SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
หน่วยการเรียนรูที่ 2
               ้
ระบบห่อหุมร่างกาย
         ้
ชวนคิด ชวนคุย !
นักเรียนทราบหรือไม่ว่า อวัยวะที่อยูในร่างกาย
                                   ่
ของเรา เช่น หลอดเลือด หัวใจกระดูก กล้ามเนื้อ
ถูกห่อหุมด้วยอะไร ?
        ้
ผิวหนัง (Skin)
ผิวหนัง
เป็ นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย
มีเนื้อที่ 2 ตารางเมตร หนัก 3 kg หนา – บาง 1-3
  มิลลิเมตร
ส่วนที่หนาที่สุด คือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้า
ส่วนที่บางที่สุด คือ หนังตา และหลังหู
โครงสร้างของผิวหนัง
ผิวหนัง แบ่งออกเป็ น 2 ชั้น คือ
 งกาพร้า
  หนั
 งแท้
  หนั
โครงสร้างของผิวหนัง
1.หนังกาพร้า : เป็ นเยือคลุมชั้นนอกของร่างกาย
                       ่
องค์ประกอบ คือ เนื้อเยือบุผิว และเซลล์ผิวที่เรียงตัวเป็ นชั้นๆ
                          ่
เซลล์บุผิวที่อยูช้นนอกสุดเป็ นเซลล์ที่ตายแล้วและจะหลุดออกมา
                ่ ั
เป็ นขี้ไคล เซลล์เยือบุผิวที่อยูช้นในสุดติดกับหนังแท้เป็ นเซลล์ที่ยงมี
                     ่          ่ ั                                ั
ชีวิตอยู่
หน้าที่ คือ ผลิตเซลล์บุผิวเซลล์ใหม่ข้ ึนมาแทนเซลล์ที่ตายแล้วอยู่
เรือยๆและยังเป็ นชั้นของเซลล์ที่มีเม็ดสีเมลานิน ซึ่งทาให้ผิวหนัง
   ่
มีสี ผิวหนังชั้นนี้ไม่มีหลอดเลือด เส้นประสาท และต่อมต่างๆ และ
ห่อหุมร่างกายไม่ให้มีเชื้อโรคหลุดเข้าไปในร่างกาย
      ้
โครงสร้างของผิวหนัง
สีของผิวหนัง: เกิดจากจานวนเม็ดสีเมลานิน ซึ่งอยูในเซลล์เมลาโนไซท์ เซลล์
                                               ่
ชนิดนี้เป็ นตัวกาหนดสีผิวของแต่ละคน หากมีเม็ดสีมากสีผิวจะดา ถ้ามีเม็ดสี
น้อยสีผิวจะขาว และผิวหนังที่มีถูกแสงแดดมากผิวจะคล้า เพราะแสงแดด
สามารถกระตุนการผลิตเม็ดสีเมลานินได้
               ้
    การผลิตเม็ดสีของเซลล์มลาโนไซท์น้นอยูในการควบคุมของยีน คนใดที่
                                     ั
ไม่มียนสาหรับควบคุมการสร้างไทโรไซนัส คนๆนั้นจะมีสีผิวผิดปกติ เรียกว่า
      ี
คนเผือก หรือบางที่เซลล์เมลาโนไซท์รวมตัวกันเป็ นกลุ่มทาให้เกิดการตกกระ
โครงสร้างของผิวหนัง
2.หนังแท้ : เป็ นชั้นที่อยูถดจากหนังกาพร้าเข้าไป
                           ่ ั
องค์ประกอบ
   ้ อเยื้อยึดเหนี่ยว : มีเนื้อเยือไขมันมายึดกันเป็ นผิวหนังและยึด
     เนื                           ่
     ส่วนประกอบอื่นๆไว้
    หลอดเลือดฝอย : มีอยูมากมายเพื่อทาหน้าที่นาเลือดมาหล่อเลี้ยง
                             ่
     ผิวหนัง
   นประสาท : มีกระจัดกระจายอยูทั ่วไป ทาหน้าที่รบความรูสึกต่างๆ
     เส้                                 ่                ั      ้
     จากภายนอก เช่น ความร้อน ความเย็น ความเจ็บปวด การสัมผัส และ
     รายงานสู่สมอง
 ต่อมเหงื่อ:มีลกษณะเป็ นท่อยาว
                ั                  เป็ นท่อขดไปมาจนเป็ นก้อนกลมหรือก้อน
  รูปไข่ อยูเนื้อเยือใต้หนังหรือในส่วนลึกของหนังแท้ ต่อมเหงื่อพบเกือบทุก
            ่       ่
  แห่งของร่างกาย มีจานวนมากที่ฝ่ามือและฝ่ าเท้า
ต่อมไขมัน :พบได้ในผิวหนังเกือบทั้งหมดที่มีขน มีมากที่หนังศีรษะ ใบหน้ามี
ลักษณะเป็ นถุงและท่อเปิ ดออกที่รูขุมขน มีหน้าที่ขบน้ ามันออกมาทาให้
                                                 ั
ผิวหนังและเส้นผมชุ่มชื้นและมีความยืดหยุน ่
ขนหรือผม :งอกจากรากขนหรือผมที่อยูในส่วนลึกของผิวหนังชั้นนี้และจะ
                                 ่
โผล่พนผิวหนังทางรูขุมขน
     ้
                                           สร้างจากเซลล์ผิวหนัง
                                        ในรูปของสารโปรตีนชนิด
                                        แข็งที่เรียกว่า “เครา
                                        ติน” ผสมด้วยสาร
