SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
Download to read offline
3
1
7

?
L

N R
+
นิยามความสามารถของผู้เรียน
ด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
(Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities)

โครงการประกันคุณภาพการศึกษาและ



การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นิยามความสามารถของผู้เรียน
ด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
(Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities)
โครงการประกันคุณภาพการศึกษาและ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
พิมพ์ครั้งที่ ๑		
จำนวน	
	
จัดพิมพ์โดย	 	

	

พิมพ์ที่	
	
	
	

	

พ.ศ. ๒๕๕๖
๒๐๐,๐๐๐ เล่ม

สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
คำนำ
	
การประเมินคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของการประกัน	
คุณภาพการศึกษา ผลการประเมินผู้เรียนเป็นสิ่งสะท้อนว่าการจัดการเรียนรู	
้
ในสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑	
บรรลุผลสำเร็จอยู่ในระดับใด กล่าวคือ ภาพรวมความสำเร็จของผู้เรียน มีความ	
สามารถเป็นที่น่าพึงพอใจในด้านใด และควรเร่งพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ	
หรือสมรรถนะของผูเ้ รียนในด้านใดบ้าง  ในช่วง ๒-๓ ปีทผานมา สำนักงานคณะกรรมการ	
่ี ่
การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกำหนดจุดเน้นการพัฒนาที่เกี่ยวกับคุณภาพผู้เรียนในเรื่อง	
สำคัญอันดับแรก คือ การพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่าน การเขียน	
การคิดเลขเป็น รวมทั้งทักษะการคิดขั้นพื้นฐานในแต่ละช่วงชั้น โดยช่วงชั้นที่ ๑	
(ป.๑-๓) เน้นการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-๖) เน้น	
การอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ด้วยเหตุนี้สำนักงานคณะกรรมการ	
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีนโยบายให้ประเมินความสามารถพื้นฐานที่จำเป็น	
๓ ด้าน ได้แก่ ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล	
(Reasoning Abilities) ซึ ่ ง เป็ น ความสามารถเบื ้ อ งต้ น ของทั ก ษะการคิ ด	
และสอดคล้องกับกระแสการพัฒนาการศึกษาของนานาอารยประเทศ ดังนั้น	
เพื่อให้การประเมินและการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน	
เข้าใจตรงกัน สำนักทดสอบทางการศึกษาจึงกำหนดนิยามความสามารถทั้ง ๓ ด้าน	
เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ	
รวมทั ้ ง สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการสอน	
ในสถานศึกษาด้วย
สำนั ก ทดสอบทางการศึ ก ษา สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา	
ขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และหวังเป็นอย่างยิ่ง	
ว่านิยามความสามารถของผูเ้ รียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล (Literacy,
Numeracy & Reasoning Abilities) ฉบับนี้ จะเกิดประโยชน์กับการพัฒนา	
คุณภาพผู้เรียนต่อไป
				
				

สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน
้ ้
สารบัญ
คำนำ
บทนำ	 	
■	 นิยามความสามารถด้านภาษา (Literacy)	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๑	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๒	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๓	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๔	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๕	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๖	
	
■	 ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านภาษา	
■	 นิยามความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy)	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๑	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๒	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๓	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๔	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๕	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๖	
	
■	 ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านคำนวณ	
■	 นิยามความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Abilities)	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓	
	
■	 ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖	
	
■	 ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านเหตุผล	
■	 ภาคผนวก	

หน้า
๑
๕
๗
๘
๙
๑๐
๑๒
๑๔
๑๗
๒๔
๒๕
๒๗
๓๐
๓๓
๓๖
๓๙
๔๒
๕๐
๕๒
๕๓
๕๖
๖๓
บทนำ

	 ป

ระเทศต่าง ๆ ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้าน	
เทคโนโลยีการสื่อสารและการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ล้วนเป็น	
ประเทศที่ให้ความสำคัญกับการอ่านรู้เรื่องและการคิดคำนวณ (Literacy &
Numeracy) ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของทักษะการคิดพื้นฐานและการคิดขั้นสูง	
ผลเชิ ง ประจั ก ษ์ เ ห็ น ได้ จ ากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู ้ เรี ย นระดั บ นานาชาติ	
ที่ยอมรับกันทั่วโลกคือ ผลการประเมิน PISA (Programme of International	
Student Assessment) ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ อีกทั้งร้อยละของผู้เรียน	
ที่มีคุณภาพระดับสูง (ระดับ ๕ และระดับ ๖) มีจำนวนร้อยละ ๓๕ ขึ้นไป เช่น	
ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป็นต้น ซึงประเทศเหล่านีลวนประเมิน	
่
้้
การอ่านรู้เรื่องและการคิดคำนวณ (Literacy & Numeracy) ในการประเมินคุณภาพ	
การศึกษาระดับชาติ สำหรับประเทศไทยมีค่าเฉลี่ยผลการประเมิน PISA ต่ำกว่า	
ระดับนานาชาติมากถึงขั้นอยู่ในลำดับเกือบรั้งท้าย และมีร้อยละของผู้เรียนที่ม	
ี
คุณภาพระดับสูงอยู่เพียงร้อยละ ๐.๐๒–๐.๐๓ นอกจากนี้บางประเทศ เช่น	
ประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ให้ความสำคัญกับการอ่านรู้เรื่อง และ	
การคิ ด คำนวณ (Literacy & Numeracy) มากยิ ่ ง ขึ ้ น โดยกำหนดให้ ใช้	
ผลการประเมินดังกล่าวมาเป็นเกณฑ์การจบการศึกษาด้วย
	
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการประเมินคุณภาพผู้เรียนที	
่
มุ่งเน้นการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) จากการทดสอบ	
ระดับชาติชั้นปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้น (ป.๓, ป.๖, ม.๓ และ ม.๖) ซึ่ง	
ผลการประเมินในภาพรวมระดับประเทศมีค่าเฉลี่ยยังไม่ถึงร้อยละ ๕๐ บางกลุ่ม	
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities
สาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ ๒๕ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้	
ไม่ถึง ๑ ใน ๔ ของความรู้ที่เรียนมา ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหา	
ในการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ซึ่งเป็นพื้นฐาน	
ของการคิดขันสูง เห็นได้จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบรายข้อทีวดทักษะการคิด	
้
่ั
หรือการให้เขียนแสดงเหตุผลหรือความคิดเห็น มีผู้เรียนจำนวนน้อยที่ตอบถูก	
ดั ง นั ้ น สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หา	
ดั ง กล่ า ว จึ ง มี น โยบายให้ เ ปลี ่ ย นการประเมิ น ที ่ ม ุ ่ ง เน้ น ผลสั ม ฤทธิ ์ ม าเป็ น	
การประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy)	
และด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) ซึงเริมประเมิน ในระดับชันประถมศึกษา	
่ ่
้
ปีที่ ๓ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นมา โดยสำนักทดสอบทางการศึกษา	
ในฐานะหน่ ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ ชาติ	
ได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารผ่านเว็บไซต์ของประเทศที่มีการประเมินด้านเหล่านี	
้
พบว่า ด้าน Literacy มีการนิยามที่แตกต่างกันไป อาทิ York Region District	
ให้ความหมาย Literacy ว่าหมายถึง การพัฒนาทักษะ ความรู้ และทัศนคติ	
อย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมผู้เรียนให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลง	
อย่างรวดเร็วได้ และต้องเริ่มต้นสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องในทักษะการอ่าน	
การเขียน การฟัง การพูด การแสดงความคิดเห็น การสะท้อนความคิด การแสดงออก	
รวมถึงการมีความรู้ด้านคำนวณด้วย กล่าวได้ว่า ผู้เรียนต้องมีความสามารถ	
ในการเข้ า ใจ คิ ด ประยุ ก ต์ ใช้ และการสื ่ อ สารอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในทุ ก	
กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ยูเนสโก (๒๐๐๓-๒๐๑๒)	
ให้ความหมาย Literacy ว่าเป็นมากกว่าการอ่านและการเขียน แต่หมายถึง	
วิธีการสื่อสารกันในสังคม สร้างความสัมพันธ์และการปฏิบัติดีต่อกันทั้งในด้าน	
ความรู้ ภาษา และวัฒนธรรม การรู้เรื่องเกิดขึ้นในทุกหนทุกแห่งที่เราต้องสื่อสาร	
กับผู้คน เราสามารถมองเห็นได้ทั่วไปทั้งในเอกสาร โทรทัศน์ หน้าจอคอมพิวเตอร์	


นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
หรื อ แม้ แ ต่ โ ปสเตอร์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ข ่ า วสารต่ า ง ๆ ส่ ว นความหมายของ	
Numeracy แต่ละแห่งก็แตกต่างกันบ้าง เช่น หมายถึงความสามารถในการ	
แก้ปญหาทีเ่ กียวกับตัวเลข ความสามารถในการใช้เหตุผล และนำความคิดรวบยอด	
ั
่
เกี่ยวกับจำนวนไปใช้ในชีวิตได้ ส่วนประเทศออสเตรเลียระบุไว้ในหลักสูตรว่า	
Numeracy เกี่ยวข้องกับการใช้ความคิดทางคณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ	
ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความเข้าใจแนวคิดทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย เทคนิควิธี	
การเชื่อมโยงความรู้กับบริบทและสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจเมื่อจำเป็น	
ต้องใช้คณิตศาสตร์ รวมถึงการเลือกใช้คณิตศาสตร์ในการประเมินสิงต่าง ๆ เป็นต้น	
่
ส่วนใหญ่ Literacy และ Numeracy มักถูกจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และประเมิน	
ควบคู่กันไป
	
สำหรับการประเมินความสามารถด้านเหตุผลของผู้เรียนนั้น สืบเนื่อง	
จากผลการประเมินหลายแหล่งและกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าเด็กไทยควรได้รับ	
การพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการให้เหตุผล สำนักงาน	
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกำหนดนโยบายให้ประเมินความสามารถ	
ด้านเหตุผลของผู้เรียนด้วย โดยใช้บริบทหรือสถานการณ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์	
และสิ่งแวดล้อม สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งด้านการดำเนินชีวิต
	
