที่กาหนดอยู่ในตัวชี้วัดใน
หลักสูตร
ซึ่งจะนาไปสู่การสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดใน
รายวิชา
พื้นฐาน และตามผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่กาหนดในหน่วยการ
เรียนรู้
ผู้สอนใช้วิธีการที่หลากหลายจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผล การ
ประเมิน
ที่สะท้อนความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน โดยวัดและประเมินการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกตพัฒนาการและความ
ประพฤติ
ของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ผู้สอนควรเน้นการ
ประเมิน
ตามสภาพจริง เช่น การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือ
การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ควบคู่ไปกับการใช้การทดสอบแบบต่างๆ
อย่างสมดุล ต้องให้ความสาคัญกับการประเมินระหว่างเรียนมากกกว่าการ
ประเมิน
ปลายปี/ปลายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๗.๒

การศึกษาระดับต่างๆ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน ให้ครูประจาวิชา

ดาเนินการ
วัดผลตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โดยการประเมินศักยภาพ
ของผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสาร และสื่อต่างๆ เพื่อหาความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ เพื่อความ
สุนทรีย์ และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระที่อ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การแสดงความคิดเห็น การ
สังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนที่มีสานวนภาษา
ถูกต้อง มีเหตุผลและลาดับขั้นตอนในการนาเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจน ตาม
ระดับความสามารถในแต่ละระดับชั้น
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ต้องดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่องและสรุปผลเป็นรายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและประเมินการเลื่อนชั้น
ตลอดจนการจบการศึกษาระดับต่างๆ
๗.๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้ครูผู้สอนดาเนินการวัดผล
ไปพร้อมกับการประเมินผลระดับชั้นเรียนตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินคุณลักษณะที่
ต้องการ
ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการในด้านคุณธรรม
จริยธรรม
จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะ
พลเมืองไทย
และพลโลก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ คุณลักษณะ ในการประเมินให้
ประเมิน
แต่ละคุณลักษณะ แล้วรวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกฝ่ายและ
แหล่งข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้ได้ข้อมูลนามาสู่การสรุปผลเป็นรายภาค
และใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนขั้นและการจบการศึกษาระดับ
ต่างๆ
๗.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นภาค โรงเรียนเป็นผู้กาหนด
แนวทางการประเมิน ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดาเนินการประเมิน ตามจุดประสงค์
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและ
ผลงาน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ของผู้เรียน และเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในแต่ละ
กิจกรรม
และใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับต่างๆ
ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ
เนตรนารี
ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร และกิจกรรมชุมนุม/ชมรม)
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๓
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๓
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ข้อ ๘ การตัดสินผลการเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดหลักเกณฑ์การวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน ดังนี้
๑)
ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
๒)
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
๓)
ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
๔)
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียน
กาหนด
ในการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน
ข้อ ๙ การให้ระดับผลการเรียน
๙.๑ การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ระบบตัวเลข ๘
ระดับ
แสดงระดับผลการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ ระดับ ดังนี้
ระดับผลการเรียน
ความหมาย
ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ
๔
ดีเยี่ยม
๘๐-๑๐๐
๓.๕
ดีมาก
๗๕-๗๙
๓
ดี
๗๐-๗๔
๒.๕
ค่อนข้างดี
๖๕-๖๙
๒
ปานกลาง
๖๐-๖๔
๑.๕
พอใช้
๕๕-๕๙
๑
ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า
๕๐-๕๔
๐
ต่ากว่าเกณฑ์
๐-๔๙
๙.๒ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นผ่าน และไม่ผ่าน ถ้ากรณีที่ผ่าน
กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ดีเยี่ยม หมายถึง

มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ
ดี
หมายถึง
มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
ผ่าน หมายถึง
มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่อง
บางประการ
ไม่ผ่าน หมายถึง
ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยัง มีข้อบกพร่อง
ที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ
๙.๓

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทุกคุณลักษณะ เพื่อการเลื่อนชั้น และ
จบการศึกษา เป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกาหนดเกณฑ์การตัดสิน เป็นดีเยี่ยม

ดี
และผ่าน และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้
ดีเยี่ยม หมายถึง
ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้
ในชีวิตประจาวัน เพื่อประโยชน์สุขของ ตนเองและสังคม
โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยม จานวน
๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน
ต่ากว่าระดับดี
ดี
หมายถึง
ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้
เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก ๑) ได้ผล
การประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และ
ไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี หรือ
๒) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๔ คุณลักษณะ
และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
หรือ ๓) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน ๕-๘
คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน
ต่ากว่าระดับผ่าน
ผ่าน หมายถึง
ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่
สถานศึกษากาหนดโดยพิจารณาจาก ๑) ได้ผลการประเมิน
ระดับผ่าน จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรือ ๒) ได้ผล
การประเมินระดับดี จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มี
คุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
ไม่ผ่าน หมายถึง
ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไข
ที่สถานศึกษากาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมิน
ระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ
๙.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและ
ผลงานของผู้เรียน
ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดและให้ผลการประเมินเป็นผ่าน และไม่ผ่าน
“ผ” หมายถึง
ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรม
และมีผลงานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด
“มผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ปฏิบัติกิจกรรม
และมีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด
กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียน
ทากิจกรรม
ในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผล
การเรียนจาก
“มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้นๆ
ยกเว้นมีเหตุ
สุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก
ไม่เกิน
๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรียนที่ ๒ ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี
การศึกษานั้น
ข้อ ๑๐
การเลื่อนชั้น
ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษาเมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
๑.
รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียน ผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๒.

ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ

กิจกรรม
๓.

พัฒนาผู้เรียน
ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้ไม่ต่ากว่า ๑.๐๐
รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริม

ผู้เรียนให้ได้รับ
การแก้ไขในภาคเรียนถัดไป ทั้งนี้สาหรับภาคเรียนที่ ๒ ต้องดาเนินการให้
เสร็จสิ้น
ภายในปีการศึกษานั้น
ทั้งนี้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย ตามที่ครูประจาวิชาแจ้ง และ
เห็นว่า
สามารถสอนซ่อมเสริมได้ ให้โรงเรียนใช้ดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะผ่อน
ผัน
ให้เลื่อนชั้นได้
ข้อ ๑๑
การสอนซ่อมเสริม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดให้โรงเรียนจัดสอน
ซ่อมเสริม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ
การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้
ทักษะกระบวนการหรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด โรงเรียนต้องจัดสอน ซ่อม
เสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนปกติ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย
และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล การสอนซ่อมเสริม สามารถดาเนินการได้ในกรณี ดังต่อไปนี้
ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการสอน
ซ่อมเสริม ปรับความรู้/ทักษะพื้นฐาน
ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะที่กาหนดไว้
ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ในการประเมินระหว่างเรียน
ผู้เรียนได้ระดับผลการเรียน”๐”ให้จัดการสอนซ่อมเสริม ก่อนสอบแก้ตัว
กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผล
การเรียน ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน
ข้อ ๑๒
การเรียนซ้าชั้น

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่
สูงขึ้น โรงเรียนอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้
ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
การเรียนซ้าชั้น มี ๒ ลักษณะ คือ
ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ากว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่า
จะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับที่สูงขึ้น
ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
ในปีการศึกษานั้น
ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้งสองลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง
คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้เรียนซ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิม
และให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้าชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน
ในการแก้ไขผลการเรียน
ข้อ ๑๓
๑)
๒)
๓)
๔)
๕)
ข้อ ๑๔
๑)
๒)
๓)
๔)

เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (จบการศึกษาภาคบังคับ)
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต
และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนด โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต
ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่โรงเรียนกาหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากาหนด
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต
และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนด โดยเป็นรายวิชา
พื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต
ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๕)

ตามที่โรงเรียนกาหนด
ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากาหนด

หมวด ๔
การรายงานผลการเรียน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๔
การรายงานผลการเรียน
ข้อ ๑๕ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบ
ความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ของผู้เรียนซึงโรงเรียนสรุปผลการประเมิน และจัดทา
่
เอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆหรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพปฏิบัติของผู้เรียนที่
สะท้อน
มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
๑.
จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรียน
๑.๑ เพื่อแจ้งให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าของผู้เรียน
๑.๒ เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการ
ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม พัฒนา
และการเรียนของผู้เรียน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๑.๓

เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูล

๑.๔

แนวทางการศึกษาและการเลือกอาชีพ
เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องใช้ในการออก

ในการวางแผนการเรียน กาหนด

เอกสารหลักฐานการศึกษา
ตรวจสอบและรับรองผลการเรียนหรือ
วุฒิทางการศึกษาของผู้เรียน
๑.๕

เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่

การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
ใช้ประกอบในการกาหนดนโยบายวางแผนใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๒.