                                        ประเภทเมลานินิ จะมี
                                        การแบล่งเซลล์ที่กน  ้
                                        ถุง เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น จะ
                                        ตายตั้งแต่อยูในถุง และถูก
                                                       ่
                                        ดันขึ้นมาเรื่อยๆ
เนื้อเยือใต้ผิวหนัง:เป็ นผิวหนังที่อยูใต้ช้นหนังแท้ลงไปประกอบด้วยเนื้อเยื่อ
        ่                             ่ ั
ไขมันเป็ นส่วนใหญ่ มีเนื้อเยือเกี่ยวพันประสานกันหลวมๆ ซึ่งแบ่งโดยผนัง
                              ่
กั้นบางๆประกอบด้วยเส้นใยคอลลาเจนและเส้นเลือด ทาหน้าที่คล้ายฉนวน
กันความร้อน
และเป็ นเบาะกันสะเทือนได้เป็ นอย่างดี
ต่อมต่างๆของผิวหนัง
ชั้นของหนังแท้ประกอบด้วยต่อม 2 ชนิด คือ
     ต่อมเหงื่อ
     ต่อมไขมัน
ต่อมทั้งสองมีลกษณะและหน้าที่ที่มีความแตกต่างกันซึ่งอยูใน
               ั                                      ่
ชั้นใต้ผิวหนัง
ต่อมเหงื่อ
 เจริญมาจากหนังกาพร้าชั้นลึก
 มีลกษณะเป็ นท่อเดี่ยวเล็กๆขดไปมาเป็ น
     ั
  ก้อนหรือก้อนรูปไข่ อยูลึกลงไปในชั้นล่าง
                          ่
  ของหนังแท้และเยือใต้ผิวหนัง
                       ่
 ทาหน้าที่หลั ่งเหงื่อจะไหลออกมาทางต่อม
  เหงื่อผ่านชั้นหนังแท้และออกสูรางกาย ในรู
                                ่่
  เปิ ดในชั้นของหนังกาพร้า ซึ่งจะมีรูรูปกรวย
  เล็กๆเรียกว่า รูเหงื่อ
 สามารถมองเห็นได้โดยใช้แว่นขยาย
 พบทุกส่วนของร่างกาย จะมีมากบริเวณฝ่ า
  มือและฝ่ าเท้า
 ต่อมเหงื่อมี 2   ล้านต่อมจะขับเหงื่อออกจากร่างกายในรูปของ ยูเรีย
  น้ า และเกลือแร่
 เหงื่อช่วยรักษาความชุ่มชื้นให้กบผิวหนัง
                                  ั
 รักษาสภาวะสมดุของน้ าในร่างกาย
 ต่อมเหงื่อทั ่วร่างกายจะทางานไม่พร้อมกัน
 ต่อมเหงื่อบริเวณหน้าผากจะมีการตอบสนองการขับเหงื่อออกมาเป็ น
  อันดับแรกและบริเวณที่ตอบสนองสุดท้าย คือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้า
ต่อมไขมัน
เป็ นต่อมรูปกระเปาะเล็กๆ อยูใน  ่
  ชั้นหนังแท้
สร้างน้ ามันซึมออกมาภายนอก
  ร่างกายทางรูขุมขน
น้ ามันจากต่อมไขมัน ปองกัน
                         ้
  ไม่ให้น้ าเข้า – ออกจากร่างกาย
ทาให้ผิวหนังชุ่มชื้นไม่หยาบ
  กร้าน
ต่อมไขมันขับไขมันออกมามาก
  เกินไปทาให้ผิวหนังอักเสบ ท่อ
  ไขมันอุดตัน จนเกิดสิว
หน้าที่ของผิวหนัง
 ช่วยปองกันอันตรายต่างๆที่รางกายอาจได้รบ
       ้                    ่           ั   เช่น ปองกันอันตรายจาก
                                                  ้
  สารเคมี รังสีจากแดด การรบกวนเสียดสี
 ปองกันการแทรกซึมของเชื้อโรคต่างๆ เช่น ยับยังการแพร่กระจายของ
   ้                                            ้
  เชื้อโรค
 ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยูในระดับปกติ คือ 37 0C เช่ น การหดและ
                                    ่
  ขยายตัวของหลอดเลือดที่ผวหนัง การระเหยของเหงื่อ
                           ิ
 รักษาความชุ่มชื้นของร่างกาย โดยการสร้างไขมันมาหล่อเลี้ยงผิวหนัง
 ขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายในรูปของเหงื่อ
 เป็ นแหล่งสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย โดยให้แสงแดดเป็ นตัวช่วย
  สังเคราะห์สารเฮอร์โกสเตอรอยที่ผิวหนังให้เป็ นวิตามินดี ปองกันโรค
                                                          ้
  กระดูกพรุน
 เป็ นอวัยวะรับความรูสึกต่างๆ
                       ้
การบารุงรักษา
         จากโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังที่กล่าวมาแล้ว จะเห็น