จากนโยบายดั ง กล่ า ว สำนั ก ทดสอบทางการศึ ก ษา สำนั ก งาน	
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนดนิยามความสามารถของผู้เรียน	
ทั้ง ๓ ด้าน โดยระดมสมองจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รู้ และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อาทิ	
อาจารย์จากมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่ง สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ	
(องค์การมหาชน) ศึกษานิเทศก์จากเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร ครูอาจารย์	
และนักวิชาการศึกษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนได้ข้อสรุปนิยามทั้ง ๓ ด้าน
ซึ่งจะได้นำเสนอในลำดับต่อไป
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
สำหรั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาตามนโยบายดั ง กล่ า ว	
สำนักทดสอบทางการศึกษาได้สร้างเครืองมือประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ	
่
ตามนิยามทั้ง ๓ ด้านนั้น ในเบื้องต้นนี้เน้นการอ่านและเขียนรู้เรื่องในบริบท	
และสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม นิยามดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการจัด	
การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้งด้านการฟัง การดู การพูด การแสดงออกในด้านต่าง ๆ	
ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาโดยรอบด้าน



นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
นิยามความสามารถด้านภาษา
Literacy

	 ค

วามสามารถด้านภาษา (Literacy) เป็นความสามารถพื้นฐาน	
ที่สำคัญและจำเป็นต่อการเรียนรู้ที่สำนักงานคณะกรรมการ	
การศึกษาขันพืนฐานให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกในการทีจะใช้ประเมินคุณภาพ	
้ ้
่
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกำหนดนิยามไว้ดังนี้
❖

นิยาม

	
ความสามารถด้ า นภาษา (Literacy) หมายถึ ง ความสามารถ	
ในการอ่าน การฟัง การดู การพูด เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญ	
ประเมิ น สิ ่ ง ที ่ อ ่ า น ฟั ง ดู จากสื ่ อ ประเภทต่ า ง ๆ และสื ่ อ สารด้ ว ยการพู ด	
การเขียน ได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อการนำไปใช้	
ในชีวิตประจำวัน การอยู่ร่วมกันในสังคม และการศึกษาตลอดชีวิต
❖

คำสำคัญ (Keywords) 

	
๑.	 รู ้ หมายถึ ง สามารถบอกความหมาย เรื ่ อ งราว ข้ อ เท็ จ จริ ง 	
และเหตุการณ์ต่าง ๆ
	
๒. เข้ า ใจ หมายถึ ง สามารถแปลความ ตี ค วาม ขยายความ 	
และอ้างอิง
	
๓.	 วิ เ คราะห์ หมายถึ ง สามารถแยกแยะโครงสร้ า ง เรื ่ อ งราว 	
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เหตุผล และคุณค่า
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
๔.	 สรุปสาระสำคัญ หมายถึง สามารถสรุปใจความสำคัญของเรื่อง	
ได้อย่างครอบคลุม
	
๕.	 ประเมิน หมายถึง สามารถตัดสินความถูกต้อง ความชัดเจน
ความเหมาะสม คุณค่า อย่างมีหลักเกณฑ์
	
๖. 	สื่อประเภทต่าง ๆ หมายถึง สิ่งที่นำเสนอเรื่องราวและข้อมูล	
ความรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อของจริง
	
๗.	 สือสาร หมายถึง สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด	
่
จากการอ่าน ฟังและดู โดยการพูดหรือเขียนอธิบาย วิเคราะห์ สรุปหรือประเมิน
	
๘. 	สร้างสรรค์ หมายถึง สามารถสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เรื่องราว
ทัศนะและความคิดที่แปลกใหม่จากการอ่าน การฟัง และการดู เป็นคำพูด
การเขียน หรือการกระทำได้อย่างหลากหลายและมีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น
	
๙.	 การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน การอยู่ร่วมกันในสังคม และ
การศึกษาตลอดชีวิต หมายถึง ความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจ	
การวิเคราะห์ การสรุปสาระสำคัญนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา	
การตัดสินใจในการดำเนินชีวิต การอยู่ร่วมกับผู้อื่น และการพัฒนาตนเอง	
อย่างต่อเนื่อง



นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับความสามารถชั้นปี
	
	
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย 	
๑.	บอกความหมาย
ปีที่ ๑
เล่าเรื่องราวจากสิ่งที่ฟัง ดู และอ่าน 	 เล่าเรื่องราว หมายถึง
คาดคะเนเหตุการณ์จากการฟัง ดู
สามารถแสดงความรู	
้
อ่าน และสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ	 ความเข้าใจเกี่ยวกับ	
ด้วยคำและประโยคง่าย ๆ
ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์	
หรือเครื่องหมาย เรื่องราว 	
ตัวชี้วัด
ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู	
๑.	บอกความหมายของคำ	
และอ่านในชีวิตประจำวัน
และประโยค
ตอบคำถามด้วยการพูด	
๒.	บอกความหมายของเครื่องหมาย	 เขียนหรือด้วยวิธีการ	
สัญลักษณ์
สื่อสารอื่น ๆ
๓. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู
ที่เหมาะสมกับวัย
๒.	คาดคะเนเหตุการณ์ 	
และอ่าน
๔.	คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น	
หมายถึง สามารถ	
จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน
คาดเดาเหตุการณ์	
๕.	สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ	
ที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้	
ด้วยคำและประโยคง่าย ๆ 	
ความรู้ ความเข้าใจ
จากการฟัง ดู และอ่าน	
จากประสบการณ์	
ได้อย่างสมเหตุสมผล
๓.	สื่อสาร หมายถึง
สามารถใช้ภาษาง่าย ๆ 	
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

	

แสดงความรู้ ความเข้าใจ
ในเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน

ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย เล่าเรื่องราว 	 ๑.	บอกความหมาย
ปีที่ ๒
และคาดคะเนเหตุการณ์ สื่อสาร	
เล่าเรื่องราว หมายถึง
ความรู้ ความเข้าใจ และข้อคิดเห็น	
สามารถแสดงความรู	
้
ง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน	
ความเข้าใจเกี่ยวกับ	
ได้อย่างเหมาะสม
ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์
หรือเครื่องหมาย เรื่องราว
ตัวชี้วัด
ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู	
๑.	บอกความหมายของคำ	
และอ่านในชีวิตประจำวัน 	
และประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู 	
ตอบคำถามด้วยการพูด 	
และอ่าน
เขียน หรือด้วยวิธีการ	
๒.	บอกความหมายของเครื่องหมาย	 สื่อสารอื่น ๆ
สัญลักษณ์
ที่เหมาะสมกับวัย
๓.	ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู 	 ๒.	คาดคะเนเหตุการณ์
หมายถึง สามารถ	
และอ่าน
๔.	คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น 	 คาดเดาเหตุการณ์	
จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน
ที่จะเกิดขึ้น โดยใช้	
๕.	สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ และ	
ความรู้ ความเข้าใจ	
ข้อคิดเห็นง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง ดู
จากการฟัง ดู อ่าน และ	
และอ่านเป็นถ้อยคำและเขียน	
จากประสบการณ์	
สื่อสารเป็นประโยคง่าย ๆ ได้
ได้อย่างสมเหตุสมผล


นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

	

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

๓.	สื่อสาร หมายถึง
สามารถใช้ภาษาพูด	
เขียนง่าย ๆ แสดงความรู	
้
ความเข้าใจ และ	
ความคิดเห็นในเรื่อง	
ที่ฟัง ดู และอ่านได้

ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย เล่าเรื่องราว 	 ๑.	บอกความหมาย
ปีที่ ๓
ย่อเรื่อง และคาดคะเนเหตุการณ์	
เล่าเรื่องราว หมายถึง
สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ 	
สามารถแสดงความรู	
้
และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู 	
ความเข้าใจเกี่ยวกับ	
และอ่านได้อย่างเหมาะสม
ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์
หรือเครื่องหมาย เรื่องราว	
ตัวชี้วัด
ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู	
๑.	บอกความหมายของคำ	
และอ่านในชีวิตประจำวัน
และประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู
ตอบคำถามด้วยการพูด	
และอ่าน
เขียน หรือด้วยวิธีการ	
๒. 	 อกความหมายของเครื่องหมาย	 สื่อสารอื่น ๆ
บ
สัญลักษณ์
ที่เหมาะสมกับวัย
๓.	ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู	
๒.	ย่อเรื่อง หมายถึง
และอ่าน
สามารถบอก เล่าเรื่องราว	
๔.	บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง	 ที่ฟัง ดู และอ่าน อย่างสั้น ๆ
ดู และอ่านอย่างง่าย ๆ
ได้ใจความ
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

	

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

๕.	คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น	 ๓.	คาดคะเนเหตุการณ์
หมายถึง สามารถ	
จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน
๖.	สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ	
คาดเดาเหตุการณ์	
ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู และ	 ที่จะเกิดขึ้น โดยใช้	
อ่าน อย่างเหมาะสม
ความรู้ ความเข้าใจ	
จากการฟัง ดู และอ่าน	
จากประสบการณ์	
ได้อย่างสมเหตุสมผล
๔.	สื่อสาร หมายถึง	
สามารถใช้ภาษาพูด	
เขียน แสดงความรู	
้
ความคิดเห็นในเรื่อง	
ที่ฟัง ดู และอ่านได้

ประถมศึกษา สามารถอธิบาย สรุปเรื่อง วิเคราะห์	 ๑.	อธิบาย หมายถึง
สามารถแสดงความรู้
ปีที่ ๔
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เชื่อมโยง	
และคาดคะเนเรื่องราวอย่างมีเหตุผล ความเข้าใจเกี่ยวกับ	
และสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ 	
เรื่องราวที่ได้จาก	
และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ฟัง 	 การอ่าน ฟัง และดู
และดู ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒.	สรุปเรื่อง หมายถึง 	
สามารถย่อเรื่องที่อ่าน ฟัง 	
และดูอย่างสั้น ๆ ได้ใจความ	
ครบถ้วนสมบูรณ์
10

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

ตัวชี้วัด
๓.	วิเคราะห์ หมายถึง	
๑.	อธิบาย สรุปเรื่องอย่างย่อ	
สามารถระบุข้อความ	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
ที่เป็นข้อเท็จจริง 	
๒.	วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น	
ข้อคิดเห็นจากเรื่อง	
ที่อ่าน ฟัง และดู
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
๓.	ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน 	
๔.	เชื่อมโยงและคาดคะเน 	
ฟัง และดู
หมายถึง สามารถบอก	
๔.	เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว	 ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
ของเรื่องราวเพื่อคาดคะเน	
อย่างมีเหตุผล
สิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยใช้	
๕. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ
ความรู้ ความเข้าใจ	
และความคิดเห็นจากเรื่อง	
จากการอ่าน ฟัง และดู	
ที่อ่าน ฟัง และดูอย่างถูกต้อง	
จากประสบการณ์	
และเหมาะสม
ได้อย่างสมเหตุสมผล
๕.	สื่อสาร หมายถึง
สามารถใช้ภาษา	
ในการเขียนและพูด 	
แสดงความรู้ ความคิดเห็น	
ในเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู 	
ได้อย่างถูกต้องสอดคล้อง	
กับสถานการณ์ของบุคคล