ข้อมูลในการรายงานผลการเรียน
๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลามา

เรียน ผลการประเมินความรู้
ความสามารถ พฤติกรรมการเรียน
ความประพฤติ และผลงานในการเรียน
ของผู้เรียน เป็นข้อมูลสาหรับรายงาน
ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้เรียน
ผู้สอน และผู้ปกครองได้รับทราบ
ความก้าวหน้า ความสาเร็จในการเรียน
ของผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ในการ
วางแผนกาหนดเป้าหมายและวิธีการ
๒.๒

ในการพัฒนาผู้เรียน
ข้อมูลระดับโรงเรียน ประกอบด้วย

ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘
กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายปี/รายภาค ผลการประเมิน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ความก้าวหน้าในการเรียนรู้รายภาค
โดยรวมของโรงเรียน เพื่อใช้
เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการ
พัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพ
ของผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด การตัดสิน
การเลื่อนชั้นและการซ่อมเสริมผู้เรียน
ที่มีข้อบกพร่องให้ผ่านระดับชั้น
และเป็นข้อมูลในการออกเอกสาร
หลักฐานการศึกษา
๒.๓

ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่

ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียน
ด้วยแบบประเมินที่สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาจัดทาขึ้นในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สาคัญในระดับชั้นที่
นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ
เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและ
ดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา
เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน
และโรงเรียน
๒.๔

ข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมิน

คุณภาพของผู้เรียนด้วยแบบประเมิน
ที่เป็นมาตรฐานระดับชาติในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ที่สาคัญในชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๖ ซึ่งดาเนินการโดยหน่วยงาน
ระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้อง
ใช้วางแผน และดาเนินการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้อง
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน
สถานศึกษา ท้องถิ่น เขตพื้นที่
การศึกษาและประเทศชาติ รวมทั้งนาไป
รายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษา
ของผู้เรียน
๒.๕

ข้อมูลพัฒนาการของผู้เรียนด้านอื่นๆ

ประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ
ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และพฤติกรรมต่างๆ เป็นข้อมูล
ส่วนหนึ่งของการแนะนาและจัดระบบ
การดูแลช่วยเหลือ เพื่อแจ้งให้ผู้เรียน
ผู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง
ได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ
แต่ล่ะฝ่ายนาไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและ
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการ
อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนาไป
จัดทาเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการ
ของผู้เรียน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๕
เอกสารหลักฐานการศึกษา

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๕
เอกสารหลักฐานการศึกษา
ข้อ ๑๖ ให้มีการจัดหาและจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา ดังต่อไปนี้
๑๖.๑ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ประกอบด้วย
๑)
ระเบียนแสดงผลการเรียน (transcript) (ปพ.๑ : ปพ๑ : บ, ปพ
๑ : พ)
ใช้เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียนของผู้เรียนตามสาระ
การเรียนรู้กลุ่มวิชาและ
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้เรียนในแต่ละช่วงชั้นของหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเร็จใน
การศึกษาของผู้เรียน
แต่ละคน และใช้เป็นหลักฐานในการสมัครเข้าศึกษาต่อ
สมัครเข้าทางาน
หรือดาเนินการในเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อกาหนด
เอกสารดังนี้
(๑)

โรงเรียนจัดทาระเบียนแสดงผลการเรียนของ

ผู้เรียน ตามรูปแบบ
ที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ตามคาสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ที่ ๖๑๖/๒๕๕๒ โรงเรียนจัดทาต้นฉบับ
ระเบียนแสดงผลการเรียน
ของนักเรียนทุกคน เก็บรักษาไว้ตลอดไปและ
ระมัดระวังดูแลรักษา
ไม่ให้ชารุดเสียหาย สูญหายหรือมีการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลเป็นอันขาด
เพื่อความสะดวกในการค้นหาข้อมูล โรงเรียน
อาจเก็บข้อมูล ในเอกสารนี้
ในรูปของ CD-ROM หรือเทคโนโลยีอื่นๆ
โรงเรียนจัดทาระเบียนแสดง
ผลการเรียนเมื่อผู้เรียนสาเร็จการศึกษาแต่ละ
ช่วงชั้นให้แก่ผู้เรียน
โดยคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับที่โรงเรียนจัดทา
กรณีผู้เรียนย้ายสถานศึกษา
โรงเรียนจะต้องจัดทาระเบียนแสดงผลการ
เรียนของนักเรียนในช่วงชั้น
ที่กาลังศึกษาอยู่ โดยคัดลอกข้อมูลจาก
ต้นฉบับที่เป็นปัจจุบันให้ถูกต้อง
สมบูรณ์ ให้ผู้เรียนนาไปเป็นหลักฐานการ
สมัครเข้าเรียนที่สถานศึกษาใหม่
-

กรณีผู้เรียนรับระเบียนแสดงผลการ

เรียนของนักเรียนของตนเองไปแล้ว
เกิดการชารุดสูญหาย และผู้เรียนต้องการ
เอกสารฉบับใหม่ให้โรงเรียน
ออกเอกสารฉบับใหม่แก่ผู้เรียนโดยคัดลอกหรือ
ถ่ายสาเนาจากต้นฉบับ
เอกสารที่จัดเก็บรักษาไว้กรณีผู้เรียนต้องการ
ระเบียนแสดงผลการเรียน
เป็นภาษาอังกฤษ ให้ออกเอกสารตามข้อมูล
เดิมของต้นฉบับเอกสาร
ด้วยภาษาอังกฤษ

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
-

กรณีต้นฉบับเอกสารเกิดการสูญหาย

ให้แจ้งยกเลิกการใช้เอกสาร
ระเบียนแสดงผลการเรียน ตามลาดับขั้นตอน
ตามคาสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๖๑๖/๒๕๕๒
๒)

หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร ) (ปพ.๒ บ

และ ๒ พ)
เป็นเอกสารที่โรงเรียนออกให้กับผู้สาเร็จการศึกษาภาคบังคับ ๙
ปี และผู้สาเร็จ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อแสดงศักดิ์และสิทธิ์ของ
ผู้สาเร็จการศึกษา
และรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียนให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็น
หลักฐานแสดง
(๑)

ระดับวุฒิการศึกษาของตน ข้อกาหนดเอกสารมีดังนี้
เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาเป็น

(๒)

เป็นเอกสารที่ออกให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการศึกษา

รายบุคคล
ภาคบังคับ
๙ ปี (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) และผู้สาเร็จการศึกษา
หลักสูตรการศึกษา
(๓)

ขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖)
กรณีผู้เรียนรับเอกสารไปแล้ว ถ้าผู้เรียนมีความประสงค์ขอรับ

เอกสาร
นี้ใหม่ โรงเรียนออกเป็นใบแทนให้ โดยใบแทนจะมี
ลักษณะ
(๔)

แตกต่างจากเอกสารจริง
โรงเรียนใช้แบบพิมพ์เอกสารตามรูปแบบที่กระทรวงศึกษาธิการ
กาหนด ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๖๑๗/

๒๕๕๒
เรื่อง

การจัดทาใบประกาศนียบัตร ลงวันที่ ๓๐

กันยายน ๒๕๕๒
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๓)

แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓)
เป็นเอกสารรายงานรายชื่อและข้อมูลของ
ผู้สาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ในแต่ละระดับการศึกษา
เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยัน
และรับรองความสาเร็จและวุฒิ
การศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละคนต่อ
เขตพื้นที่การศึกษาและกระทรวง
ศึกษาธิการ ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้
(๑) เป็นเอกสารสาหรับรายงาน รายชื่อและข้อมูลผู้สาเร็จ
หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น และ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ต่อหน่วยงาน
ที่รับผิดชอบ คือ สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ
(๒) โรงเรียนใช้แบบพิมพ์เอกสารตามรูปแบบ ที่
กระทรวงศึกษาธิการ
กาหนด ตามคาสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๖๑๘/๒๕๕๒ เรื่อง
การจัดทาแบบรายงานผู้สาเร็จ
การศึกษา ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
(๓) โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทา
แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา
เป็นครั้งคราวไป เป็นผู้ช่วยนาย
ทะเบียน จัดทาเอกสารนี้ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓, ๖ จัดทาจานวน ๓ ชุด เก็บรักษาที่สถานศึกษา ๑ ชุด ที่สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา ๑ ชุด และกระทรวงศึกษาธิการอีก ๑ ชุด ชุดที่เก็บ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
รักษาไว้ที่กระทรวงศึกษาธิการถือเป็นเอกสารต้นฉบับ
(๔) โรงเรียนและหน่วยงานที่เก็บรักษาเอกสาร
จะต้องดูแลรักษาเอกสารนี้
อย่าให้ชารุดเสียหาย สูญ
หายหรือข้อมูลถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขเป็นอันขาด
และต้องเก็บรักษาไว้ใน
สถานที่ที่มีความปลอดภัยไว้ตลอดไป เพื่อความ
สะดวก ในการค้นหาข้อมูล
โรงเรียนอาจเก็บข้อมูลในเอกสารนี้ไว้
ในรูปของ CD-ROM หรือ
เทคโนโลยีอื่นใดอีกทางหนึ่งได้
(๕)

โรงเรียนจัดส่งเอกสารที่จัดทา

เรียบร้อยแล้ว ไปให้หน่วยงานที่กาหนด
ภายในเวลา ๓๐ วัน หลังจากผู้เรียน
ได้รับการอนุมัติให้สาเร็จการศึกษา
๑๖.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนกาหนด
๔)
แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา (ปพ.๕)
เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูล ผลการวัดและ
ประเมินผล
การเรียนและข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนแต่
ละคน
ที่เรียนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการ
เรียน
การสอน ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน
รวมทั้งใช้
เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการเรียน การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรม
ต่างๆ และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนแต่ละคน ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้
(๑) ใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนและ
ข้อมูล
พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทั้งห้องหรือกลุ่มที่
เรียน
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
(๒)

พร้อมกัน โดยบันทึกเป็นรายบุคคล
ข้อมูลที่จะบันทึกในเอกสารอย่างน้อยควรมีดังนี้
(๒.๑) ข้อมูลของโรงเรียน
(๒.๒) ชื่อ- ชื่อสกุลผู้สอนหรือที่ปรึกษา
(๒.๓) ชื่อ – ชื่อสกุลและเลขประจาตัวประชาชนของ

ผู้เรียนทุกคนที่เรียน
ในห้องหรือกลุ่มที่เรียนร่วมกัน
(๒.๔) ลักษณะการใช้เวลาในการเข้าเรียน หรือร่วม
กิจกรรมการเรียน
ของผู้เรียนในช่วงเวลาที่โรงเรียน
กาหนดให้ เป็นเวลาเรียน
จาแนกเป็น เวลามา มาสาย ป่วย ลา
ขาด
(๒.๕) สรุปรวมเวลาเรียนของผู้เรียนแต่ละคน
(๒.๖) เวลาเรียนของแต่ละคน คิดเป็นร้อยละของ
เวลาเรียนเต็ม
(๒.๗) รายการประเมินตามตัวชี้วัดรายภาค(ตาม
ระดับชั้น

ที่ใช้เอกสาร)
(๒.๘) ระดับผลการเรียน
(๒.๙) เกณฑ์การประเมินให้ระดับผลการเรียน
(๒.๑๐) ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน

ระหว่างเรียนปลายภาค
(๒.๑๑) ผลการตัดสินและอนุมัติผลการเรียน
(๒.๑๒)
รายการคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของสถานศึกษา
(๒.๑๓)

เกณฑ์หรือข้อบ่งชี้ในการประเมิน

(๒.๑๔)

ของโรงเรียน
ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
(๒.๑๕)
ผลการประเมินการ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ประสงค์ของโรงเรียน
อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน
(๓)

ลักษณะการบันทึกข้อมูล

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
(๓.๑) การบันทึกเวลาเรียนตามลักษณะเวลาเรียนของแต่ละ
รายวิชา
โดยบันทึกเวลาเรียนของผู้เรียนทั้งห้องหรือกลุ่มตลอด
การเรียน
ในแต่ละรายวิชา
(๓.๒) การบันทึกข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ให้
บันทึก
คะแนนและข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนเป็น
รายวิชา
โดยบันทึกข้อมูลของทุกคนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันไว้
ใน
เล่มเดียวกันให้เสร็จสมบูรณ์ในแต่ละรายวิชา
(๓.๓) การบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ให้บันทึก
ผลการประเมินผู้เรียนทุกคนในห้องหรือกลุ่มเดียวกัน
จากผู้ประเมิน ทุกฝ่ายแต่ละภาคไว้ในเอกสารเล่ม
เดียวกัน
โดยอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้บันทึกผลการประเมินอาจ
บันทึก
เป็นคะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินแต่ละ
ประเภท
หรือบันทึกเป็นเส้นพัฒนาการ (Profile) หรือคา
บรรยายสภาพ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละประการได้
(๓.๔) การบันทึกผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด
วิเคราะห์
และเขียน ให้บันทึกผลการประเมินผู้เรียนทุกคนในห้อง
หรือ
กลุ่มเดียวกันจากผู้ประเมินที่โรงเรียนกาหนดไว้ใน
เอกสาร
เล่มเดียวกัน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้บันทึก

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
(๓.๕) การออกแบบและจัดทาเอกสาร สถานศึกษาเป็น
ผู้ออกแบบ
การจัดทาเอกสารโดยคานึงถึงความถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์
ของข้อมูล ความสะดวก ชัดเจนในการบันทึกข้อมูล
และการนา
เอกสารไปใช้เป็นสาคัญ โรงเรียนอาจออกแบบให้
บันทึกข้อมูล
ในข้อ (๓.๑) , (๓.๒), (๓.๓ ) ไว้ในเล่มเดียวกันก็ได้
(๓.๖) กรณีผู้เรียนย้ายโรงเรียนระหว่างปี หรือย้ายโรงเรียน
ระหว่างภาคโรงเรียนจัดทาใบแจ้งจานวนเวลาเรียน
ข้อมูล
ผลการเรียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
และผล
การประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียน
ของผู้เรียนในปีหรือภาคเรียนที่กาลังเรียนโดยคัดลอก
เอกสารนี้
ให้ผู้เรียนนาไปให้โรงเรียนที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อใช้
เป็นข้อมูล
สาหรับรวมกับข้อมูลที่จะเกิดในโรงเรียนใหม่ เป็น
ข้อมูล
ผลการพัฒนาของผู้เรียนต่อไป
(๓.๗) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เมื่อใช้กรอก
ข้อมูลแล้ว
สถานศึกษาจะต้องเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานสาหรับการ
ตรวจสอบ
๕)

เป็นเวลาอย่างน้อย ๑๐ ปี
แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล(ปพ.๖)
เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน

พัฒนาการในด้านต่าง ๆ

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
และข้อมูลอื่น ๆ ของผู้เรียน ทั้งที่โรงเรียนหรือที่บ้าน
เพื่อใช้สาหรับสื่อสาร
สาหรับโรงเรียนกับผู้ปกครองของผู้เรียนให้รับทราบและ
เกิดความเข้าใจ
ในตัวผู้เรียนร่วมกัน ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังนี้
(๑) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
รายบุคคล
(๒) ข้อมูลที่บันทึกในเอกสารอย่างน้อยควรมีดังนี้
(๒.๑) ข้อมูลส่วนตัวผู้เรียน และเลขประจาตัวประชาชนของผู้เรียน
(๒.๒) เวลาเรียน
(๒.๓) การวัดและประเมินผลการเรียน และการตัดสินผลการเรียน
(๒.๔) ผลงานหรือความสาเร็จที่น่าภาคภูมิใจ (เป็นการนารายชื่อ
ผลงานดีเด่นของผู้เรียนทั้งที่เกิดจากการเรียนโดยตรง และเกิด
จาก
การดาเนินงานส่วนตัวมาบันทึกไว้ปีละ ๑ – ๒ ชิ้น โดยผู้เรียน
เป็นผู้กรอกแล้วให้ผู้ปกครองและสถานศึกษารับรองและ
แสดงความเห็นต่อผลงานแต่ละชิ้น)
(๒.๕) ความเห็นของโรงเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อผู้เรียนเกี่ยวกับ
ผลการเรียน
(๒.๖) รายการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
(๒.๗) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละประการ
อาจรายงานผลการประเมินเป็นเส้นพัฒนาการ (Profile)
หรือคาบรรยายสรุปสภาพคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้
(๒.๘) รายการกิจกรรมและผลการประเมินกิจกรรม
(๒.๙) ผลการประเมินความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน
(๒.๑๐)
รูปถ่ายนักเรียน
(๒.๑๑)
ลายมือชื่อของผู้จัดทาเอกสาร
(๒.๑๒)
ลายมือชื่อของหัวหน้าสถานศึกษา และประทับตรา
โรงเรียน

(๓)

(๒.๑๓)
วัน เดือน ปี ที่รายงานข้อมูล
(๒.๑๔)
ข้อมูลอื่นที่โรงเรียนเห็นสมควรนามาบันทึกไว้
โรงเรียนเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสารนี้ใช้เองให้เหมาะสม

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
(๔)

กับโรงเรียนของตน
โรงเรียนจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบน และส่งเอกสารนี้
ั
ให้ผู้ปกครองของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการบันทึกข้อมูลใหม่ ๆ
ไม่ควรน้อยกว่าภาคเรียนละ ๑ ครั้งหรือปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง
(๕) กรณีผู้เรียนย้ายโรงเรียน ให้ผู้เรียนนาเอกสาร

รายงานผลการพัฒนา
๑)

๒)
๖)

ผู้เรียนรายบุคคล
ฉบับที่กาลังใช้อยู่ไปให้โรงเรียนแห่งใหม่ เพื่อใช้ดุลยพินิจว่าจะใช้
เอกสารฉบับเดิมต่อไป หรือจัดทาเอกสารใหม่ ถ้าโรงเรียน
แห่งใหม่จะจัดทาเอกสารใหม่ เมื่อคัดลอกข้อมูลจากเอกสารเดิม
ลงในเอกสารใหม่แล้วให้คืนเอกสารเดิมแก่ผู้เรียนนาไปเก็บรักษาไว้
ให้ผู้เรียนเก็บสะสมเอกสารนี้ไว้ให้ครบถ้วนตลอดเวลาการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบรับรองผลการเรียน (ปพ.๗)
เป็นเอกสารที่โรงเรียนออกให้กับผู้เรียนเป็นการเฉพาะ

กิจ เพื่อรับรอง
สถานภาพทาง การศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว
ทั้งกรณีผู้เรียน
ยังไม่สาเร็จการศึกษา และสาเร็จการศึกษาแล้ว
ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังนี้
(๑)

เป็นเอกสารรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว
ที่สถานศึกษาออกให้แก่ผู้เรียน เพื่อนาไปใช้แทนระเบียนแสดง
ผลการเรียน แบบแสดงพัฒนาการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือ
หลักฐานแสดงวุฒิทางการศึกษาในการสมัครสอบ สมัครงานหรือศึกษา

ต่อ
(๒)

เป็นเอกสารที่โรงเรียนสามารถออกให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น

(๓)

ข้อมูลที่จะบันทึกในเอกสาร มีดังนี้

๓.๒

๓.๑ ชื่อสโรงเรียน และสถานที่ตั้ง
ชื่อ -ชื่อสกุล ผู้เรียน เลขประจาตัวนักเรียน และ
เลขประจาตัวประชาชน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
๓.๓
๓.๔
๓.๕
๓.๖
๓.๗

สถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียน ที่โรงเรียนห้การรับรอง
วัน เดือน ปี ที่ออกเอกสาร
รูปถ่ายของผู้เรียน
ลายมือชื่อผู้จัดทาเอกสาร
ลายมือชื่อผู้บริหารโรงเรียน
(๔) โรงเรียนเป็นผู้ออกแบบ จัดทาและควบคุม

การออกเอกสารเอง
ใบรับรองผลการเรียน มีช่วง
ระยะเวลารับรอง ๖๐ วัน
๗.

ระเบียนสะสม (ปพ.๘)
เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการ

และผลงานด้านต่าง ๆ
ของผู้เรียนทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน เพื่อประโยชน์ใน
การแนะแนวผู้เรียน
(๑)
(๒)

(๓)
(๔)

ในทุก ๆ ด้าน ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้
มีรายการสาหรับบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาการของผู้เรียน
ในด้านต่าง ๆ เป็นรายบุคคล
สถานศึกษาเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสารให้เหมาะสมกับสถานศึกษา
ของตน และให้มีความคงทนสามารถเก็บรักษาและใช้ต่อเนื่องได้ตลอด
๖ ปี สาหรับระดับประถมศึกษาและ ๓ ปี สาหรับระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เป็นเอกสารที่ผู้เรียนใช้ต่อเนื่องกันได้ตลอด ๖ ปี และ ๓ ปี ทั้งกรณีศึกษา
ในสถานศึกษาเดียวกันหรือย้ายโรงเรียนหรือเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา
สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน ข้อมูลบางอย่าง
อาจให้ผู้ปกครองเป็นผู้กรอก หรือให้ความเห็น หรือได้รับทราบด้วยได้

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๖
การเทียบโอนผลการเรียน

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
หมวด ๖
การเทียบโอนผลการเรียน
ข้อ ๑๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากโรงเรียนได้ในกรณีต่างๆ ได้แก่ การ
ย้ายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้าศึกษา
ต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ
ข้อ ๑๘ ให้สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถาน
ประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว
ข้อ ๑๙ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียนที่
สถานศึกษา รับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน การรับเทียบโอนกาหนดให้ ผู้เรียนที่ได้รับการ
เทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในโรงเรียนที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน
โรงเรียนกาหนดรายวิชา จานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
ข้อ ๒๐ การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ดังนี้
๒๐.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้
ความสามารถของนักเรียน เช่น ระเบียนแสดงผลการเรียน สมุดรายงาน
ผลการเรียน ฯ
๒๐.๒ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรง โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ
ทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
๒๐.๓ พิจารณาจากความสามารถ และการปฏิบัติจริง
๒๐.๔ ในกรณีมีเหตุผลจาเป็นระหว่างเรียน
ข้อ ๒๑
การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน
จานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน แต่ไม่ควรเกิน ๕ คน การเทียบโอนให้ดาเนินการดังนี้
๒๑.๑ กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นารายวิชาหรือหน่วยกิต
ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/คาอธิบาย
รายวิชา/
เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผลการเรียน
และพิจารณาให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับย้าย
๒๑.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจาก
เอกสาร
หลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย
และให้ระดับ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ผลการเรียนที่สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน
๒๑.๓ กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้
ดาเนินการ
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักการและแนว
ปฏิบัติการเทียบชั้น
สาหรับนักเรียนที่เข้าโครงการแลกเปลี่ยน
ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม
หลักการและแนวทาง
การเทียบโอนผลการเรียน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง การเทียบโอน
ผลการเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ากว่า
ปริญญา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และ แนว
ปฏิบัติที่เกี่ยวกับ
การเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ซึ่งจัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(สิงหาคม ๒๕๔๙)

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
บทเฉพาะกาล

บทเฉพาะกาล
ข้อ ๒๒
สถานศึกษา

ให้ใช้ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
โรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับผู้เรียนในหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนภัทรบพิตร
พุทธศักราช ๒๕๕๓ ของโรงเรียนภัทรบพิตร
ระดับชั้นปีที่เรียน ดังต่อไปนี้
ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
-

ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๒ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๕
ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้ในทุกชั้นเรียน
ข้อ ๒๓
ให้ใช้ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วย การประเมินผลการเรียน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่กับแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อ ๒๔ การเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพิ่มเติมระเบียบนี้ ต้องได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา แล้วเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของโรงเรียน เพื่อประกาศใช้ต่อไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