ว่ า ผิ ว หนัง เป็ นที่ ส ะสมสิ่ ง ต่า งๆที่ ขับ ออกมาจากร่า งกาย เช่ น
เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว เหงื่อไคล ไขมัน รวมทั้งสิ่งต่างๆจากภายนอก
ที่ เ ข้ า มา เกี่ ยว ข้ อ งกั บ ผิ ว หนั ง เช่ น ฝุ่ นละ ออ ง เชื่ อโ รค
เครื่ อ งส าอาง นอกจากนี้ ยัง มี แ บคที เ รี ย ชนิ ด ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้เ กิ ด
อันตรายอาศัยอยู่ดวย หากไม่ทาการชะล้างสิ่งเหล่านี้ออกไปจะ
                          ้
เกิ ด การหมั ก หมมบนผิ ว หนั ง จนท าให้เ กิ ด ความผิ ด ปกติ ข อง
ผิ ว หนั ง เช่ น สิ ว กลิ่ น ตัว ผดผื่ น และโรคผิ ว หนั ง อื่ น ๆ ท าให้
ผิวหนังขาดความสวยงามน่ารังเกียจ
ความผิดปกติของผิวหนัง
1.สิว : เกิดจากหลายสาเหตุดงนี้ ั
        การเปลียนแปลงของฮอร์ โมนเพศ
                  ่
         ในช่ วงวัยรุ่น
        ดจากเชื้อจุลนทรีย์ทอยู่ในต่ อม
         เกิ             ิ  ี่
         ไขมันและรูขุมขนมีมาก
          ผิดปกติ
        เครื่องสาอางทีมีนามันมากทา
         การใช้            ่ ้
         ให้ อุดตันรูขุมขน
        กผ่อนไม่ เพียงพอ
         การพั
        ญหาสุ ขภาพ ฮอร์ โมน และ
         ปั
         กรรมพันธุ์
ความผิดปกติของผิวหนัง
2.ตาปลา
     เกิดจากแรงกดหรือแรงเสียดสีผิวหนังบริเวณนั้นบ่อยๆ ทา
      ให้ผิวหนังค่อยๆด้าน และหนาตัว
      ขึ้น มีลกษณะเป็ นเม็ดกลมๆ แข็ง คล้ายตาปลา
              ั
      จริงๆ
    ตาปลาจะเกิดบริเวณนิ้วเท้า หรือฝ่ าเท้า เนื่องจากใส่รองเท้า
       คับเกินไป
     กษาต้องตัดทิ้ง คว้านออก
     การรั
ความผิดปกติของผิวหนัง
3.กลิ่นตัว
       เกิดจากปฏิกิริยาเคมีของกรดไขมันจากต่อมเหงื่อ เซลล์บุ
        ผิวที่ตายแล้ว เหงื่อรวมกับแบคทีเรียและความชื้นเกิดเป็ น
        กลิ่นตัว
      หากกลิ่นตัวแรง ควรอาบน้ าวันละ 2 ครั้ง ฟอกสบู่บริเวณ
        รักแร้ ขาหนีบ ใต้คอและหลังหู
       ามีกลิ่นตัวแรงควรใช้สารส้มทาบริเวณรักแร้หลังอาบน้ า
       ถ้
        ทุกครั้ง
ความผิดปกติของผิวหนัง
4.โรคราที่เท้า (Hongkong foot)
      เกิ ด จากเชื้ อราติ ด ที่ เ ท้า เนื่ อ งจากสวมใส่ร องเท้า ที่ อับ ชื้ น
       หรือเดินลุยน้ าสกปรก ทาให้มีอาการคันบริเวณซอกนิ้วเท้า
       และอาการคันจะเพิ่มมากขึ้นหากมีการเกาจะทา                        ใ ห้
       เป็ นขุ ย มี ก ลิ่ น เหม็ น หากเป็ นนานๆ จะมี เ นื้ อนู น และ
       เป็ นขุยลุกลามไปบริเวณใกล้เคียง
      กษาอย่าให้เท้าอับชื้น
      การรั
      กษาหายแล้วไม่ควรสวมถุงเท้าหรือรองเท้าคู่เดิมอีก
      หากรั
       เพราะมีเชื้อราติดอยู่
     หากจะนามาใช้ควรนาไปต้มหรืออบฟอร์มาลีนเพื่อฆ่าเชื้อ
ความผิดปกติของผิวหนัง
5.ผิวหนังกร้านและไหม้เกรียม
     ผิวหนังต้องสัมผัสกับแสงแดดเป็ นประจาและรับสีอัลตราไวโอเลต
      อย่างรุนแรงเป็ นเวลานานทาให้เกิดอาการคัน ระคายเคือง ผิวหนัง
      มีสีแดงและแสบมาก เพราะเซลล์ผิวหนังถูกทาลาย
     วหนังถูกแดดเป็ นเวลานานปี อาจเกิดรอยเหี่ยวย่น พับเป็ นเส้น
     หากผิ
      มีรอยด่างหรือเหลือง หรืออาจเป็ นมะเร็งผิวหนัง
     ้ องกัน ควรสวมใส่เสื้อผ้าที่ปกปิ ดมิ ดชิดเมื่ ออยู่กลางแดด และ
     การป
      ทาครี ม กัน แดดหรื อ สารกรองแสงเพื่ อ ป องกัน ไม่ ใ ห้ผิ ว หนั ง ไหม้
                                             ้
      เกรียม
ความผิดปกติของผิวหนัง
      สารกันแดดจะประกอบด้ วยสารเคมีทเี่ รียกว่ า พารา-อะมิโนเบนโซอิคแอสิ ด
ทีละลายในแอลกอฮอล์ สารเคมีนีจะเคลือบชั้นบนสุ ดของหนังกาพร้ าไว้ สารกรอง
  ่                             ้
แสงแดดจะมีการจัดขีดความสามารถของสารกันแดด ทีเ่ รียกว่ า องค์ ประกอบของ
สารปองกันแสง (SPF) ซึ่งจาแนกตั้งแต่ 0 – 15
    ้
      หมายเลข 0        ไม่ มีความสามารถในการปองกันแสงอาทิตย์
                                                    ้