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

11
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

ประถมศึกษา สามารถอธิบายความหมายโดยตรง	 ๑.	อธิบายความหมาย
ปีที่ ๕
โดยนัย จับใจความสำคัญ สรุปเรื่อง
โดยตรงโดยนัย
วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น 	
หมายถึง สามารถ	
เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว	
บอกความหมาย	
อย่างมีเหตุผล และสื่อสารความรู้
ของคำตามตัวอักษร 	
ความเข้าใจ และความคิดเห็น	
หรือตามที่กำหนด	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู	
ความหมายในพจนานุกรม	
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ความหมายแฝงที่เป็น	
ความหมายใหม่	
ตัวชี้วัด
ในสถานการณ์ รวมทั้ง	
๑.	อธิบายความหมายโดยตรง	
เจตนาในการสื่อสาร 	
โดยนัยจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ซึ่งจะต้องตีความหมาย	
๒. จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน จากคำที่แวดล้อม	
ฟัง และดู
และสถานการณ์ของ	
๓.	สรุปเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
การสื่อสารของคำ วลี 	
๔.	วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น	
และประโยคจาก	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
การอ่าน ฟัง และดู
๕.	เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว	 ๒.	จับใจความสำคัญ 	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
หมายถึง สามารถระบุ	
อย่างมีเหตุผล
สาระสำคัญของเรื่อง	
๖.	ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน	
จากการอ่าน ฟัง และดู
ฟัง และดู
๓. สรุปเรื่อง หมายถึง 	
สามารถบอกสิ่งที่ได้	
12

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

๗.	สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ 	
และความคิดเห็นจากเรื่อง	
ที่อ่าน ฟัง และดูอย่างถูกต้อง	
และเหมาะสม

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

สังเคราะห์จากเรื่องที่อ่าน 	
ฟัง และดูอย่างครบถ้วน	
และกระชับ
๔.	วิเคราะห์ หมายถึง 	
สามารถระบุข้อความ	
ที่เป็นข้อเท็จจริง	
ข้อคิดเห็น สาระสำคัญ	
และสาระประกอบจาก	
เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
๕. เชื่อมโยงและคาดคะเน 	
หมายถึง สามารถบอก	
ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน	
ของเรื่องราวเพื่อคาดคะเน	
สิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยใช้	
ความรู้ ความเข้าใจ 	
จากการอ่าน ฟัง และดู 	
จากประสบการณ์	
ได้อย่างสมเหตุสมผล
๖.	สื่อสาร หมายถึง 	
สามารถใช้ภาษา	
ในการเขียน และพูด 	
แสดงความรู้ ความคิดเห็น	
ในเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู	

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

13
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

ได้ถูกต้องสอดคล้อง	
กับสถานการณ์ของบุคคล
ประถมศึกษา สามารถอธิบายความหมายโดยตรง ๑.	อธิบายความหมาย
โดยนัย จับใจความสำคัญ สรุปเรื่อง
ปีที่ ๖
โดยตรงโดยนัย
วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น 	
หมายถึง สามารถ	
เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว	
บอกความหมาย	
อย่างมีเหตุผล สื่อสารและนำความรู้ ของคำตามตัวอักษร 	
ความเข้าใจ และความคิดเห็น	
หรือตามที่กำหนด	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู	
ความหมายในพจนานุกรม	
ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม	
ความหมายแฝงที่เป็น	
และสร้างสรรค์
ความหมายใหม่	
ในสถานการณ์ รวมทั้ง	
เจตนาในการสื่อสาร 	
ตัวชี้วัด
๑.	อธิบายความหมายโดยตรงโดยนัย	 ซึ่งจะต้องตีความหมาย	
จากคำที่แวดล้อม	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
๒.	จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน และสถานการณ์ของ	
การสื่อสาร และประโยค
ฟัง และดู
จากการอ่าน ฟัง และดู
๓.	สรุปเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
๔. 	 ิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น	 ๒. จับใจความสำคัญ	
ว
หมายถึง สามารถระบุ	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
สาระสำคัญของเรื่อง	
๕. ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน	
จากการอ่าน ฟัง และดู
ฟัง และดู
14

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

๖. เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว	 ๓.	สรุปเรื่อง หมายถึง 	
จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู	
สามารถบอกสาระหรือ	
อย่างมีเหตุผล
สิ่งที่ได้สังเคราะห์จาก	
๗.	สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ 	
เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู	
และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน	 อย่างได้ใจความครบถ้วน	
ฟัง และดูอย่างถูกต้อง	
สมบูรณ์ และสั้นกระชับ
๔.	วิเคราะห์ หมายถึง 	
เหมาะสมและสร้างสรรค์
๘.	นำความรู้ ความเข้าใจ 	
สามารถระบุข้อความ	
และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน	 ที่เป็นข้อเท็จจริง	
ฟัง และดูไปใช้ได้อย่างถูกต้อง	
ข้อคิดเห็น สาระสำคัญ 	
เหมาะสมและสร้างสรรค์
และสาระประกอบจาก	
เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
๕.	เชื่อมโยงและคาดคะเน
หมายถึง สามารถบอก	
ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน	
ของเรื่องราวเพื่อ	
คาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้น	
โดยใช้ความรู้ของคำ วลี	
ความเข้าใจจาก	
การอ่าน ฟัง และดู	
จากประสบการณ์	
ได้อย่างสมเหตุสมผล

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

15
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ความหมาย
ตัวชี้วัดความสามารถ

๖.	สื่อสาร หมายถึง 	
สามารถใช้ภาษา	
ในการเขียนและพูด
แสดงความรู้ ความคิดเห็น 	
เสนอแนะในเรื่อง	
ที่อ่าน ฟัง และดู
๗.	นำไปใช้ หมายถึง 	
สามารถเลือกข้อมูล 	
เรื่องราว ข้อคิดต่าง ๆ 	
ไปประยุกต์ใช้ให้เป็น	
ประโยชน์ในการตัดสินใจ 	
และการแก้ปัญหาได้อย่าง	
สมเหตุสมผลถูกต้อง
มีคุณธรรมและจริยธรรม
เหมาะสมกับสภาพปัญหา
๘.	สร้างสรรค์ หมายถึง 	
สามารถสื่อสาร	
อย่างสมเหตุสมผล	
และเป็นความคิดใหม่	
ที่เป็นประโยชน์สูงขึ้น

16

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านภาษา
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๒ บอกความหมายของเครื่องหมาย สัญลักษณ์

เด็กคนนี้ต้องเข้าห้องน้ำตามภาพใด
๑)	
๒)	

๓)	

สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑ ข้อ ๗	บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์	
สําคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

17
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

	
	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๕	 สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ และข้อคิดเห็นง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง	
	
ดู และอ่านเป็นถ้อยคำและเขียนสื่อสารเป็นประโยคง่าย ๆ

“กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ”
ข้อความข้างต้น เป็นการแนะนำเกี่ยวกับอะไร
	
๑)	 การป้องกันโรคติดต่อ
	
๒)	 การรักษาความสะอาด
	
๓) 	มารยาทในการรับประทานอาหาร
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๒ ข้อ ๗ 	อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่ง	
หรือข้อแนะนํา

18

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๑	 บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน	
	 “หาดทรายงามยามมองแสงสีนวลสาดซัดทราย เสียงกีตาร์ฮาวาย	
หาดทรายครื้นเครง จันทร์ทอแสงฮูลาฮูลาดังจะเย้ายวนตาพิศวาส	
หาดสีทอง”

“หาดสีทอง” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
	
๑) 	หาดทรายที่มีแสงจันทร์สาดส่อง
	
๒) 	หาดทรายที่มีคลื่นซัดสาดสวยงาม
	
๓) 	หาดทรายที่มีสีขาวสะอาดสวยงาม
	
๔) 	หาดทรายที่มีเสียงเพลงบรรเลงไพเราะ
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๓ ข้อ ๒ 	อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

19
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๒	 วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
	 ในโลกนี้ไม่มีสิ่งใดจะทำลายโลกได้นอกจากมนุษย์ และมนุษย์	
ก็กำลังทำลายโลกนี้ลงทุกวัน วันใดที่มนุษย์ทำลายโลกได้สำเร็จ 	
วันนั้นก็คือวันที่มนุษย์สูญสิ้นเผ่าพันธุ์

ข้อใดเป็นข้อคิดของข้อความนี้
	
๑)	 มนุษย์ทำได้ทุกอย่าง
	
๒)	 มนุษย์เป็นผู้ทำลายโลก
	
๓)	 มนุษย์กำลังจะสูญพันธุ์
	
๔) 	มนุษย์เป็นผู้ทำลายมนุษย์
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔ ข้อ ๖ 	สรุปความรูและข้อคิดจากเรืองทีอานเพือนำไปใช้	
้
่ ่่ ่
ในชีวิตประจำวัน

20

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๓	 สรุปเรื่องที่อ่าน ฟังและดู
	 “หากเราได้ยนเขาอวดอ้างสรรพคุณแต่ไม่เคยทดลองด้วยตนเอง	
ิ
มีหรือจะรู้ว่ามันดีจริงหรือไม่ โดยเฉพาะเรื่องของธรรมะ หากเรา	
ไม่ลองปฏิบัติธรรมด้วยตนเอง แล้ววันใดเราจึงจะรู้ได้ว่าธรรมะ	
ดีอย่างไร”

ข้อความข้างต้น สอดคล้องกับสำนวนใด
	
๑)	 เห็นช้างขี้ขี้ตามช้าง
	
๒)	 ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
	
๓)	 สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น
	
๔)	 สี่เท้ายังรู้พลาดนักปราชญ์ยังรู้พลั้ง
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕ ข้อ ๓	อธิ บ ายความหมายโดยนั ย จากเรื ่ อ งที ่ อ ่ า น	
อย่างหลากหลาย

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

21
❖

ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

	
	

ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา
ข้อ ๒	 จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู
	 การปรึกษาเพื่อนในอินเทอร์เน็ตนี้ แม้จะมีส่วนดีตรงที่เป็น	
ช่องทางให้ได้ระบายความทุกข์ได้ง่าย แต่ก็อาจมีอันตรายได้ 	
ถ้ า คำแนะนำของเพื ่ อ นไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากความหวั ง ดี ห รื อ เจตนาดี
หรือไม่เป็นคำแนะนำที่ดี ที่ถูกต้อง นอกจากนั้นเพื่อนที่ไม่มี	
ความเข้าใจชีวิตเพียงพออาจแนะไปในทางที่ทำให้เกิดความทุกข์	
ความวิตกกังวลเพิมขึนไปอีกก็ได้ ผูรบคำแนะนำจึงต้องใช้วจารณญาณ	
่ ้
้ั
ิ
ให้มาก ก่อนเชื่อคำแนะนำเหล่านั้นควรปรึกษาพ่อแม่ ครูอาจารย์
หรือผู้ที่ไว้วางใจเพิ่มด้วย

ใจความสำคัญของข้อความนี้คือข้อใด
	
๑)	 วิธีใช้อินเทอร์เน็ต
	
๒)	 อันตรายจากการใช้อินเทอร์เน็ต
	
๓)	 ประโยชน์ที่ได้รับจากอินเทอร์เน็ต
	
๔)	 ข้อควรระมัดระวังในการใช้อินเทอร์เน็ต

22

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ ๑ 	 การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ 	 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด	
เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต	
่
ั
ั
ิ
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ชั้น ป.๖ ข้อ ๓ 	อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลา	
แล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

23
นิยามความสามารถด้านคำนวณ
Numeracy

	 ค

วามสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) เป็นความสามารถที่เน้น	
การนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
โดยมีการกำหนดนิยามไว้ดังนี้
❖

นิยาม

	
ความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถ	
ในการใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะการคิดคำนวณ และความคิด	
รวบยอดทางคณิตศาสตร์ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
❖

คำสำคัญ (Keywords) 

	
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการ	
แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย	
ทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้และการมีความคิดริเริ่ม	
สร้างสรรค์
	
ทักษะการคิดคำนวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ
การคูณ และการหาร ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว
	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ	
เกี่ยวกับจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก
พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง ขนาดของมุม ชนิดและสมบัติ	
ของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเน	
การเกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ 	
24

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับความสามารถชั้นปี
	
	
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ	
๑. การสร้างจำนวน	
ปีที่ ๑
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
และการแยกจำนวน
(การแก้ปัญหา การสื่อสาร 	
๒. จำนวนเชิงอันดับที	
่
และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์) และจำนวนเชิงการนับ
ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้	 ๓. การบวกจำนวนที่ม	
ี
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 	 ผลบวกไม่เกิน ๑๐๐ 	
โดยเน้นความคิดรวบยอด	
ที่ไม่มีการทด
ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับ	 ๔.	การลบจำนวนที่ม	
ี
ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์ การเปรียบเทียบ	 ตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐ 	
ความยาว โดยไม่ใช้หน่วยมาตรฐาน 	 ที่ไม่มีการกระจาย
การจำแนกรูปเรขาคณิต 	
๕.	การบวก ลบระคนจำนวน	
แบบรูปและความสัมพันธ์
ที่มีผลลัพธ์และตัวตั้ง	
ไม่เกิน ๑๐๐
๖.	การเปรียบเทียบ	
ตัวชี้วัด
ความยาวโดยไม่ใช้	
๑.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
หน่วยมาตรฐาน
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	 ๗.	การจำแนกลักษณะ	
เฉพาะของรูปร่าง
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือหา	
่
คำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	 ๘.	แบบรูปของจำนวนที	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิด	 เพิ่มขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ 	
และลดลงทีละ ๑
รวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	
เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ	 ๙.	แบบรูปของรูป	
ที่มีรูปร่าง ขนาด	
ตามขอบข่ายสิ่งเร้า
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

25
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

๒.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๓.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่าย	
สิ่งเร้า
๔.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า
26

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

หรือสีที่สัมพันธ์กัน	
อย่างใดอย่างหนึ่ง

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

	

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

๕.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	
เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ	
ความน่าจะเป็นตามขอบข่าย	
สิ่งเร้า

๑.	ขนาดเชิงสัมพันธ์ของ	
ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ	
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
จำนวน๑
ปีที่ ๒
(การสื่อสาร การสื่อความหมาย	
๒.	การบวกจำนวนที่ม	
ี
ทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา โดย	 ผลบวกไม่เกิน ๑,๐๐๐
วิธีการที่หลากหลายและการให้เหตุผล) ๓.	การลบจำนวนที่ม	
ี
ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้	 ตัวตั้งไม่เกิน ๑,๐๐๐
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน	 ๔.	ความหมายของการคูณ 	
โดยเน้นความคิดรวบยอดทาง	
ตารางการคูณ การใช้	
คณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกิน	 ตารางการคูณ 	
	 ๑	

นักเรียนควรจะเรียนรู้เรื่องขนาดเชิงสัมพัทธ์ของจำนวนเนื่องจากนักเรียนจำเป็นต้องเห็น	
ความเกี่ยวข้องกันของจำนวนในแต่ละหลัก เช่น ๑๐๐เป็นสิบเท่าของ ๑๐ หรือ ๑๐ เป็นเศษ	
หนึ่งส่วนสิบเท่าของ ๑๐๐ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สำคัญของการขยายแนวคิดในการเรียนรู้เรื่อง	
จำนวนจากการเรียนรูในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
้
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

27
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

หนึ่งพันและศูนย์ ความยาว เงิน
เพื่อบอกปริมาณของ	
และเวลา การบอกชนิด และการเขียน สิ่งที่มีอยู่รอบตัว 	
รูปเรขาคณิตสองมิติ การบอกชนิด	
และสมบัติการสลับที	
่
รูปเรขาคณิตสามมิติ การจำแนก	
การคูณ
ระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก	
๕.	การคูณจำนวนหนึ่งหลัก	
กับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปวงกลม	
กับจำนวนไม่เกินสองหลัก
กับทรงกลม แบบรูปและความสัมพันธ์ ๖.	 การหารที่ตัวหารและ	
ผลหารมีหนึ่งหลัก
ตัวชี้วัด
๗.	 การบวก ลบ คูณ 	
๑.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
หารระคน
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
๘.	 การเปรียบเทียบความยาว
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เงิน (การบวก การลบ)
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือหา	
และการบอกเวลา๒
คำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	 ๙.	 รูปเรขาคณิตสองมิต	
ิ
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
กับรูปเรขาคณิตสามมิติ
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	 ๑๐.	แบบรูปของจำนวน	
เรื่องจำนวนและการดำเนินการ	
ที่เพิ่มขึ้นทีละ ๕ 	
ตามขอบข่ายสิ่งเร้า
ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐
	 ๒	

	
28

การเรียนรู้เรื่องความยาวในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เป็นการขยายแนวคิด จากชั้นประถมศึกษา	
ปีที่ ๑ โดยนำหน่วยมาตรฐานมาใช้ในการเปรียบเทียบความยาว (เช่น เซนติเมตร, มิลลิเมตร	
และเมตร) ซึ่งเป็นการสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับหน่วยในการวัด และเป็นเครื่องมือ	
ที่สำคัญในการขยายความคิดไปใช้ในเรื่องปริมาตร น้ำหนัก และความจุในชั้นอื่น ๆ ได้ ในระดับ	
ชั้นนี้ต้องเน้นให้นักเรียนมีความรู้เรื่องดังกล่าว
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

๒.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
๑๑.	แบบรูปของจำนวน	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
ที่ลดลงทีละ ๒ 	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
๑๒.	แบบรูปของรูป	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ	 ที่มีรูปร่าง ขนาด
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
หรือสีที่สัมพันธ์กัน	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
อย่างใดอย่างหนึ่ง
เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๓.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ	
ในชีวิตประจำวันที่กำหนดเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๔.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า
นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

29
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

๕.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	
เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ	
ความน่าจะเป็นตามขอบข่ายสิ่งเร้า
ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ	
๑.	การคูณด้วย ๐ 	
ปีที่ ๓
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 	
การคูณด้วย ๑๐ 	
(การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง	 การคูณด้วย ๑๐๐
คณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาโดยวิธีการ	 ๒.	การคูณจำนวนหนึ่งหลัก	
ที่หลากหลาย และการให้เหตุผล) 	
กับจำนวนไม่เกินสี่หลัก
ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้	 ๓.	ความหมายของการหาร
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 	 การหารที่ตัวตั้งมีค่า	
โดยเน้นความคิดรวบยอดทาง	
เท่ากับ ๐
คณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับ	
๔.	การหารที่ตัวตั้ง	
ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ การเปรียบเทียบ	 ไม่เกินสี่หลักและ	
และการคาดคะเน (ความยาว น้ำหนัก ตัวหารมีหนึ่งหลัก
ปริมาตร หรือความจุ) เงิน และเวลา 	 ๕.	 การบวก ลบ คูณ 	
การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิต	 หารระคน
ิ

30

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิต	 ๖.	 การเปรียบเทียบและ	
สามมิติ แบบรูปและความสัมพันธ์ 	
คาดคะเนความยาว 	
การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ	
น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ 	
และแผนภูมิแท่ง
เงิน และเวลา
๗.	 การอ่านและเขียนบันทึก	
ตัวชี้วัด
รายรับ รายจ่าย กิจกรรม	
๑.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
๘.	 การบอกชนิดของ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
รูปเรขาคณิตสองมิต	
ิ
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
ที่เป็นส่วนประกอบของ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	 รูปเรขาคณิตสามมิติ
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
๙.	 แบบรูปของจำนวน	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	
ที่เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ 	
เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ	
ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐
ตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๑๐.	แบบรูปของจำนวน	
๒.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
ที่ลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ 	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
๑๑.	แบบรูปซ้ำ
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	๑๒.	แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง 	
ขนาดหรือสีที่สัมพันธ์กัน	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	 สองลักษณะ
เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

31
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

๓.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
๑๓.	การอ่านแผนภูมิรูปภาพ
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
และแผนภูมิแท่ง
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๔.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์	
เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า
๕.	ใช้ทักษะกระบวนการทาง	
คณิตศาสตร์ หรือทักษะ	
การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ 	
เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ	
หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ 	
ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ	
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 	
เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ	
ความน่าจะเป็นตามขอบข่ายสิ่งเร้า
32