( นายกิตติศักดิ์ วิทยเดช )
ผู้อานวยการโรงเรียนภัทรบพิตร

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
ตอนที่ ๒
คาอธิบายระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556

More Related Content

What's hot

หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553weerawat pisurat
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 

What's hot (19)

Tutor ferry guide book
Tutor ferry guide bookTutor ferry guide book
Tutor ferry guide book
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 

Viewers also liked

ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559
ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559
ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559waranyuati
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556Sadaratana Anita
 

Viewers also liked (6)

ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559
ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559
ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนสมุทรปราการ พุทธศักราช 2559
 
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริงธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
ธรรมนูญสภานักเรียน ฉบับจริง
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556
คู่มือปฏิบัติงาน สภานักเรียน 2556
 

Similar to 2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556

20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียนkrupornpana55
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์krutukSlide
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
19ปกระเบียบวัดผล
19ปกระเบียบวัดผล19ปกระเบียบวัดผล
19ปกระเบียบวัดผลkrupornpana55
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 

Similar to 2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556 (20)

20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน
 
20
2020
20
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
19ปกระเบียบวัดผล
19ปกระเบียบวัดผล19ปกระเบียบวัดผล
19ปกระเบียบวัดผล
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556

  • 1. ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน ้ พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๒ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คานา ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๒ และใช้ในโรงเรียนทั่วไป ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนภัทรบพิตร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๓๒ ในฐานะที่เป็นโรงเรียนใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ เพื่อใช้เป็นกรอบและ ทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนภัทรบพิตร และเพื่อให้การนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ และ นาผลที่ได้จากการวัดและประเมินผลไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนภัทรบพิตรได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และจัดทาระเบียบ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนให้สอดคล้อง กับแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานโรงเรียนภัทรบพิตร ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๓ มีมติเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาและระเบียบว่าด้วยการวัด และประเมินผลการเรียน โรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ จึงเห็นควรให้นาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้ของโรงเรียนต่อไป โรงเรียนภัทรบพิตร สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 4. ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕ -------------------------------------โดยที่โรงเรียนภัทรบพิตรได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวง ศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓ / ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบ โรงเรียนภัทรบพิตรว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 5. งานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงวางระเบียบ ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๔ ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตรตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกาศใช้ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ข้อ ๕ ให้ผู้อานวยการโรงเรียน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 6. หมวด ๑ หลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียน หมวด ๑ หลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ ๖ การประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามหลักการดาเนินการต่อไปนี้ ๖.๑ โรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิด โอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ๖.๒ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 7. ผลการเรียน ๖.๓ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มี การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการ สอนต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียน ได้อย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติเหมาะสม กับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้ ๖.๕ การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการ เรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา ๖.๖ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมิน ผลการเรียนรู้ ๖.๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและระหว่างรูปแบบการศึกษา ต่างๆ ๖.๘ โรงเรียนจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผล การเรียนรู้ รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของ ผู้เรียน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 9. หมวด ๒ วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ ๗ โรงเรียนดาเนินการวัดและประเมินผล ให้ครบองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ๗.๑ การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เป็นการ ประเมิน ความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ที่กาหนดอยู่ในตัวชี้วัดใน หลักสูตร ซึ่งจะนาไปสู่การสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดใน รายวิชา พื้นฐาน และตามผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่กาหนดในหน่วยการ เรียนรู้ ผู้สอนใช้วิธีการที่หลากหลายจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผล การ ประเมิน ที่สะท้อนความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน โดยวัดและประเมินการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกตพัฒนาการและความ ประพฤติ ของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ผู้สอนควรเน้นการ ประเมิน ตามสภาพจริง เช่น การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือ การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ควบคู่ไปกับการใช้การทดสอบแบบต่างๆ อย่างสมดุล ต้องให้ความสาคัญกับการประเมินระหว่างเรียนมากกกว่าการ ประเมิน ปลายปี/ปลายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 10. ๗.๒ การศึกษาระดับต่างๆ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน ให้ครูประจาวิชา ดาเนินการ วัดผลตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โดยการประเมินศักยภาพ ของผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสาร และสื่อต่างๆ เพื่อหาความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ เพื่อความ สุนทรีย์ และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระที่อ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การแสดงความคิดเห็น การ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนที่มีสานวนภาษา ถูกต้อง มีเหตุผลและลาดับขั้นตอนในการนาเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจน ตาม ระดับความสามารถในแต่ละระดับชั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ต้องดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องและสรุปผลเป็นรายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและประเมินการเลื่อนชั้น ตลอดจนการจบการศึกษาระดับต่างๆ ๗.๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้ครูผู้สอนดาเนินการวัดผล ไปพร้อมกับการประเมินผลระดับชั้นเรียนตามเกณฑ์ที่กาหนดดังนี้ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินคุณลักษณะที่ ต้องการ ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะ พลเมืองไทย และพลโลก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ คุณลักษณะ ในการประเมินให้ ประเมิน แต่ละคุณลักษณะ แล้วรวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกฝ่ายและ แหล่งข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้ได้ข้อมูลนามาสู่การสรุปผลเป็นรายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนขั้นและการจบการศึกษาระดับ ต่างๆ ๗.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นภาค โรงเรียนเป็นผู้กาหนด แนวทางการประเมิน ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดาเนินการประเมิน ตามจุดประสงค์ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงาน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 11. ของผู้เรียน และเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในแต่ละ กิจกรรม และใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับต่างๆ ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร และกิจกรรมชุมนุม/ชมรม) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 13. หมวด ๓ เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ ๘ การตัดสินผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดหลักเกณฑ์การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน ดังนี้ ๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียน กาหนด ในการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ข้อ ๙ การให้ระดับผลการเรียน ๙.