      หมายเลข 2        ป้ องกันแสงอาทิตย์ได้ เล็กน้ อย
      หมายเลข 4 – 6 ป้ องกันแสงอาทิตย์ได้ ปานกลางผิวเปลียนเป็ นสี นาตาล
                                                            ่            ้
                       เข้ มขึน
                              ้
      หมายเลข 8 – 10 ป้ องกันผิวไหม้ เกรียมเนื่องจากถูกแดดได้ ผิวอาจมีสีนา   ้
                       ตาลเข้ มขึน้
      หมายเลข 15       ป้ องกันแสงอาทิตย์ ได้ ดทสุด เหมาะสาหรับคนผิวบาง
                                               ี ่ี
                       จะป้ องกันแดดได้ นาน 15 เท่ าของภาวะทีไม่ ได้ ใช้ ยาโดย
                                                              ่
                       ไม่ มีอาการผิวไหมเกรียมแต่ อย่ างใด
ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ
                             ้
1.เล็บ:
       เป็ นส่ วนของเซลล์ช้ันหนังกาพร้ าที่ตายแล้ว
       ญมาจากเซลล์ที่มีชีวตในชั้นล่างทีเ่ ลือนขึนมาอัดแน่ นเป็ นแผ่ น
       เจริ                     ิ             ่ ้
        แข็ง ยืดหยุ่นได้
      การงอกของเล็บเฉลีย 1 มม. ใน 1 สั ปดาห์ หรือ 3 มม.ใน 1เดือน
                            ่
       บเท้ าจะงอกช้ ากว่ าเล็บมือ
       เล็
      การงอกของเล็บบางคนอาจจะผิดปกติ เนื่องจากติดเชื้อรา
       ารุงรักษาเล็บควรตัดให้ ส้ั นอยู่เสมอ และหมั่นรักษาความ
       การบ
        สะอาด
ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ
                            ้
2.ขนหรือผม
     นส่ วนที่เจริญมาจากหนังกาพร้ าส่ วนลึก ที่โคนขนได้ รับเลือด
     เป็
       มาเลียง และมีเส้ นประสาทควบคุมอยู่
            ้
    ส่ วนที่โผล่ขึนมาพ้นผิวหนังเป็ นส่ วนของเซลล์ที่ตายแล้ว
                   ้
    ขนทุกเส้ นประกอบด้ วยเส้ นขน รากขน และรูขุมขน
ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ
                            ้
เส้นขน :เป็ นส่วนของขนที่โผล่พนผิวหนังขึ้นมา
                                ้
รากขน :เป็ นส่วนที่ฝังอยูในรูผิวหนังเฉียง ดังนั้นเส้นขนจึงเฉียง
                         ่
ขุมขน :เป็ นส่วนของหนังกาพร้าและหนังแท้ ยืนลึกเข้าไปถึงเยื่อใต้หนังมา
                                                  ่
        ประกอบเป็ นท่อล้อมรากขน มีท่อของต่อมไขมันมาเปิ ดสู่ขุมขน
ผม     :เป็ นขนที่ยาวมาก ปกติคนจะมีเส้นผมจานวน 12,0000 เส้น ผมจะ
       ร่วงและงอกขึ้นมาใหม่อยูตลอดโดยมีอตราการงอกยาวประมาณ
                                  ่             ั
       2.5 เซนติเมตร ต่อเดือน ความผิดปกติของเส้นผม ได้แก่ ผมร่วง
       เนื่องจากขาดสารอาหาร แพ้ยาสระผม หรือต่อมไทรอยด์ทางาน
       น้อยผิดปกติ
กิจกรรมที่ 3 ระบบห่อหุมร่างกาย
                                       ้
1.ระบบห่ อหุ้มร่ างกาย มีหน้ าทีสาคัญ คือ _________________
                                ่
2.สารเมลานินทีอยู่ในชั้นผิวหนัง มีหน้ าที่ _________________
                  ่
3.เมือร่ างกายได้ รับความร้ อนมากกว่ าปกติ ต่ อมเหงือบริเวณใดจะผลิตเหงือออกมา
      ่                                             ่                  ่
   เป็ นอันดับแรกและอันดับสุ ดท้ าย____________________
4.เหงื่อทีผลิตออกมาบนผิวหนังมีผลเสี ยอย่ างไรบ้ าง_____________
            ่
5.เหงือที่ไหลออกมาจากร่ างกายประกอบด้ วย______________
          ่
6.ถ้ าต่ อมไขมันขับไขมันออกมาเกินไปจะเกิดผลกับผิวหนัง คือ_______
7.ต่ อมไขมันมีหน้ าที่_________________________
8.กลินตัวเกิดจาก__________________________
        ่
9.โรคผิวหนังชนิดใดบ้ างเกิดจากเชื้อรา_________________
10.ถ้ าผิวแตกและแห้ งกร้ านมีวิธีรักษา คือ_______________