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities
ระดับชั้น	
ความสามารถและตัวชี้วัด
			

ขอบข่ายสิ่งเร้า/
สาระการเรียนรู้

ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ	
๑.	 การคูณจำนวนหนึ่งหลัก	
ปีที่ ๔
กับจำนวนมากกว่าสี่หลัก
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 	
(การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง	 ๒.	 การคูณจำนวนมากกว่า	
คณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาโดยวิธีการ	 หนึ่งหลักกับจำนวน	
มากกว่าสองหลัก
ที่หลากหลาย การใช้เทคโนโลยี
การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ	 ๓.	 การหารที่มีตัวหาร	
และสรุปผล) ทักษะการคิดคำนวณ	 ไม่เกินสามหลัก
มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ 	 ๔.	 การบวก ลบ คูณ 	
หารระคนของจำนวนนับ	
ในชีวิตประจำวัน โดยเน้นความคิด	
และศูนย์
รวบยอดทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ	
๕.	 การบวก ลบเศษส่วน	
จำนวนนับและศูนย์ เศษส่วนที่ม	
ี
ที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ตัวส่วนเท่ากัน ทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง 	 ๖.	 การเฉลี่ย
การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
๗.	 การหาพื้นที่เป็น	
การเปรียบเทียบและการคาดคะเน
ตารางหน่วยและ	
(ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร 	
ตารางเซนติเมตร
หรือความจุ) เงิน และเวลา 	
๘.	 การหาพื้นที่ของ	
การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิต	 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ิ
ที่เป็นส่วนประกอบของรูป	
๙.	 การคาดคะเนความยาว
เรขาคณิตสามมิติ เส้นขนาน แบบรูป	 น้ำหนัก ปริมาตร	
หรือความจุ
และความสัมพันธ์ การอ่านข้อมูล	
จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง 	 ๑๐.การเขียนบันทึกรายรับ	
รายจ่าย
และตาราง

นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล
Literacy, Numeracy  Reasoning Abilities

33
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล

More Related Content

What's hot

เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)Thanuphong Ngoapm
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกWichai Likitponrak
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้Hannan Hae
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาจักรพงษ์ แผ่นทอง
 

What's hot (20)

เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
 

Viewers also liked

แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"Jaru O-not
 
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557Jaru O-not
 
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยแนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยJaru O-not
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...Jaru O-not
 
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Jaru O-not
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3Jaru O-not
 

Viewers also liked (6)

แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
ประกาศ สพฐ. เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทยแนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
แนวการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสร้างสำนึกความเป็นไทย
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
 
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
Test blueprint ฉบับสมบูรณ์(21กันยายน2557)
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กถึง ป.3
 

Similar to นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล

ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnr
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnrข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnr
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม LnrKhunnawang Khunnawang
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]Apichaya Savetvijit
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียนJeeraJaree Srithai
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3kruchaily
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 

Similar to นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล (20)

ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnr
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnrข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnr
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ นิยาม Lnr
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
Post selt2
Post selt2Post selt2
Post selt2
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 

นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล

  • 2. นิยามความสามารถของผู้เรียน ด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล (Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities) โครงการประกันคุณภาพการศึกษาและ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. นิยามความสามารถของผู้เรียน ด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล (Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities) โครงการประกันคุณภาพการศึกษาและ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน พิมพ์ครั้งที่ ๑ จำนวน จัดพิมพ์โดย พิมพ์ที่ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๐๐,๐๐๐ เล่ม สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
  • 4. คำนำ การประเมินคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของการประกัน คุณภาพการศึกษา ผลการประเมินผู้เรียนเป็นสิ่งสะท้อนว่าการจัดการเรียนรู ้ ในสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรลุผลสำเร็จอยู่ในระดับใด กล่าวคือ ภาพรวมความสำเร็จของผู้เรียน มีความ สามารถเป็นที่น่าพึงพอใจในด้านใด และควรเร่งพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ หรือสมรรถนะของผูเ้ รียนในด้านใดบ้าง ในช่วง ๒-๓ ปีทผานมา สำนักงานคณะกรรมการ ่ี ่ การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกำหนดจุดเน้นการพัฒนาที่เกี่ยวกับคุณภาพผู้เรียนในเรื่อง สำคัญอันดับแรก คือ การพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่าน การเขียน การคิดเลขเป็น รวมทั้งทักษะการคิดขั้นพื้นฐานในแต่ละช่วงชั้น โดยช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑-๓) เน้นการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-๖) เน้น การอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ด้วยเหตุนี้สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีนโยบายให้ประเมินความสามารถพื้นฐานที่จำเป็น ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) ซึ ่ ง เป็ น ความสามารถเบื ้ อ งต้ น ของทั ก ษะการคิ ด และสอดคล้องกับกระแสการพัฒนาการศึกษาของนานาอารยประเทศ ดังนั้น เพื่อให้การประเมินและการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เข้าใจตรงกัน สำนักทดสอบทางการศึกษาจึงกำหนดนิยามความสามารถทั้ง ๓ ด้าน เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ รวมทั ้ ง สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการสอน ในสถานศึกษาด้วย
  • 5. สำนั ก ทดสอบทางการศึ ก ษา สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่านิยามความสามารถของผูเ้ รียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล (Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities) ฉบับนี้ จะเกิดประโยชน์กับการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนต่อไป สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ้ ้
  • 6. สารบัญ คำนำ บทนำ ■ นิยามความสามารถด้านภาษา (Literacy) ■ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ■ ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านภาษา ■ นิยามความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) ■ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ■ ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านคำนวณ ■ นิยามความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) ■ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ■ ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ■ ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านเหตุผล ■ ภาคผนวก หน้า ๑ ๕ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๒ ๑๔ ๑๗ ๒๔ ๒๕ ๒๗ ๓๐ ๓๓ ๓๖ ๓๙ ๔๒ ๕๐ ๕๒ ๕๓ ๕๖ ๖๓
  • 7.
  • 8. บทนำ ป ระเทศต่าง ๆ ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้าน เทคโนโลยีการสื่อสารและการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ล้วนเป็น ประเทศที่ให้ความสำคัญกับการอ่านรู้เรื่องและการคิดคำนวณ (Literacy & Numeracy) ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของทักษะการคิดพื้นฐานและการคิดขั้นสูง ผลเชิ ง ประจั ก ษ์ เ ห็ น ได้ จ ากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพผู ้ เรี ย นระดั บ นานาชาติ ที่ยอมรับกันทั่วโลกคือ ผลการประเมิน PISA (Programme of International Student Assessment) ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ อีกทั้งร้อยละของผู้เรียน ที่มีคุณภาพระดับสูง (ระดับ ๕ และระดับ ๖) มีจำนวนร้อยละ ๓๕ ขึ้นไป เช่น ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป็นต้น ซึงประเทศเหล่านีลวนประเมิน ่ ้้ การอ่านรู้เรื่องและการคิดคำนวณ (Literacy & Numeracy) ในการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติ สำหรับประเทศไทยมีค่าเฉลี่ยผลการประเมิน PISA ต่ำกว่า ระดับนานาชาติมากถึงขั้นอยู่ในลำดับเกือบรั้งท้าย และมีร้อยละของผู้เรียนที่ม ี คุณภาพระดับสูงอยู่เพียงร้อยละ ๐.๐๒–๐.๐๓ นอกจากนี้บางประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ให้ความสำคัญกับการอ่านรู้เรื่อง และ การคิ ด คำนวณ (Literacy & Numeracy) มากยิ ่ ง ขึ ้ น โดยกำหนดให้ ใช้ ผลการประเมินดังกล่าวมาเป็นเกณฑ์การจบการศึกษาด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการประเมินคุณภาพผู้เรียนที ่ มุ่งเน้นการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) จากการทดสอบ ระดับชาติชั้นปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้น (ป.๓, ป.๖, ม.๓ และ ม.๖) ซึ่ง ผลการประเมินในภาพรวมระดับประเทศมีค่าเฉลี่ยยังไม่ถึงร้อยละ ๕๐ บางกลุ่ม นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities
  • 9. สาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ ๒๕ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ ไม่ถึง ๑ ใน ๔ ของความรู้ที่เรียนมา ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหา ในการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ซึ่งเป็นพื้นฐาน ของการคิดขันสูง เห็นได้จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบรายข้อทีวดทักษะการคิด ้ ่ั หรือการให้เขียนแสดงเหตุผลหรือความคิดเห็น มีผู้เรียนจำนวนน้อยที่ตอบถูก ดั ง นั ้ น สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หา ดั ง กล่ า ว จึ ง มี น โยบายให้ เ ปลี ่ ย นการประเมิ น ที ่ ม ุ ่ ง เน้ น ผลสั ม ฤทธิ ์ ม าเป็ น การประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) ซึงเริมประเมิน ในระดับชันประถมศึกษา ่ ่ ้ ปีที่ ๓ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นมา โดยสำนักทดสอบทางการศึกษา ในฐานะหน่ ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารผ่านเว็บไซต์ของประเทศที่มีการประเมินด้านเหล่านี ้ พบว่า ด้าน Literacy มีการนิยามที่แตกต่างกันไป อาทิ York Region District ให้ความหมาย Literacy ว่าหมายถึง การพัฒนาทักษะ ความรู้ และทัศนคติ อย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมผู้เรียนให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วได้ และต้องเริ่มต้นสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องในทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด การแสดงความคิดเห็น การสะท้อนความคิด การแสดงออก รวมถึงการมีความรู้ด้านคำนวณด้วย กล่าวได้ว่า ผู้เรียนต้องมีความสามารถ ในการเข้ า ใจ คิ ด ประยุ ก ต์ ใช้ และการสื ่ อ สารอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในทุ ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ยูเนสโก (๒๐๐๓-๒๐๑๒) ให้ความหมาย Literacy ว่าเป็นมากกว่าการอ่านและการเขียน แต่หมายถึง วิธีการสื่อสารกันในสังคม สร้างความสัมพันธ์และการปฏิบัติดีต่อกันทั้งในด้าน ความรู้ ภาษา และวัฒนธรรม การรู้เรื่องเกิดขึ้นในทุกหนทุกแห่งที่เราต้องสื่อสาร กับผู้คน เราสามารถมองเห็นได้ทั่วไปทั้งในเอกสาร โทรทัศน์ หน้าจอคอมพิวเตอร์ นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 10. หรื อ แม้ แ ต่ โ ปสเตอร์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ข ่ า วสารต่ า ง ๆ ส่ ว นความหมายของ Numeracy แต่ละแห่งก็แตกต่างกันบ้าง เช่น หมายถึงความสามารถในการ แก้ปญหาทีเ่ กียวกับตัวเลข ความสามารถในการใช้เหตุผล และนำความคิดรวบยอด ั ่ เกี่ยวกับจำนวนไปใช้ในชีวิตได้ ส่วนประเทศออสเตรเลียระบุไว้ในหลักสูตรว่า Numeracy เกี่ยวข้องกับการใช้ความคิดทางคณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความเข้าใจแนวคิดทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย เทคนิควิธี การเชื่อมโยงความรู้กับบริบทและสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจเมื่อจำเป็น ต้องใช้คณิตศาสตร์ รวมถึงการเลือกใช้คณิตศาสตร์ในการประเมินสิงต่าง ๆ เป็นต้น ่ ส่วนใหญ่ Literacy และ Numeracy มักถูกจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และประเมิน ควบคู่กันไป สำหรับการประเมินความสามารถด้านเหตุผลของผู้เรียนนั้น สืบเนื่อง จากผลการประเมินหลายแหล่งและกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าเด็กไทยควรได้รับ การพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการให้เหตุผล สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงกำหนดนโยบายให้ประเมินความสามารถ ด้านเหตุผลของผู้เรียนด้วย โดยใช้บริบทหรือสถานการณ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งด้านการดำเนินชีวิต จากนโยบายดั ง กล่ า ว สำนั ก ทดสอบทางการศึ ก ษา สำนั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนดนิยามความสามารถของผู้เรียน ทั้ง ๓ ด้าน โดยระดมสมองจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รู้ และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อาทิ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่ง สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ศึกษานิเทศก์จากเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร ครูอาจารย์ และนักวิชาการศึกษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนได้ข้อสรุปนิยามทั้ง ๓ ด้าน ซึ่งจะได้นำเสนอในลำดับต่อไป นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 11. สำหรั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาตามนโยบายดั ง กล่ า ว สำนักทดสอบทางการศึกษาได้สร้างเครืองมือประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ ่ ตามนิยามทั้ง ๓ ด้านนั้น ในเบื้องต้นนี้เน้นการอ่านและเขียนรู้เรื่องในบริบท และสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม นิยามดังกล่าวสามารถนำไปใช้เพื่อการจัด การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้งด้านการฟัง การดู การพูด การแสดงออกในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาโดยรอบด้าน นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 12. นิยามความสามารถด้านภาษา Literacy ค วามสามารถด้านภาษา (Literacy) เป็นความสามารถพื้นฐาน ที่สำคัญและจำเป็นต่อการเรียนรู้ที่สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขันพืนฐานให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกในการทีจะใช้ประเมินคุณภาพ ้ ้ ่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกำหนดนิยามไว้ดังนี้ ❖ นิยาม ความสามารถด้ า นภาษา (Literacy) หมายถึ ง ความสามารถ ในการอ่าน การฟัง การดู การพูด เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญ ประเมิ น สิ ่ ง ที ่ อ ่ า น ฟั ง ดู จากสื ่ อ ประเภทต่ า ง ๆ และสื ่ อ สารด้ ว ยการพู ด การเขียน ได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อการนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน การอยู่ร่วมกันในสังคม และการศึกษาตลอดชีวิต ❖ คำสำคัญ (Keywords) ๑. รู ้ หมายถึ ง สามารถบอกความหมาย เรื ่ อ งราว ข้ อ เท็ จ จริ ง และเหตุการณ์ต่าง ๆ ๒. เข้ า ใจ หมายถึ ง สามารถแปลความ ตี ค วาม ขยายความ และอ้างอิง ๓. วิ เ คราะห์ หมายถึ ง สามารถแยกแยะโครงสร้ า ง เรื ่ อ งราว ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เหตุผล และคุณค่า นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 13. ๔. สรุปสาระสำคัญ หมายถึง สามารถสรุปใจความสำคัญของเรื่อง ได้อย่างครอบคลุม ๕. ประเมิน หมายถึง สามารถตัดสินความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณค่า อย่างมีหลักเกณฑ์ ๖. สื่อประเภทต่าง ๆ หมายถึง สิ่งที่นำเสนอเรื่องราวและข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อของจริง ๗. สือสาร หมายถึง สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด ่ จากการอ่าน ฟังและดู โดยการพูดหรือเขียนอธิบาย วิเคราะห์ สรุปหรือประเมิน ๘. สร้างสรรค์ หมายถึง สามารถสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เรื่องราว ทัศนะและความคิดที่แปลกใหม่จากการอ่าน การฟัง และการดู เป็นคำพูด การเขียน หรือการกระทำได้อย่างหลากหลายและมีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ๙. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน การอยู่ร่วมกันในสังคม และ การศึกษาตลอดชีวิต หมายถึง ความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสรุปสาระสำคัญนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา การตัดสินใจในการดำเนินชีวิต การอยู่ร่วมกับผู้อื่น และการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 14. ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย ๑. บอกความหมาย ปีที่ ๑ เล่าเรื่องราวจากสิ่งที่ฟัง ดู และอ่าน เล่าเรื่องราว หมายถึง คาดคะเนเหตุการณ์จากการฟัง ดู สามารถแสดงความรู ้ อ่าน และสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ด้วยคำและประโยคง่าย ๆ ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย เรื่องราว ตัวชี้วัด ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู ๑. บอกความหมายของคำ และอ่านในชีวิตประจำวัน และประโยค ตอบคำถามด้วยการพูด ๒. บอกความหมายของเครื่องหมาย เขียนหรือด้วยวิธีการ สัญลักษณ์ สื่อสารอื่น ๆ ๓. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู ที่เหมาะสมกับวัย ๒. คาดคะเนเหตุการณ์ และอ่าน ๔. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น หมายถึง สามารถ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน คาดเดาเหตุการณ์ ๕. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้ ด้วยคำและประโยคง่าย ๆ ความรู้ ความเข้าใจ จากการฟัง ดู และอ่าน จากประสบการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผล ๓. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษาง่าย ๆ นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 15. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ แสดงความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย เล่าเรื่องราว ๑. บอกความหมาย ปีที่ ๒ และคาดคะเนเหตุการณ์ สื่อสาร เล่าเรื่องราว หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ และข้อคิดเห็น สามารถแสดงความรู ้ ง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน ความเข้าใจเกี่ยวกับ ได้อย่างเหมาะสม ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย เรื่องราว ตัวชี้วัด ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู ๑. บอกความหมายของคำ และอ่านในชีวิตประจำวัน และประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู ตอบคำถามด้วยการพูด และอ่าน เขียน หรือด้วยวิธีการ ๒. บอกความหมายของเครื่องหมาย สื่อสารอื่น ๆ สัญลักษณ์ ที่เหมาะสมกับวัย ๓. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู ๒. คาดคะเนเหตุการณ์ หมายถึง สามารถ และอ่าน ๔. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น คาดเดาเหตุการณ์ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน ที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ ๕. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ และ ความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง ดู จากการฟัง ดู อ่าน และ และอ่านเป็นถ้อยคำและเขียน จากประสบการณ์ สื่อสารเป็นประโยคง่าย ๆ ได้ ได้อย่างสมเหตุสมผล นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 16. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ๓. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษาพูด เขียนง่าย ๆ แสดงความรู ้ ความเข้าใจ และ ความคิดเห็นในเรื่อง ที่ฟัง ดู และอ่านได้ ประถมศึกษา สามารถบอกความหมาย เล่าเรื่องราว ๑. บอกความหมาย ปีที่ ๓ ย่อเรื่อง และคาดคะเนเหตุการณ์ เล่าเรื่องราว หมายถึง สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ สามารถแสดงความรู ้ และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู ความเข้าใจเกี่ยวกับ และอ่านได้อย่างเหมาะสม ถ้อยคำภาษา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย เรื่องราว ตัวชี้วัด ที่เกิดขึ้นจากการฟัง ดู ๑. บอกความหมายของคำ และอ่านในชีวิตประจำวัน และประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู ตอบคำถามด้วยการพูด และอ่าน เขียน หรือด้วยวิธีการ ๒. อกความหมายของเครื่องหมาย สื่อสารอื่น ๆ บ สัญลักษณ์ ที่เหมาะสมกับวัย ๓. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง ดู ๒. ย่อเรื่อง หมายถึง และอ่าน สามารถบอก เล่าเรื่องราว ๔. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง ที่ฟัง ดู และอ่าน อย่างสั้น ๆ ดู และอ่านอย่างง่าย ๆ ได้ใจความ นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 17. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ๕. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น ๓. คาดคะเนเหตุการณ์ หมายถึง สามารถ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน ๖. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ คาดเดาเหตุการณ์ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู และ ที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ อ่าน อย่างเหมาะสม ความรู้ ความเข้าใจ จากการฟัง ดู และอ่าน จากประสบการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผล ๔. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษาพูด เขียน แสดงความรู ้ ความคิดเห็นในเรื่อง ที่ฟัง ดู และอ่านได้ ประถมศึกษา สามารถอธิบาย สรุปเรื่อง วิเคราะห์ ๑. อธิบาย หมายถึง สามารถแสดงความรู้ ปีที่ ๔ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เชื่อมโยง และคาดคะเนเรื่องราวอย่างมีเหตุผล ความเข้าใจเกี่ยวกับ และสื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เรื่องราวที่ได้จาก และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ฟัง การอ่าน ฟัง และดู และดู ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒. สรุปเรื่อง หมายถึง สามารถย่อเรื่องที่อ่าน ฟัง และดูอย่างสั้น ๆ ได้ใจความ ครบถ้วนสมบูรณ์ 10 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 18. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ตัวชี้วัด ๓. วิเคราะห์ หมายถึง ๑. อธิบาย สรุปเรื่องอย่างย่อ สามารถระบุข้อความ จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ที่เป็นข้อเท็จจริง ๒. วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ข้อคิดเห็นจากเรื่อง ที่อ่าน ฟัง และดู จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๓. ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน ๔. เชื่อมโยงและคาดคะเน ฟัง และดู หมายถึง สามารถบอก ๔. เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ของเรื่องราวเพื่อคาดคะเน อย่างมีเหตุผล สิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ ๕. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็นจากเรื่อง จากการอ่าน ฟัง และดู ที่อ่าน ฟัง และดูอย่างถูกต้อง จากประสบการณ์ และเหมาะสม ได้อย่างสมเหตุสมผล ๕. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษา ในการเขียนและพูด แสดงความรู้ ความคิดเห็น ในเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ได้อย่างถูกต้องสอดคล้อง กับสถานการณ์ของบุคคล นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 11
  • 19. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ประถมศึกษา สามารถอธิบายความหมายโดยตรง ๑. อธิบายความหมาย ปีที่ ๕ โดยนัย จับใจความสำคัญ สรุปเรื่อง โดยตรงโดยนัย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หมายถึง สามารถ เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว บอกความหมาย อย่างมีเหตุผล และสื่อสารความรู้ ของคำตามตัวอักษร ความเข้าใจ และความคิดเห็น หรือตามที่กำหนด จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ความหมายในพจนานุกรม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ความหมายแฝงที่เป็น ความหมายใหม่ ตัวชี้วัด ในสถานการณ์ รวมทั้ง ๑. อธิบายความหมายโดยตรง เจตนาในการสื่อสาร โดยนัยจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ซึ่งจะต้องตีความหมาย ๒. จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน จากคำที่แวดล้อม ฟัง และดู และสถานการณ์ของ ๓. สรุปเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู การสื่อสารของคำ วลี ๔. วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และประโยคจาก จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู การอ่าน ฟัง และดู ๕. เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว ๒. จับใจความสำคัญ จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู หมายถึง สามารถระบุ อย่างมีเหตุผล สาระสำคัญของเรื่อง ๖. ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน จากการอ่าน ฟัง และดู ฟัง และดู ๓. สรุปเรื่อง หมายถึง สามารถบอกสิ่งที่ได้ 12 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 20. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ๗. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็นจากเรื่อง ที่อ่าน ฟัง และดูอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ สังเคราะห์จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดูอย่างครบถ้วน และกระชับ ๔. วิเคราะห์ หมายถึง สามารถระบุข้อความ ที่เป็นข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น สาระสำคัญ และสาระประกอบจาก เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๕. เชื่อมโยงและคาดคะเน หมายถึง สามารถบอก ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ของเรื่องราวเพื่อคาดคะเน สิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ ความรู้ ความเข้าใจ จากการอ่าน ฟัง และดู จากประสบการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผล ๖. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษา ในการเขียน และพูด แสดงความรู้ ความคิดเห็น ในเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 13
  • 21. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ได้ถูกต้องสอดคล้อง กับสถานการณ์ของบุคคล ประถมศึกษา สามารถอธิบายความหมายโดยตรง ๑. อธิบายความหมาย โดยนัย จับใจความสำคัญ สรุปเรื่อง ปีที่ ๖ โดยตรงโดยนัย วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หมายถึง สามารถ เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว บอกความหมาย อย่างมีเหตุผล สื่อสารและนำความรู้ ของคำตามตัวอักษร ความเข้าใจ และความคิดเห็น หรือตามที่กำหนด จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ความหมายในพจนานุกรม ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ความหมายแฝงที่เป็น และสร้างสรรค์ ความหมายใหม่ ในสถานการณ์ รวมทั้ง เจตนาในการสื่อสาร ตัวชี้วัด ๑. อธิบายความหมายโดยตรงโดยนัย ซึ่งจะต้องตีความหมาย จากคำที่แวดล้อม จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๒. จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน และสถานการณ์ของ การสื่อสาร และประโยค ฟัง และดู จากการอ่าน ฟัง และดู ๓. สรุปเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๔. ิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๒. จับใจความสำคัญ ว หมายถึง สามารถระบุ จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู สาระสำคัญของเรื่อง ๕. ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน จากการอ่าน ฟัง และดู ฟัง และดู 14 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 22. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ๖. เชื่อมโยงและคาดคะเนเรื่องราว ๓. สรุปเรื่อง หมายถึง จากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู สามารถบอกสาระหรือ อย่างมีเหตุผล สิ่งที่ได้สังเคราะห์จาก ๗. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน อย่างได้ใจความครบถ้วน ฟัง และดูอย่างถูกต้อง สมบูรณ์ และสั้นกระชับ ๔. วิเคราะห์ หมายถึง เหมาะสมและสร้างสรรค์ ๘. นำความรู้ ความเข้าใจ สามารถระบุข้อความ และความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ที่เป็นข้อเท็จจริง ฟัง และดูไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ข้อคิดเห็น สาระสำคัญ เหมาะสมและสร้างสรรค์ และสาระประกอบจาก เรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๕. เชื่อมโยงและคาดคะเน หมายถึง สามารถบอก ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ของเรื่องราวเพื่อ คาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ความรู้ของคำ วลี ความเข้าใจจาก การอ่าน ฟัง และดู จากประสบการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผล นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 15
  • 23. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ความหมาย ตัวชี้วัดความสามารถ ๖. สื่อสาร หมายถึง สามารถใช้ภาษา ในการเขียนและพูด แสดงความรู้ ความคิดเห็น เสนอแนะในเรื่อง ที่อ่าน ฟัง และดู ๗. นำไปใช้ หมายถึง สามารถเลือกข้อมูล เรื่องราว ข้อคิดต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ให้เป็น ประโยชน์ในการตัดสินใจ และการแก้ปัญหาได้อย่าง สมเหตุสมผลถูกต้อง มีคุณธรรมและจริยธรรม เหมาะสมกับสภาพปัญหา ๘. สร้างสรรค์ หมายถึง สามารถสื่อสาร อย่างสมเหตุสมผล และเป็นความคิดใหม่ ที่เป็นประโยชน์สูงขึ้น 16 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 24. ตัวอย่างเครื่องมือวัดความสามารถด้านภาษา ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๒ บอกความหมายของเครื่องหมาย สัญลักษณ์ เด็กคนนี้ต้องเข้าห้องน้ำตามภาพใด ๑) ๒) ๓) สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑ ข้อ ๗ บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ สําคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 17
  • 25. ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๕ สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ และข้อคิดเห็นง่าย ๆ จากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่านเป็นถ้อยคำและเขียนสื่อสารเป็นประโยคง่าย ๆ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ” ข้อความข้างต้น เป็นการแนะนำเกี่ยวกับอะไร ๑) การป้องกันโรคติดต่อ ๒) การรักษาความสะอาด ๓) มารยาทในการรับประทานอาหาร สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๒ ข้อ ๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่ง หรือข้อแนะนํา 18 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 26. ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๑ บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน “หาดทรายงามยามมองแสงสีนวลสาดซัดทราย เสียงกีตาร์ฮาวาย หาดทรายครื้นเครง จันทร์ทอแสงฮูลาฮูลาดังจะเย้ายวนตาพิศวาส หาดสีทอง” “หาดสีทอง” มีความหมายสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด ๑) หาดทรายที่มีแสงจันทร์สาดส่อง ๒) หาดทรายที่มีคลื่นซัดสาดสวยงาม ๓) หาดทรายที่มีสีขาวสะอาดสวยงาม ๔) หาดทรายที่มีเสียงเพลงบรรเลงไพเราะ สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๓ ข้อ ๒ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 19
  • 27. ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๒ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ในโลกนี้ไม่มีสิ่งใดจะทำลายโลกได้นอกจากมนุษย์ และมนุษย์ ก็กำลังทำลายโลกนี้ลงทุกวัน วันใดที่มนุษย์ทำลายโลกได้สำเร็จ วันนั้นก็คือวันที่มนุษย์สูญสิ้นเผ่าพันธุ์ ข้อใดเป็นข้อคิดของข้อความนี้ ๑) มนุษย์ทำได้ทุกอย่าง ๒) มนุษย์เป็นผู้ทำลายโลก ๓) มนุษย์กำลังจะสูญพันธุ์ ๔) มนุษย์เป็นผู้ทำลายมนุษย์ สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔ ข้อ ๖ สรุปความรูและข้อคิดจากเรืองทีอานเพือนำไปใช้ ้ ่ ่่ ่ ในชีวิตประจำวัน 20 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 28. ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๓ สรุปเรื่องที่อ่าน ฟังและดู “หากเราได้ยนเขาอวดอ้างสรรพคุณแต่ไม่เคยทดลองด้วยตนเอง ิ มีหรือจะรู้ว่ามันดีจริงหรือไม่ โดยเฉพาะเรื่องของธรรมะ หากเรา ไม่ลองปฏิบัติธรรมด้วยตนเอง แล้ววันใดเราจึงจะรู้ได้ว่าธรรมะ ดีอย่างไร” ข้อความข้างต้น สอดคล้องกับสำนวนใด ๑) เห็นช้างขี้ขี้ตามช้าง ๒) ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ๓) สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น ๔) สี่เท้ายังรู้พลาดนักปราชญ์ยังรู้พลั้ง สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕ ข้อ ๓ อธิ บ ายความหมายโดยนั ย จากเรื ่ อ งที ่ อ ่ า น อย่างหลากหลาย นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 21
  • 29. ❖ ตัวอย่างข้อสอบ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตัวชี้วัดความสามารถด้านภาษา ข้อ ๒ จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู การปรึกษาเพื่อนในอินเทอร์เน็ตนี้ แม้จะมีส่วนดีตรงที่เป็น ช่องทางให้ได้ระบายความทุกข์ได้ง่าย แต่ก็อาจมีอันตรายได้ ถ้ า คำแนะนำของเพื ่ อ นไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากความหวั ง ดี ห รื อ เจตนาดี หรือไม่เป็นคำแนะนำที่ดี ที่ถูกต้อง นอกจากนั้นเพื่อนที่ไม่มี ความเข้าใจชีวิตเพียงพออาจแนะไปในทางที่ทำให้เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวลเพิมขึนไปอีกก็ได้ ผูรบคำแนะนำจึงต้องใช้วจารณญาณ ่ ้ ้ั ิ ให้มาก ก่อนเชื่อคำแนะนำเหล่านั้นควรปรึกษาพ่อแม่ ครูอาจารย์ หรือผู้ที่ไว้วางใจเพิ่มด้วย ใจความสำคัญของข้อความนี้คือข้อใด ๑) วิธีใช้อินเทอร์เน็ต ๒) อันตรายจากการใช้อินเทอร์เน็ต ๓) ประโยชน์ที่ได้รับจากอินเทอร์เน็ต ๔) ข้อควรระมัดระวังในการใช้อินเทอร์เน็ต 22 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 30. สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และการคิด เพือนำไปใช้ตดสินใจแก้ปญหาในการดำเนินชีวต ่ ั ั ิ และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ชั้น ป.๖ ข้อ ๓ อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลา แล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 23
  • 31. นิยามความสามารถด้านคำนวณ Numeracy ค วามสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) เป็นความสามารถที่เน้น การนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยมีการกำหนดนิยามไว้ดังนี้ ❖ นิยาม ความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถ ในการใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะการคิดคำนวณ และความคิด รวบยอดทางคณิตศาสตร์ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ❖ คำสำคัญ (Keywords) ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการ แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้และการมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ทักษะการคิดคำนวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง ขนาดของมุม ชนิดและสมบัติ ของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเน การเกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ 24 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 32. ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ ๑. การสร้างจำนวน ปีที่ ๑ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และการแยกจำนวน (การแก้ปัญหา การสื่อสาร ๒. จำนวนเชิงอันดับที ่ และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์) และจำนวนเชิงการนับ ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้ ๓. การบวกจำนวนที่ม ี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ผลบวกไม่เกิน ๑๐๐ โดยเน้นความคิดรวบยอด ที่ไม่มีการทด ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับ ๔. การลบจำนวนที่ม ี ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์ การเปรียบเทียบ ตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐ ความยาว โดยไม่ใช้หน่วยมาตรฐาน ที่ไม่มีการกระจาย การจำแนกรูปเรขาคณิต ๕. การบวก ลบระคนจำนวน แบบรูปและความสัมพันธ์ ที่มีผลลัพธ์และตัวตั้ง ไม่เกิน ๑๐๐ ๖. การเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด ความยาวโดยไม่ใช้ ๑. ใช้ทักษะกระบวนการทาง หน่วยมาตรฐาน คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ ๗. การจำแนกลักษณะ เฉพาะของรูปร่าง เลือกแนวทางปฏิบัติหรือหา ่ คำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ๘. แบบรูปของจำนวนที ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิด เพิ่มขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ และลดลงทีละ ๑ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ ๙. แบบรูปของรูป ที่มีรูปร่าง ขนาด ตามขอบข่ายสิ่งเร้า นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 25
  • 33. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ๒. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๓. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่าย สิ่งเร้า ๔. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า 26 ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ หรือสีที่สัมพันธ์กัน อย่างใดอย่างหนึ่ง นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 34. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ๕. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็นตามขอบข่าย สิ่งเร้า ๑. ขนาดเชิงสัมพันธ์ของ ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จำนวน๑ ปีที่ ๒ (การสื่อสาร การสื่อความหมาย ๒. การบวกจำนวนที่ม ี ทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา โดย ผลบวกไม่เกิน ๑,๐๐๐ วิธีการที่หลากหลายและการให้เหตุผล) ๓. การลบจำนวนที่ม ี ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้ ตัวตั้งไม่เกิน ๑,๐๐๐ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ๔. ความหมายของการคูณ โดยเน้นความคิดรวบยอดทาง ตารางการคูณ การใช้ คณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกิน ตารางการคูณ ๑ นักเรียนควรจะเรียนรู้เรื่องขนาดเชิงสัมพัทธ์ของจำนวนเนื่องจากนักเรียนจำเป็นต้องเห็น ความเกี่ยวข้องกันของจำนวนในแต่ละหลัก เช่น ๑๐๐เป็นสิบเท่าของ ๑๐ หรือ ๑๐ เป็นเศษ หนึ่งส่วนสิบเท่าของ ๑๐๐ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สำคัญของการขยายแนวคิดในการเรียนรู้เรื่อง จำนวนจากการเรียนรูในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ้ นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 27
  • 35. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ หนึ่งพันและศูนย์ ความยาว เงิน เพื่อบอกปริมาณของ และเวลา การบอกชนิด และการเขียน สิ่งที่มีอยู่รอบตัว รูปเรขาคณิตสองมิติ การบอกชนิด และสมบัติการสลับที ่ รูปเรขาคณิตสามมิติ การจำแนก การคูณ ระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ๕. การคูณจำนวนหนึ่งหลัก กับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปวงกลม กับจำนวนไม่เกินสองหลัก กับทรงกลม แบบรูปและความสัมพันธ์ ๖. การหารที่ตัวหารและ ผลหารมีหนึ่งหลัก ตัวชี้วัด ๗. การบวก ลบ คูณ ๑. ใช้ทักษะกระบวนการทาง หารระคน คณิตศาสตร์ หรือทักษะ ๘. การเปรียบเทียบความยาว การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เงิน (การบวก การลบ) เลือกแนวทางปฏิบัติหรือหา และการบอกเวลา๒ คำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ๙. รูปเรขาคณิตสองมิต ิ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ กับรูปเรขาคณิตสามมิติ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ๑๐. แบบรูปของจำนวน เรื่องจำนวนและการดำเนินการ ที่เพิ่มขึ้นทีละ ๕ ตามขอบข่ายสิ่งเร้า ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ ๒ 28 การเรียนรู้เรื่องความยาวในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เป็นการขยายแนวคิด จากชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ โดยนำหน่วยมาตรฐานมาใช้ในการเปรียบเทียบความยาว (เช่น เซนติเมตร, มิลลิเมตร และเมตร) ซึ่งเป็นการสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับหน่วยในการวัด และเป็นเครื่องมือ ที่สำคัญในการขยายความคิดไปใช้ในเรื่องปริมาตร น้ำหนัก และความจุในชั้นอื่น ๆ ได้ ในระดับ ชั้นนี้ต้องเน้นให้นักเรียนมีความรู้เรื่องดังกล่าว นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 36. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ๒. ใช้ทักษะกระบวนการทาง ๑๑. แบบรูปของจำนวน คณิตศาสตร์ หรือทักษะ ที่ลดลงทีละ ๒ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ ๑๒. แบบรูปของรูป หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่มีรูปร่าง ขนาด ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ หรือสีที่สัมพันธ์กัน ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๓. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่กำหนดเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๔. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 29
  • 37. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ๕. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็นตามขอบข่ายสิ่งเร้า ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ ๑. การคูณด้วย ๐ ปีที่ ๓ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ การคูณด้วย ๑๐ (การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง การคูณด้วย ๑๐๐ คณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาโดยวิธีการ ๒. การคูณจำนวนหนึ่งหลัก ที่หลากหลาย และการให้เหตุผล) กับจำนวนไม่เกินสี่หลัก ทักษะการคิดคำนวณมาประยุกต์ใช้ ๓. ความหมายของการหาร ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การหารที่ตัวตั้งมีค่า โดยเน้นความคิดรวบยอดทาง เท่ากับ ๐ คณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนนับ ๔. การหารที่ตัวตั้ง ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ การเปรียบเทียบ ไม่เกินสี่หลักและ และการคาดคะเน (ความยาว น้ำหนัก ตัวหารมีหนึ่งหลัก ปริมาตร หรือความจุ) เงิน และเวลา ๕. การบวก ลบ คูณ การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิต หารระคน ิ 30 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 38. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิต ๖. การเปรียบเทียบและ สามมิติ แบบรูปและความสัมพันธ์ คาดคะเนความยาว การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ และแผนภูมิแท่ง เงิน และเวลา ๗. การอ่านและเขียนบันทึก ตัวชี้วัด รายรับ รายจ่าย กิจกรรม ๑. ใช้ทักษะกระบวนการทาง หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา คณิตศาสตร์ หรือทักษะ ๘. การบอกชนิดของ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ รูปเรขาคณิตสองมิต ิ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ ที่เป็นส่วนประกอบของ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ รูปเรขาคณิตสามมิติ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ๙. แบบรูปของจำนวน ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ที่เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ ตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๑๐. แบบรูปของจำนวน ๒. ใช้ทักษะกระบวนการทาง ที่ลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ คณิตศาสตร์ หรือทักษะ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ ๑๑. แบบรูปซ้ำ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ๑๒. แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาดหรือสีที่สัมพันธ์กัน ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ สองลักษณะ เรื่องการวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 31
  • 39. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ๓. ใช้ทักษะกระบวนการทาง ๑๓. การอ่านแผนภูมิรูปภาพ คณิตศาสตร์ หรือทักษะ และแผนภูมิแท่ง การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๔. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องพีชคณิตตามขอบข่ายสิ่งเร้า ๕. ใช้ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ หรือทักษะ การคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจ เลือกแนวทางปฏิบัติหรือ หาคำตอบจากสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็นตามขอบข่ายสิ่งเร้า 32 นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities
  • 40. ระดับชั้น ความสามารถและตัวชี้วัด ขอบข่ายสิ่งเร้า/ สาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา ความสามารถในการใช้ทักษะ ๑. การคูณจำนวนหนึ่งหลัก ปีที่ ๔ กับจำนวนมากกว่าสี่หลัก กระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง ๒. การคูณจำนวนมากกว่า คณิตศาสตร์ การแก้ปัญหาโดยวิธีการ หนึ่งหลักกับจำนวน มากกว่าสองหลัก ที่หลากหลาย การใช้เทคโนโลยี การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ ๓. การหารที่มีตัวหาร และสรุปผล) ทักษะการคิดคำนวณ ไม่เกินสามหลัก มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ๔. การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ ในชีวิตประจำวัน โดยเน้นความคิด และศูนย์ รวบยอดทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ ๕. การบวก ลบเศษส่วน จำนวนนับและศูนย์ เศษส่วนที่ม ี ที่มีตัวส่วนเท่ากัน ตัวส่วนเท่ากัน ทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง ๖. การเฉลี่ย การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ๗. การหาพื้นที่เป็น การเปรียบเทียบและการคาดคะเน ตารางหน่วยและ (ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ตารางเซนติเมตร หรือความจุ) เงิน และเวลา ๘. การหาพื้นที่ของ การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิต รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ิ ที่เป็นส่วนประกอบของรูป ๙. การคาดคะเนความยาว เรขาคณิตสามมิติ เส้นขนาน แบบรูป น้ำหนัก ปริมาตร หรือความจุ และความสัมพันธ์ การอ่านข้อมูล จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง ๑๐.การเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย และตาราง นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา ด้านคำนวณ และด้านเหตุผล Literacy, Numeracy Reasoning Abilities 33