๑ การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ระบบตัวเลข ๘ ระดับ แสดงระดับผลการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ ระดับ ดังนี้ ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๔ ดีเยี่ยม ๘๐-๑๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙ ๓ ดี ๗๐-๗๔ ๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕-๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔ ๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙ ๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ๕๐-๕๔ ๐ ต่ากว่าเกณฑ์ ๐-๔๙ ๙.๒ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นผ่าน และไม่ผ่าน ถ้ากรณีที่ผ่าน กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 14. ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่อง บางประการ ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยัง มีข้อบกพร่อง ที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ ๙.๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทุกคุณลักษณะ เพื่อการเลื่อนชั้น และ จบการศึกษา เป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกาหนดเกณฑ์การตัดสิน เป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน เพื่อประโยชน์สุขของ ตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยม จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน ต่ากว่าระดับดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้ เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก ๑) ได้ผล การประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และ ไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี หรือ ๒) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรือ ๓) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน ต่ากว่าระดับผ่าน ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ สถานศึกษากาหนดโดยพิจารณาจาก ๑) ได้ผลการประเมิน ระดับผ่าน จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 15. ใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรือ ๒) ได้ผล การประเมินระดับดี จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มี คุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไข ที่สถานศึกษากาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ ๙.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดและให้ผลการประเมินเป็นผ่าน และไม่ผ่าน “ผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนด “มผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนด กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียน ทากิจกรรม ในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผล การเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้นๆ ยกเว้นมีเหตุ สุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ไม่เกิน ๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรียนที่ ๒ ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศึกษานั้น ข้อ ๑๐ การเลื่อนชั้น ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษาเมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ๑. รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียน ผ่านตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 16. ๒. ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรม ๓. พัฒนาผู้เรียน ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้ไม่ต่ากว่า ๑.๐๐ รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริม ผู้เรียนให้ได้รับ การแก้ไขในภาคเรียนถัดไป ทั้งนี้สาหรับภาคเรียนที่ ๒ ต้องดาเนินการให้ เสร็จสิ้น ภายในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย ตามที่ครูประจาวิชาแจ้ง และ เห็นว่า สามารถสอนซ่อมเสริมได้ ให้โรงเรียนใช้ดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะผ่อน ผัน ให้เลื่อนชั้นได้ ข้อ ๑๑ การสอนซ่อมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดให้โรงเรียนจัดสอน ซ่อมเสริม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะกระบวนการหรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด โรงเรียนต้องจัดสอน ซ่อม เสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนปกติ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล การสอนซ่อมเสริม สามารถดาเนินการได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการสอน ซ่อมเสริม ปรับความรู้/ทักษะพื้นฐาน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะที่กาหนดไว้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ในการประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนได้ระดับผลการเรียน”๐”ให้จัดการสอนซ่อมเสริม ก่อนสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผล การเรียน ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ข้อ ๑๒ การเรียนซ้าชั้น สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 17. ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่ สูงขึ้น โรงเรียนอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนซ้าชั้น มี ๒ ลักษณะ คือ ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ากว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่า จะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับที่สูงขึ้น ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน ในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้งสองลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้เรียนซ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิม และให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้าชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ในการแก้ไขผลการเรียน ข้อ ๑๓ ๑) ๒) ๓) ๔) ๕) ข้อ ๑๔ ๑) ๒) ๓) ๔) เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (จบการศึกษาภาคบังคับ) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนด โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่โรงเรียนกาหนด ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากาหนด เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนด โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 19. หมวด ๔ การรายงานผลการเรียน ข้อ ๑๕ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบ ความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ของผู้เรียนซึงโรงเรียนสรุปผลการประเมิน และจัดทา ่ เอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆหรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพปฏิบัติของผู้เรียนที่ สะท้อน มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑. จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรียน ๑.๑ เพื่อแจ้งให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าของผู้เรียน ๑.๒ เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม พัฒนา และการเรียนของผู้เรียน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 20. ๑.๓ เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูล ๑.๔ แนวทางการศึกษาและการเลือกอาชีพ เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องใช้ในการออก ในการวางแผนการเรียน กาหนด เอกสารหลักฐานการศึกษา ตรวจสอบและรับรองผลการเรียนหรือ วุฒิทางการศึกษาของผู้เรียน ๑.๕ เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่ การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ใช้ประกอบในการกาหนดนโยบายวางแผนใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒. ข้อมูลในการรายงานผลการเรียน ๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลามา เรียน ผลการประเมินความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมการเรียน ความประพฤติ และผลงานในการเรียน ของผู้เรียน เป็นข้อมูลสาหรับรายงาน ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครองได้รับทราบ ความก้าวหน้า ความสาเร็จในการเรียน ของผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ในการ วางแผนกาหนดเป้าหมายและวิธีการ ๒.๒ ในการพัฒนาผู้เรียน ข้อมูลระดับโรงเรียน ประกอบด้วย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รายปี/รายภาค ผลการประเมิน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 21. ความก้าวหน้าในการเรียนรู้รายภาค โดยรวมของโรงเรียน เพื่อใช้ เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการ พัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพ ของผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด การตัดสิน การเลื่อนชั้นและการซ่อมเสริมผู้เรียน ที่มีข้อบกพร่องให้ผ่านระดับชั้น และเป็นข้อมูลในการออกเอกสาร หลักฐานการศึกษา ๒.๓ ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียน ด้วยแบบประเมินที่สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาจัดทาขึ้นในกลุ่มสาระ การเรียนรู้สาคัญในระดับชั้นที่ นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและ ดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน และโรงเรียน ๒.๔ ข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมิน คุณภาพของผู้เรียนด้วยแบบประเมิน ที่เป็นมาตรฐานระดับชาติในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่สาคัญในชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ ซึ่งดาเนินการโดยหน่วยงาน ระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้อง ใช้วางแผน และดาเนินการพัฒนา คุณภาพการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้อง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 22. เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน สถานศึกษา ท้องถิ่น เขตพื้นที่ การศึกษาและประเทศชาติ รวมทั้งนาไป รายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษา ของผู้เรียน ๒.