More Related Content

What's hot

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
Kang ZenEasy
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 
จิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการจิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการ
Pichitpol Chuenchom
 
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos""Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
Yumiko Grimmie
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 
Cyclophyllidean Tapeworms
Cyclophyllidean TapewormsCyclophyllidean Tapeworms
Cyclophyllidean Tapeworms
raj kumar
 

Viewers also liked (20)

ระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนังระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนัง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
Education ppt-template-022
Education ppt-template-022Education ppt-template-022
Education ppt-template-022
 
การสมัครเว็บบล็อก
การสมัครเว็บบล็อกการสมัครเว็บบล็อก
การสมัครเว็บบล็อก
 
PTSD and Allostatic Load: Beneath the skin interrupting the pathways to path...
PTSD and Allostatic Load:  Beneath the skin interrupting the pathways to path...PTSD and Allostatic Load:  Beneath the skin interrupting the pathways to path...
PTSD and Allostatic Load: Beneath the skin interrupting the pathways to path...
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แมลง ยุง
แมลง ยุงแมลง ยุง
แมลง ยุง
 
จิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการจิตวิทยาการบริการ
จิตวิทยาการบริการ
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
5ทฤษฎีผิว
5ทฤษฎีผิว5ทฤษฎีผิว
5ทฤษฎีผิว
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos""Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
 
Nl 2010 nctms
Nl 2010 nctmsNl 2010 nctms
Nl 2010 nctms
 
Skin pathology
Skin pathologySkin pathology
Skin pathology
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Cyclophyllidean Tapeworms
Cyclophyllidean TapewormsCyclophyllidean Tapeworms
Cyclophyllidean Tapeworms
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
Chok Ke
 
ClearFace - Acne 101
ClearFace - Acne 101ClearFace - Acne 101
ClearFace - Acne 101
Piyaratt R
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
Chok Ke
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์
supphawan
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
Wichai Likitponrak
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2 (20)

9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
ผิวสวยด้วย Enummi
ผิวสวยด้วย Enummiผิวสวยด้วย Enummi
ผิวสวยด้วย Enummi
 
สุข
สุขสุข
สุข
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ClearFace - Acne 101
ClearFace - Acne 101ClearFace - Acne 101
ClearFace - Acne 101
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
Body
BodyBody
Body
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2