๕ ข้อมูลพัฒนาการของผู้เรียนด้านอื่นๆ ประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และพฤติกรรมต่างๆ เป็นข้อมูล ส่วนหนึ่งของการแนะนาและจัดระบบ การดูแลช่วยเหลือ เพื่อแจ้งให้ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง ได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ แต่ล่ะฝ่ายนาไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการ อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนาไป จัดทาเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการ ของผู้เรียน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 24. หมวด ๕ เอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อ ๑๖ ให้มีการจัดหาและจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา ดังต่อไปนี้ ๑๖.๑ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ประกอบด้วย ๑) ระเบียนแสดงผลการเรียน (transcript) (ปพ.๑ : ปพ๑ : บ, ปพ ๑ : พ) ใช้เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียนของผู้เรียนตามสาระ การเรียนรู้กลุ่มวิชาและ กิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้เรียนในแต่ละช่วงชั้นของหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเร็จใน การศึกษาของผู้เรียน แต่ละคน และใช้เป็นหลักฐานในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเข้าทางาน หรือดาเนินการในเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อกาหนด เอกสารดังนี้ (๑) โรงเรียนจัดทาระเบียนแสดงผลการเรียนของ ผู้เรียน ตามรูปแบบ ที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ตามคาสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 25. ที่ ๖๑๖/๒๕๕๒ โรงเรียนจัดทาต้นฉบับ ระเบียนแสดงผลการเรียน ของนักเรียนทุกคน เก็บรักษาไว้ตลอดไปและ ระมัดระวังดูแลรักษา ไม่ให้ชารุดเสียหาย สูญหายหรือมีการ เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลเป็นอันขาด เพื่อความสะดวกในการค้นหาข้อมูล โรงเรียน อาจเก็บข้อมูล ในเอกสารนี้ ในรูปของ CD-ROM หรือเทคโนโลยีอื่นๆ โรงเรียนจัดทาระเบียนแสดง ผลการเรียนเมื่อผู้เรียนสาเร็จการศึกษาแต่ละ ช่วงชั้นให้แก่ผู้เรียน โดยคัดลอกข้อมูล จากต้นฉบับที่โรงเรียนจัดทา กรณีผู้เรียนย้ายสถานศึกษา โรงเรียนจะต้องจัดทาระเบียนแสดงผลการ เรียนของนักเรียนในช่วงชั้น ที่กาลังศึกษาอยู่ โดยคัดลอกข้อมูลจาก ต้นฉบับที่เป็นปัจจุบันให้ถูกต้อง สมบูรณ์ ให้ผู้เรียนนาไปเป็นหลักฐานการ สมัครเข้าเรียนที่สถานศึกษาใหม่ - กรณีผู้เรียนรับระเบียนแสดงผลการ เรียนของนักเรียนของตนเองไปแล้ว เกิดการชารุดสูญหาย และผู้เรียนต้องการ เอกสารฉบับใหม่ให้โรงเรียน ออกเอกสารฉบับใหม่แก่ผู้เรียนโดยคัดลอกหรือ ถ่ายสาเนาจากต้นฉบับ เอกสารที่จัดเก็บรักษาไว้กรณีผู้เรียนต้องการ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นภาษาอังกฤษ ให้ออกเอกสารตามข้อมูล เดิมของต้นฉบับเอกสาร ด้วยภาษาอังกฤษ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 26. - กรณีต้นฉบับเอกสารเกิดการสูญหาย ให้แจ้งยกเลิกการใช้เอกสาร ระเบียนแสดงผลการเรียน ตามลาดับขั้นตอน ตามคาสั่ง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๖๑๖/๒๕๕๒ ๒) หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร ) (ปพ.๒ บ และ ๒ พ) เป็นเอกสารที่โรงเรียนออกให้กับผู้สาเร็จการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี และผู้สาเร็จ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อแสดงศักดิ์และสิทธิ์ของ ผู้สาเร็จการศึกษา และรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียนให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็น หลักฐานแสดง (๑) ระดับวุฒิการศึกษาของตน ข้อกาหนดเอกสารมีดังนี้ เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาเป็น (๒) เป็นเอกสารที่ออกให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรการศึกษา รายบุคคล ภาคบังคับ ๙ ปี (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) และผู้สาเร็จการศึกษา หลักสูตรการศึกษา (๓) ขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖) กรณีผู้เรียนรับเอกสารไปแล้ว ถ้าผู้เรียนมีความประสงค์ขอรับ เอกสาร นี้ใหม่ โรงเรียนออกเป็นใบแทนให้ โดยใบแทนจะมี ลักษณะ (๔) แตกต่างจากเอกสารจริง โรงเรียนใช้แบบพิมพ์เอกสารตามรูปแบบที่กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๖๑๗/ ๒๕๕๒ เรื่อง การจัดทาใบประกาศนียบัตร ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 27. ๓) แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นเอกสารรายงานรายชื่อและข้อมูลของ ผู้สาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในแต่ละระดับการศึกษา เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยัน และรับรองความสาเร็จและวุฒิ การศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละคนต่อ เขตพื้นที่การศึกษาและกระทรวง ศึกษาธิการ ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้ (๑) เป็นเอกสารสาหรับรายงาน รายชื่อและข้อมูลผู้สาเร็จ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ต่อหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ คือ สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ (๒) โรงเรียนใช้แบบพิมพ์เอกสารตามรูปแบบ ที่ กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด ตามคาสั่ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๖๑๘/๒๕๕๒ เรื่อง การจัดทาแบบรายงานผู้สาเร็จ การศึกษา ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒ (๓) โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทา แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นครั้งคราวไป เป็นผู้ช่วยนาย ทะเบียน จัดทาเอกสารนี้ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓, ๖ จัดทาจานวน ๓ ชุด เก็บรักษาที่สถานศึกษา ๑ ชุด ที่สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ๑ ชุด และกระทรวงศึกษาธิการอีก ๑ ชุด ชุดที่เก็บ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 28. รักษาไว้ที่กระทรวงศึกษาธิการถือเป็นเอกสารต้นฉบับ (๔) โรงเรียนและหน่วยงานที่เก็บรักษาเอกสาร จะต้องดูแลรักษาเอกสารนี้ อย่าให้ชารุดเสียหาย สูญ หายหรือข้อมูลถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขเป็นอันขาด และต้องเก็บรักษาไว้ใน สถานที่ที่มีความปลอดภัยไว้ตลอดไป เพื่อความ สะดวก ในการค้นหาข้อมูล โรงเรียนอาจเก็บข้อมูลในเอกสารนี้ไว้ ในรูปของ CD-ROM หรือ เทคโนโลยีอื่นใดอีกทางหนึ่งได้ (๕) โรงเรียนจัดส่งเอกสารที่จัดทา เรียบร้อยแล้ว ไปให้หน่วยงานที่กาหนด ภายในเวลา ๓๐ วัน หลังจากผู้เรียน ได้รับการอนุมัติให้สาเร็จการศึกษา ๑๖.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนกาหนด ๔) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา (ปพ.๕) เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูล ผลการวัดและ ประเมินผล การเรียนและข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนแต่ ละคน ที่เรียนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการ เรียน การสอน ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งใช้ เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการเรียน การมีส่วนร่วมใน กิจกรรม ต่างๆ และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนแต่ละคน ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้ (๑) ใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนและ ข้อมูล พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทั้งห้องหรือกลุ่มที่ เรียน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 29. (๒) พร้อมกัน โดยบันทึกเป็นรายบุคคล ข้อมูลที่จะบันทึกในเอกสารอย่างน้อยควรมีดังนี้ (๒.๑) ข้อมูลของโรงเรียน (๒.๒) ชื่อ- ชื่อสกุลผู้สอนหรือที่ปรึกษา (๒.๓) ชื่อ – ชื่อสกุลและเลขประจาตัวประชาชนของ ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ในห้องหรือกลุ่มที่เรียนร่วมกัน (๒.๔) ลักษณะการใช้เวลาในการเข้าเรียน หรือร่วม กิจกรรมการเรียน ของผู้เรียนในช่วงเวลาที่โรงเรียน กาหนดให้ เป็นเวลาเรียน จาแนกเป็น เวลามา มาสาย ป่วย ลา ขาด (๒.๕) สรุปรวมเวลาเรียนของผู้เรียนแต่ละคน (๒.๖) เวลาเรียนของแต่ละคน คิดเป็นร้อยละของ เวลาเรียนเต็ม (๒.๗) รายการประเมินตามตัวชี้วัดรายภาค(ตาม ระดับชั้น ที่ใช้เอกสาร) (๒.๘) ระดับผลการเรียน (๒.๙) เกณฑ์การประเมินให้ระดับผลการเรียน (๒.๑๐) ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ระหว่างเรียนปลายภาค (๒.๑๑) ผลการตัดสินและอนุมัติผลการเรียน (๒.๑๒) รายการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา (๒.๑๓) เกณฑ์หรือข้อบ่งชี้ในการประเมิน (๒.๑๔) ของโรงเรียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง (๒.๑๕) ผลการประเมินการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประสงค์ของโรงเรียน อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน (๓) ลักษณะการบันทึกข้อมูล สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 30. (๓.๑) การบันทึกเวลาเรียนตามลักษณะเวลาเรียนของแต่ละ รายวิชา โดยบันทึกเวลาเรียนของผู้เรียนทั้งห้องหรือกลุ่มตลอด การเรียน ในแต่ละรายวิชา (๓.๒) การบันทึกข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ให้ บันทึก คะแนนและข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนเป็น รายวิชา โดยบันทึกข้อมูลของทุกคนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันไว้ ใน เล่มเดียวกันให้เสร็จสมบูรณ์ในแต่ละรายวิชา (๓.๓) การบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้บันทึก ผลการประเมินผู้เรียนทุกคนในห้องหรือกลุ่มเดียวกัน จากผู้ประเมิน ทุกฝ่ายแต่ละภาคไว้ในเอกสารเล่ม เดียวกัน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้บันทึกผลการประเมินอาจ บันทึก เป็นคะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินแต่ละ ประเภท หรือบันทึกเป็นเส้นพัฒนาการ (Profile) หรือคา บรรยายสภาพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละประการได้ (๓.๔) การบันทึกผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ให้บันทึกผลการประเมินผู้เรียนทุกคนในห้อง หรือ กลุ่มเดียวกันจากผู้ประเมินที่โรงเรียนกาหนดไว้ใน เอกสาร เล่มเดียวกัน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้บันทึก สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 31. (๓.๕) การออกแบบและจัดทาเอกสาร สถานศึกษาเป็น ผู้ออกแบบ การจัดทาเอกสารโดยคานึงถึงความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ของข้อมูล ความสะดวก ชัดเจนในการบันทึกข้อมูล และการนา เอกสารไปใช้เป็นสาคัญ โรงเรียนอาจออกแบบให้ บันทึกข้อมูล ในข้อ (๓.