  • 1. หน่วยการเรียนรูที่ 2 ้ ระบบห่อหุมร่างกาย ้
  • 2. ชวนคิด ชวนคุย ! นักเรียนทราบหรือไม่ว่า อวัยวะที่อยูในร่างกาย ่ ของเรา เช่น หลอดเลือด หัวใจกระดูก กล้ามเนื้อ ถูกห่อหุมด้วยอะไร ? ้
  • 3. ผิวหนัง (Skin) ผิวหนัง เป็ นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย มีเนื้อที่ 2 ตารางเมตร หนัก 3 kg หนา – บาง 1-3 มิลลิเมตร ส่วนที่หนาที่สุด คือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้า ส่วนที่บางที่สุด คือ หนังตา และหลังหู
  • 4.
  • 5. โครงสร้างของผิวหนัง ผิวหนัง แบ่งออกเป็ น 2 ชั้น คือ  งกาพร้า หนั  งแท้ หนั
  • 6. โครงสร้างของผิวหนัง 1.หนังกาพร้า : เป็ นเยือคลุมชั้นนอกของร่างกาย ่ องค์ประกอบ คือ เนื้อเยือบุผิว และเซลล์ผิวที่เรียงตัวเป็ นชั้นๆ ่ เซลล์บุผิวที่อยูช้นนอกสุดเป็ นเซลล์ที่ตายแล้วและจะหลุดออกมา ่ ั เป็ นขี้ไคล เซลล์เยือบุผิวที่อยูช้นในสุดติดกับหนังแท้เป็ นเซลล์ที่ยงมี ่ ่ ั ั ชีวิตอยู่ หน้าที่ คือ ผลิตเซลล์บุผิวเซลล์ใหม่ข้ ึนมาแทนเซลล์ที่ตายแล้วอยู่ เรือยๆและยังเป็ นชั้นของเซลล์ที่มีเม็ดสีเมลานิน ซึ่งทาให้ผิวหนัง ่ มีสี ผิวหนังชั้นนี้ไม่มีหลอดเลือด เส้นประสาท และต่อมต่างๆ และ ห่อหุมร่างกายไม่ให้มีเชื้อโรคหลุดเข้าไปในร่างกาย ้
  • 7. โครงสร้างของผิวหนัง สีของผิวหนัง: เกิดจากจานวนเม็ดสีเมลานิน ซึ่งอยูในเซลล์เมลาโนไซท์ เซลล์ ่ ชนิดนี้เป็ นตัวกาหนดสีผิวของแต่ละคน หากมีเม็ดสีมากสีผิวจะดา ถ้ามีเม็ดสี น้อยสีผิวจะขาว และผิวหนังที่มีถูกแสงแดดมากผิวจะคล้า เพราะแสงแดด สามารถกระตุนการผลิตเม็ดสีเมลานินได้ ้ การผลิตเม็ดสีของเซลล์มลาโนไซท์น้นอยูในการควบคุมของยีน คนใดที่ ั ไม่มียนสาหรับควบคุมการสร้างไทโรไซนัส คนๆนั้นจะมีสีผิวผิดปกติ เรียกว่า ี คนเผือก หรือบางที่เซลล์เมลาโนไซท์รวมตัวกันเป็ นกลุ่มทาให้เกิดการตกกระ
  • 8. โครงสร้างของผิวหนัง 2.หนังแท้ : เป็ นชั้นที่อยูถดจากหนังกาพร้าเข้าไป ่ ั องค์ประกอบ  ้ อเยื้อยึดเหนี่ยว : มีเนื้อเยือไขมันมายึดกันเป็ นผิวหนังและยึด เนื ่ ส่วนประกอบอื่นๆไว้  หลอดเลือดฝอย : มีอยูมากมายเพื่อทาหน้าที่นาเลือดมาหล่อเลี้ยง ่ ผิวหนัง  นประสาท : มีกระจัดกระจายอยูทั ่วไป ทาหน้าที่รบความรูสึกต่างๆ เส้ ่ ั ้ จากภายนอก เช่น ความร้อน ความเย็น ความเจ็บปวด การสัมผัส และ รายงานสู่สมอง
  • 9.  ต่อมเหงื่อ:มีลกษณะเป็ นท่อยาว ั เป็ นท่อขดไปมาจนเป็ นก้อนกลมหรือก้อน รูปไข่ อยูเนื้อเยือใต้หนังหรือในส่วนลึกของหนังแท้ ต่อมเหงื่อพบเกือบทุก ่ ่ แห่งของร่างกาย มีจานวนมากที่ฝ่ามือและฝ่ าเท้า
  • 10. ต่อมไขมัน :พบได้ในผิวหนังเกือบทั้งหมดที่มีขน มีมากที่หนังศีรษะ ใบหน้ามี ลักษณะเป็ นถุงและท่อเปิ ดออกที่รูขุมขน มีหน้าที่ขบน้ ามันออกมาทาให้ ั ผิวหนังและเส้นผมชุ่มชื้นและมีความยืดหยุน ่
  • 11. ขนหรือผม :งอกจากรากขนหรือผมที่อยูในส่วนลึกของผิวหนังชั้นนี้และจะ ่ โผล่พนผิวหนังทางรูขุมขน ้ สร้างจากเซลล์ผิวหนัง ในรูปของสารโปรตีนชนิด แข็งที่เรียกว่า “เครา ติน” ผสมด้วยสาร ประเภทเมลานินิ จะมี การแบล่งเซลล์ที่กน ้ ถุง เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น จะ ตายตั้งแต่อยูในถุง และถูก ่ ดันขึ้นมาเรื่อยๆ
  • 12. เนื้อเยือใต้ผิวหนัง:เป็ นผิวหนังที่อยูใต้ช้นหนังแท้ลงไปประกอบด้วยเนื้อเยื่อ ่ ่ ั ไขมันเป็ นส่วนใหญ่ มีเนื้อเยือเกี่ยวพันประสานกันหลวมๆ ซึ่งแบ่งโดยผนัง ่ กั้นบางๆประกอบด้วยเส้นใยคอลลาเจนและเส้นเลือด ทาหน้าที่คล้ายฉนวน กันความร้อน และเป็ นเบาะกันสะเทือนได้เป็ นอย่างดี
  • 13. ต่อมต่างๆของผิวหนัง ชั้นของหนังแท้ประกอบด้วยต่อม 2 ชนิด คือ ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน ต่อมทั้งสองมีลกษณะและหน้าที่ที่มีความแตกต่างกันซึ่งอยูใน ั ่ ชั้นใต้ผิวหนัง
  • 14. ต่อมเหงื่อ  เจริญมาจากหนังกาพร้าชั้นลึก  มีลกษณะเป็ นท่อเดี่ยวเล็กๆขดไปมาเป็ น ั ก้อนหรือก้อนรูปไข่ อยูลึกลงไปในชั้นล่าง ่ ของหนังแท้และเยือใต้ผิวหนัง ่  ทาหน้าที่หลั ่งเหงื่อจะไหลออกมาทางต่อม เหงื่อผ่านชั้นหนังแท้และออกสูรางกาย ในรู ่่ เปิ ดในชั้นของหนังกาพร้า ซึ่งจะมีรูรูปกรวย เล็กๆเรียกว่า รูเหงื่อ  สามารถมองเห็นได้โดยใช้แว่นขยาย  พบทุกส่วนของร่างกาย จะมีมากบริเวณฝ่ า มือและฝ่ าเท้า
  • 15.  ต่อมเหงื่อมี 2 ล้านต่อมจะขับเหงื่อออกจากร่างกายในรูปของ ยูเรีย น้ า และเกลือแร่  เหงื่อช่วยรักษาความชุ่มชื้นให้กบผิวหนัง ั  รักษาสภาวะสมดุของน้ าในร่างกาย  ต่อมเหงื่อทั ่วร่างกายจะทางานไม่พร้อมกัน  ต่อมเหงื่อบริเวณหน้าผากจะมีการตอบสนองการขับเหงื่อออกมาเป็ น อันดับแรกและบริเวณที่ตอบสนองสุดท้าย คือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้า
  • 16. ต่อมไขมัน เป็ นต่อมรูปกระเปาะเล็กๆ อยูใน ่ ชั้นหนังแท้ สร้างน้ ามันซึมออกมาภายนอก ร่างกายทางรูขุมขน น้ ามันจากต่อมไขมัน ปองกัน ้ ไม่ให้น้ าเข้า – ออกจากร่างกาย ทาให้ผิวหนังชุ่มชื้นไม่หยาบ กร้าน ต่อมไขมันขับไขมันออกมามาก เกินไปทาให้ผิวหนังอักเสบ ท่อ ไขมันอุดตัน จนเกิดสิว
  • 17. หน้าที่ของผิวหนัง  ช่วยปองกันอันตรายต่างๆที่รางกายอาจได้รบ ้ ่ ั เช่น ปองกันอันตรายจาก ้ สารเคมี รังสีจากแดด การรบกวนเสียดสี  ปองกันการแทรกซึมของเชื้อโรคต่างๆ เช่น ยับยังการแพร่กระจายของ ้ ้ เชื้อโรค  ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยูในระดับปกติ คือ 37 0C เช่ น การหดและ ่ ขยายตัวของหลอดเลือดที่ผวหนัง การระเหยของเหงื่อ ิ  รักษาความชุ่มชื้นของร่างกาย โดยการสร้างไขมันมาหล่อเลี้ยงผิวหนัง  ขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายในรูปของเหงื่อ  เป็ นแหล่งสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย โดยให้แสงแดดเป็ นตัวช่วย สังเคราะห์สารเฮอร์โกสเตอรอยที่ผิวหนังให้เป็ นวิตามินดี ปองกันโรค ้ กระดูกพรุน  เป็ นอวัยวะรับความรูสึกต่างๆ ้
  • 18. การบารุงรักษา จากโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังที่กล่าวมาแล้ว จะเห็น ว่ า ผิ ว หนัง เป็ นที่ ส ะสมสิ่ ง ต่า งๆที่ ขับ ออกมาจากร่า งกาย เช่ น เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว เหงื่อไคล ไขมัน รวมทั้งสิ่งต่างๆจากภายนอก ที่ เ ข้ า มา เกี่ ยว ข้ อ งกั บ ผิ ว หนั ง เช่ น ฝุ่ นละ ออ ง เชื่ อโ รค เครื่ อ งส าอาง นอกจากนี้ ยัง มี แ บคที เ รี ย ชนิ ด ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้เ กิ ด อันตรายอาศัยอยู่ดวย หากไม่ทาการชะล้างสิ่งเหล่านี้ออกไปจะ ้ เกิ ด การหมั ก หมมบนผิ ว หนั ง จนท าให้เ กิ ด ความผิ ด ปกติ ข อง ผิ ว หนั ง เช่ น สิ ว กลิ่ น ตัว ผดผื่ น และโรคผิ ว หนั ง อื่ น ๆ ท าให้ ผิวหนังขาดความสวยงามน่ารังเกียจ
  • 19. ความผิดปกติของผิวหนัง 1.สิว : เกิดจากหลายสาเหตุดงนี้ ั  การเปลียนแปลงของฮอร์ โมนเพศ ่ ในช่ วงวัยรุ่น  ดจากเชื้อจุลนทรีย์ทอยู่ในต่ อม เกิ ิ ี่ ไขมันและรูขุมขนมีมาก ผิดปกติ  เครื่องสาอางทีมีนามันมากทา การใช้ ่ ้ ให้ อุดตันรูขุมขน  กผ่อนไม่ เพียงพอ การพั  ญหาสุ ขภาพ ฮอร์ โมน และ ปั กรรมพันธุ์
  • 20. ความผิดปกติของผิวหนัง 2.ตาปลา  เกิดจากแรงกดหรือแรงเสียดสีผิวหนังบริเวณนั้นบ่อยๆ ทา ให้ผิวหนังค่อยๆด้าน และหนาตัว ขึ้น มีลกษณะเป็ นเม็ดกลมๆ แข็ง คล้ายตาปลา ั จริงๆ ตาปลาจะเกิดบริเวณนิ้วเท้า หรือฝ่ าเท้า เนื่องจากใส่รองเท้า คับเกินไป  กษาต้องตัดทิ้ง คว้านออก การรั
  • 21.
  • 22. ความผิดปกติของผิวหนัง 3.กลิ่นตัว  เกิดจากปฏิกิริยาเคมีของกรดไขมันจากต่อมเหงื่อ เซลล์บุ ผิวที่ตายแล้ว เหงื่อรวมกับแบคทีเรียและความชื้นเกิดเป็ น กลิ่นตัว หากกลิ่นตัวแรง ควรอาบน้ าวันละ 2 ครั้ง ฟอกสบู่บริเวณ รักแร้ ขาหนีบ ใต้คอและหลังหู  ามีกลิ่นตัวแรงควรใช้สารส้มทาบริเวณรักแร้หลังอาบน้ า ถ้ ทุกครั้ง
  • 23. ความผิดปกติของผิวหนัง 4.โรคราที่เท้า (Hongkong foot)  เกิ ด จากเชื้ อราติ ด ที่ เ ท้า เนื่ อ งจากสวมใส่ร องเท้า ที่ อับ ชื้ น หรือเดินลุยน้ าสกปรก ทาให้มีอาการคันบริเวณซอกนิ้วเท้า และอาการคันจะเพิ่มมากขึ้นหากมีการเกาจะทา ใ ห้ เป็ นขุ ย มี ก ลิ่ น เหม็ น หากเป็ นนานๆ จะมี เ นื้ อนู น และ เป็ นขุยลุกลามไปบริเวณใกล้เคียง  กษาอย่าให้เท้าอับชื้น การรั  กษาหายแล้วไม่ควรสวมถุงเท้าหรือรองเท้าคู่เดิมอีก หากรั เพราะมีเชื้อราติดอยู่ หากจะนามาใช้ควรนาไปต้มหรืออบฟอร์มาลีนเพื่อฆ่าเชื้อ
  • 24.
  • 25. ความผิดปกติของผิวหนัง 5.ผิวหนังกร้านและไหม้เกรียม  ผิวหนังต้องสัมผัสกับแสงแดดเป็ นประจาและรับสีอัลตราไวโอเลต อย่างรุนแรงเป็ นเวลานานทาให้เกิดอาการคัน ระคายเคือง ผิวหนัง มีสีแดงและแสบมาก เพราะเซลล์ผิวหนังถูกทาลาย  วหนังถูกแดดเป็ นเวลานานปี อาจเกิดรอยเหี่ยวย่น พับเป็ นเส้น หากผิ มีรอยด่างหรือเหลือง หรืออาจเป็ นมะเร็งผิวหนัง  ้ องกัน ควรสวมใส่เสื้อผ้าที่ปกปิ ดมิ ดชิดเมื่ ออยู่กลางแดด และ การป ทาครี ม กัน แดดหรื อ สารกรองแสงเพื่ อ ป องกัน ไม่ ใ ห้ผิ ว หนั ง ไหม้ ้ เกรียม
  • 26.
  • 27. ความผิดปกติของผิวหนัง สารกันแดดจะประกอบด้ วยสารเคมีทเี่ รียกว่ า พารา-อะมิโนเบนโซอิคแอสิ ด ทีละลายในแอลกอฮอล์ สารเคมีนีจะเคลือบชั้นบนสุ ดของหนังกาพร้ าไว้ สารกรอง ่ ้ แสงแดดจะมีการจัดขีดความสามารถของสารกันแดด ทีเ่ รียกว่ า องค์ ประกอบของ สารปองกันแสง (SPF) ซึ่งจาแนกตั้งแต่ 0 – 15 ้ หมายเลข 0 ไม่ มีความสามารถในการปองกันแสงอาทิตย์ ้ หมายเลข 2 ป้ องกันแสงอาทิตย์ได้ เล็กน้ อย หมายเลข 4 – 6 ป้ องกันแสงอาทิตย์ได้ ปานกลางผิวเปลียนเป็ นสี นาตาล ่ ้ เข้ มขึน ้ หมายเลข 8 – 10 ป้ องกันผิวไหม้ เกรียมเนื่องจากถูกแดดได้ ผิวอาจมีสีนา ้ ตาลเข้ มขึน้ หมายเลข 15 ป้ องกันแสงอาทิตย์ ได้ ดทสุด เหมาะสาหรับคนผิวบาง ี ่ี จะป้ องกันแดดได้ นาน 15 เท่ าของภาวะทีไม่ ได้ ใช้ ยาโดย ่ ไม่ มีอาการผิวไหมเกรียมแต่ อย่ างใด
  • 28.
  • 29. ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ ้ 1.เล็บ:  เป็ นส่ วนของเซลล์ช้ันหนังกาพร้ าที่ตายแล้ว  ญมาจากเซลล์ที่มีชีวตในชั้นล่างทีเ่ ลือนขึนมาอัดแน่ นเป็ นแผ่ น เจริ ิ ่ ้ แข็ง ยืดหยุ่นได้ การงอกของเล็บเฉลีย 1 มม. ใน 1 สั ปดาห์ หรือ 3 มม.ใน 1เดือน ่  บเท้ าจะงอกช้ ากว่ าเล็บมือ เล็ การงอกของเล็บบางคนอาจจะผิดปกติ เนื่องจากติดเชื้อรา  ารุงรักษาเล็บควรตัดให้ ส้ั นอยู่เสมอ และหมั่นรักษาความ การบ สะอาด
  • 30.
  • 31. ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ ้ 2.ขนหรือผม  นส่ วนที่เจริญมาจากหนังกาพร้ าส่ วนลึก ที่โคนขนได้ รับเลือด เป็ มาเลียง และมีเส้ นประสาทควบคุมอยู่ ้ ส่ วนที่โผล่ขึนมาพ้นผิวหนังเป็ นส่ วนของเซลล์ที่ตายแล้ว ้ ขนทุกเส้ นประกอบด้ วยเส้ นขน รากขน และรูขุมขน
  • 32.
  • 33. ระบบห่อหุมร่างกายอื่นๆ ้ เส้นขน :เป็ นส่วนของขนที่โผล่พนผิวหนังขึ้นมา ้ รากขน :เป็ นส่วนที่ฝังอยูในรูผิวหนังเฉียง ดังนั้นเส้นขนจึงเฉียง ่ ขุมขน :เป็ นส่วนของหนังกาพร้าและหนังแท้ ยืนลึกเข้าไปถึงเยื่อใต้หนังมา ่ ประกอบเป็ นท่อล้อมรากขน มีท่อของต่อมไขมันมาเปิ ดสู่ขุมขน ผม :เป็ นขนที่ยาวมาก ปกติคนจะมีเส้นผมจานวน 12,0000 เส้น ผมจะ ร่วงและงอกขึ้นมาใหม่อยูตลอดโดยมีอตราการงอกยาวประมาณ ่ ั 2.5 เซนติเมตร ต่อเดือน ความผิดปกติของเส้นผม ได้แก่ ผมร่วง เนื่องจากขาดสารอาหาร แพ้ยาสระผม หรือต่อมไทรอยด์ทางาน น้อยผิดปกติ
  • 34. กิจกรรมที่ 3 ระบบห่อหุมร่างกาย ้ 1.ระบบห่ อหุ้มร่ างกาย มีหน้ าทีสาคัญ คือ _________________ ่ 2.สารเมลานินทีอยู่ในชั้นผิวหนัง มีหน้ าที่ _________________ ่ 3.เมือร่ างกายได้ รับความร้ อนมากกว่ าปกติ ต่ อมเหงือบริเวณใดจะผลิตเหงือออกมา ่ ่ ่ เป็ นอันดับแรกและอันดับสุ ดท้ าย____________________ 4.เหงื่อทีผลิตออกมาบนผิวหนังมีผลเสี ยอย่ างไรบ้ าง_____________ ่ 5.เหงือที่ไหลออกมาจากร่ างกายประกอบด้ วย______________ ่ 6.ถ้ าต่ อมไขมันขับไขมันออกมาเกินไปจะเกิดผลกับผิวหนัง คือ_______ 7.ต่ อมไขมันมีหน้ าที่_________________________ 8.กลินตัวเกิดจาก__________________________ ่ 9.โรคผิวหนังชนิดใดบ้ างเกิดจากเชื้อรา_________________ 10.ถ้ าผิวแตกและแห้ งกร้ านมีวิธีรักษา คือ_______________