๑) , (๓.๒), (๓.๓ ) ไว้ในเล่มเดียวกันก็ได้ (๓.๖) กรณีผู้เรียนย้ายโรงเรียนระหว่างปี หรือย้ายโรงเรียน ระหว่างภาคโรงเรียนจัดทาใบแจ้งจานวนเวลาเรียน ข้อมูล ผลการเรียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผล การประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน ของผู้เรียนในปีหรือภาคเรียนที่กาลังเรียนโดยคัดลอก เอกสารนี้ ให้ผู้เรียนนาไปให้โรงเรียนที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อใช้ เป็นข้อมูล สาหรับรวมกับข้อมูลที่จะเกิดในโรงเรียนใหม่ เป็น ข้อมูล ผลการพัฒนาของผู้เรียนต่อไป (๓.๗) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เมื่อใช้กรอก ข้อมูลแล้ว สถานศึกษาจะต้องเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานสาหรับการ ตรวจสอบ ๕) เป็นเวลาอย่างน้อย ๑๐ ปี แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล(ปพ.๖) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน พัฒนาการในด้านต่าง ๆ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 32. และข้อมูลอื่น ๆ ของผู้เรียน ทั้งที่โรงเรียนหรือที่บ้าน เพื่อใช้สาหรับสื่อสาร สาหรับโรงเรียนกับผู้ปกครองของผู้เรียนให้รับทราบและ เกิดความเข้าใจ ในตัวผู้เรียนร่วมกัน ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังนี้ (๑) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน รายบุคคล (๒) ข้อมูลที่บันทึกในเอกสารอย่างน้อยควรมีดังนี้ (๒.๑) ข้อมูลส่วนตัวผู้เรียน และเลขประจาตัวประชาชนของผู้เรียน (๒.๒) เวลาเรียน (๒.๓) การวัดและประเมินผลการเรียน และการตัดสินผลการเรียน (๒.๔) ผลงานหรือความสาเร็จที่น่าภาคภูมิใจ (เป็นการนารายชื่อ ผลงานดีเด่นของผู้เรียนทั้งที่เกิดจากการเรียนโดยตรง และเกิด จาก การดาเนินงานส่วนตัวมาบันทึกไว้ปีละ ๑ – ๒ ชิ้น โดยผู้เรียน เป็นผู้กรอกแล้วให้ผู้ปกครองและสถานศึกษารับรองและ แสดงความเห็นต่อผลงานแต่ละชิ้น) (๒.๕) ความเห็นของโรงเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อผู้เรียนเกี่ยวกับ ผลการเรียน (๒.๖) รายการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา (๒.๗) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละประการ อาจรายงานผลการประเมินเป็นเส้นพัฒนาการ (Profile) หรือคาบรรยายสรุปสภาพคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ (๒.๘) รายการกิจกรรมและผลการประเมินกิจกรรม (๒.๙) ผลการประเมินความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน (๒.๑๐) รูปถ่ายนักเรียน (๒.๑๑) ลายมือชื่อของผู้จัดทาเอกสาร (๒.๑๒) ลายมือชื่อของหัวหน้าสถานศึกษา และประทับตรา โรงเรียน (๓) (๒.๑๓) วัน เดือน ปี ที่รายงานข้อมูล (๒.๑๔) ข้อมูลอื่นที่โรงเรียนเห็นสมควรนามาบันทึกไว้ โรงเรียนเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสารนี้ใช้เองให้เหมาะสม สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 33. (๔) กับโรงเรียนของตน โรงเรียนจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบน และส่งเอกสารนี้ ั ให้ผู้ปกครองของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการบันทึกข้อมูลใหม่ ๆ ไม่ควรน้อยกว่าภาคเรียนละ ๑ ครั้งหรือปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง (๕) กรณีผู้เรียนย้ายโรงเรียน ให้ผู้เรียนนาเอกสาร รายงานผลการพัฒนา ๑) ๒) ๖) ผู้เรียนรายบุคคล ฉบับที่กาลังใช้อยู่ไปให้โรงเรียนแห่งใหม่ เพื่อใช้ดุลยพินิจว่าจะใช้ เอกสารฉบับเดิมต่อไป หรือจัดทาเอกสารใหม่ ถ้าโรงเรียน แห่งใหม่จะจัดทาเอกสารใหม่ เมื่อคัดลอกข้อมูลจากเอกสารเดิม ลงในเอกสารใหม่แล้วให้คืนเอกสารเดิมแก่ผู้เรียนนาไปเก็บรักษาไว้ ให้ผู้เรียนเก็บสะสมเอกสารนี้ไว้ให้ครบถ้วนตลอดเวลาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใบรับรองผลการเรียน (ปพ.๗) เป็นเอกสารที่โรงเรียนออกให้กับผู้เรียนเป็นการเฉพาะ กิจ เพื่อรับรอง สถานภาพทาง การศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว ทั้งกรณีผู้เรียน ยังไม่สาเร็จการศึกษา และสาเร็จการศึกษาแล้ว ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังนี้ (๑) เป็นเอกสารรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว ที่สถานศึกษาออกให้แก่ผู้เรียน เพื่อนาไปใช้แทนระเบียนแสดง ผลการเรียน แบบแสดงพัฒนาการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือ หลักฐานแสดงวุฒิทางการศึกษาในการสมัครสอบ สมัครงานหรือศึกษา ต่อ (๒) เป็นเอกสารที่โรงเรียนสามารถออกให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น (๓) ข้อมูลที่จะบันทึกในเอกสาร มีดังนี้ ๓.๒ ๓.๑ ชื่อสโรงเรียน และสถานที่ตั้ง ชื่อ -ชื่อสกุล ผู้เรียน เลขประจาตัวนักเรียน และ เลขประจาตัวประชาชน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 34. ๓.๓ ๓.๔ ๓.๕ ๓.๖ ๓.๗ สถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียน ที่โรงเรียนห้การรับรอง วัน เดือน ปี ที่ออกเอกสาร รูปถ่ายของผู้เรียน ลายมือชื่อผู้จัดทาเอกสาร ลายมือชื่อผู้บริหารโรงเรียน (๔) โรงเรียนเป็นผู้ออกแบบ จัดทาและควบคุม การออกเอกสารเอง ใบรับรองผลการเรียน มีช่วง ระยะเวลารับรอง ๖๐ วัน ๗. ระเบียนสะสม (ปพ.๘) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการ และผลงานด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน เพื่อประโยชน์ใน การแนะแนวผู้เรียน (๑) (๒) (๓) (๔) ในทุก ๆ ด้าน ข้อกาหนดของเอกสารมีดังนี้ มีรายการสาหรับบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาการของผู้เรียน ในด้านต่าง ๆ เป็นรายบุคคล สถานศึกษาเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสารให้เหมาะสมกับสถานศึกษา ของตน และให้มีความคงทนสามารถเก็บรักษาและใช้ต่อเนื่องได้ตลอด ๖ ปี สาหรับระดับประถมศึกษาและ ๓ ปี สาหรับระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นเอกสารที่ผู้เรียนใช้ต่อเนื่องกันได้ตลอด ๖ ปี และ ๓ ปี ทั้งกรณีศึกษา ในสถานศึกษาเดียวกันหรือย้ายโรงเรียนหรือเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน ข้อมูลบางอย่าง อาจให้ผู้ปกครองเป็นผู้กรอก หรือให้ความเห็น หรือได้รับทราบด้วยได้ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 36. หมวด ๖ การเทียบโอนผลการเรียน ข้อ ๑๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากโรงเรียนได้ในกรณีต่างๆ ได้แก่ การ ย้ายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้าศึกษา ต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ ข้อ ๑๘ ให้สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถาน ประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว ข้อ ๑๙ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียนที่ สถานศึกษา รับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน การรับเทียบโอนกาหนดให้ ผู้เรียนที่ได้รับการ เทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในโรงเรียนที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โรงเรียนกาหนดรายวิชา จานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม ข้อ ๒๐ การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ดังนี้ ๒๐.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของนักเรียน เช่น ระเบียนแสดงผลการเรียน สมุดรายงาน ผลการเรียน ฯ ๒๐.๒ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรง โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ ๒๐.๓ พิจารณาจากความสามารถ และการปฏิบัติจริง ๒๐.๔ ในกรณีมีเหตุผลจาเป็นระหว่างเรียน ข้อ ๒๑ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน จานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน แต่ไม่ควรเกิน ๕ คน การเทียบโอนให้ดาเนินการดังนี้ ๒๑.๑ กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นารายวิชาหรือหน่วยกิต ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/คาอธิบาย รายวิชา/ เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผลการเรียน และพิจารณาให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับย้าย ๒๑.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจาก เอกสาร หลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย และให้ระดับ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 37. ผลการเรียนที่สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน ๒๑.๓ กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ ดาเนินการ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักการและแนว ปฏิบัติการเทียบชั้น สาหรับนักเรียนที่เข้าโครงการแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม หลักการและแนวทาง การเทียบโอนผลการเรียน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเทียบโอน ผลการเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ากว่า ปริญญา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และ แนว ปฏิบัติที่เกี่ยวกับ การเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สิงหาคม ๒๕๔๙) สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 38. บทเฉพาะกาล บทเฉพาะกาล ข้อ ๒๒ สถานศึกษา ให้ใช้ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร โรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับผู้เรียนในหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ของโรงเรียนภัทรบพิตร ระดับชั้นปีที่เรียน ดังต่อไปนี้ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒
  • 39. - ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๒ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ใช้ในทุกชั้นเรียน ข้อ ๒๓ ให้ใช้ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตร ว่าด้วย การประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภัทรบพิตร พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ควบคู่กับแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ ๒๔ การเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพิ่มเติมระเบียบนี้ ต้องได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา แล้วเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียน เพื่อประกาศใช้ต่อไป ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ( นายกิตติศักดิ์ วิทยเดช ) ผู้อานวยการโรงเรียนภัทรบพิตร สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓๒