SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
รายงาน
   ่
เรือง โรคดักแด้
จัดทําโดย
                ่
ด.ช.เนติพงษ์ เพิมพูล
ด.ช.อนุพงษ์ มันธิ
ส่ง
คุณครู ศุภวรรณ ทักษิณ
โรคดักแด้ คืออะไร
1.   โรคผิวหนังทีถ่ายทอดทางพันธุกรรมมีมากมายหลายชนิดด้วยกัน “เด็กดักแด้” ก็เป็ นอีกโรคหนึ่ง ถึง แม้วาทีผานมาจะพบได้ไม่บ่อยนัก นาน ๆ จะ
                  ่                                                                                    ่ ่่
     ปรากฏความผิดปกติของเด็กดักแด้จะอยูทเี่ ซลล์ผิวหนัง ปกติเซลล์ผวหนังจะแบ่งตัวและเคลื่อนตัวขึ้นมาเปลี่ยนเป็ นหนังกําพร้า และหนังกําพร้าจะถูก
                                        ่                           ิ
     ย่อยให้ละเอียดลงและหลุดออกไปเป็ นหนังขี้ไคล แต่ในเด็กดักแด้ชนหนังกําพร้าจะไม่ยอมย่อย จะแข็งติดอยู่ ก็เลยทําให้หนาขึ้นเรื่อย ๆ
                                                                 ั้
     อันตรายของเด็กดักแด้ คือ เมื่อหนัง แห้งจะตึง และหดตัว ตอนแรกผิวหนังก็ชุมฉําเพราะยังอยูในนําครํา พอคลอดออกมาโดน อากาศผิวหนังจะ
                                                                                   ่ ่             ่ ้ ่
     แห้ง พอผิวหนังแห้งจะเกิดการรัดตัว หดตัว และดึงทุกส่วนทีเ่ ป็ นช่องเปิ ดเช่น ตา หนังเยื่อบุตาจะปลิ้นออกมา ดึงตรงปากเยื่อ บุปากก็จะปลิ้น
     ออกมา ทําให้เกิดปั ญหา ตาปิ ดไม่สนิท เกิดการระคายเคือง แก้วตาขุ่นมัว หรือ ถ้าปากปลิ้นก็จะทําให้เด็กดูดนม ดูดนําไม่ได้
                                                                                                                     ้
     เด็กดักแด้ทอาการไม่รุนแรงสามารถดํารงชีวตได้ตามปกติ ถ้าให้อาหารและนําเพียงพอ สามารถควบคุมความชุมชื้นของผิวหนังได้ เพราะเด็กทีเ่ ป็ น
                 ี่                             ิ                              ้                         ่
     โรคนี้จะไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิของร่างกายได้ ทําให้เด็กมีไข้ ไม่สบาย และจะมีการสูญเสียของนําทางผิวหนังมาก ถ้าผ่านจุดนี้ไปได้ก็อาจจะมี
                                                                                                ้
     ชีวตรอดได้ แต่หากผ่านจุดนี้ไม่ได้ก็อาจทํา ให้เสียชีวตจากการเสียนํา หรือติดเชื้อ เกิดขึ้น
        ิ                                                ิ            ้
     การรักษาจึงมุ่งเน้นให้ความชุมชืนแก่ผวหนังเพิ่มขึ้น แต่ถาทาครีมทีมีนามันมาก ไปก็ไม่ดี เพราะจะไปอุดตันทําให้การถ่ายเทอุณห ภูมิของร่างกาย
                                  ่ ่     ิ                 ้        ่ ํ้
     ไม่ดี ดังนันการทาครีมต้องระวังควรทาแต่พอดี มิใช่ทาเหนอะหนะจนเกินไป เพราะจะทําให้การถ่ายเทความร้อนไม่ดี มีไข้ตลอดเวลา และเพื่อป้ อง
                ้
                                                ้                                ่
     กันมิให้หนังแข็งหนังปริ เป็ นแผลติดเชื้อก็ตองดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนัง ซึงการรับประทานยาในกลุมกรดไวตามินเอ จะทําให้เด็กค่อย ๆ ดี
                                                                                                         ่
     ขึ้น
     ต้องยอมรับว่า โรคนี้สร้างความทุกข์ทรมานทังตัวเด็กเองและพ่อแม่ของเด็ก เพราะพ่อแม่ตองคอยดูแลเอาใจใส่ลูกเป็ นอย่างมาก ดังนันถ้าลูก เกิด
                                               ้                                         ้                                      ้
     มาเป็ นโรคนี้ การมีลูกคนต่อไปจะต้องให้ความรูคสมรสว่า ลูกคนต่อไปมีโอกาสเป็ นโรคนี้สูงมาก ถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรมีบุตรอีกต่อ ไป ก็จะสามารถ
                                                 ้ ู่
     ป้ อง กันปั ญหาทีเ่ กิดขึ้นได้.
ชนิดของโรคดักแด้
  EB Simplex มักเป็ นโดยกําเนิดจากยีนเด่นในโครโมโซมร่างกาย พ่อแม่คนหนึ่งของผูป่วยอาจมีอาการเช่นกันดังนันจึงมีความเป็ นไปได้ทอาการจะปรากฏ
                                                                                  ้                       ้                      ี่
  บุคคลทีเ่ ป็ นEB Simplexไม่วาชายหรือหญิงมีโอกาสส่งผ่านอาการนี้สูลูกได้ ในการตังครรภ์หนึ่งครังมีโอกาส1ใน2ทีบุตรจะเป็ นโรคนี้ดวย
                                   ่                              ่             ้             ้             ่                 ้
  ปั จจัยทีเ่ ร่งการเกิดแผลมีดงนี้
                              ั
  1.ความเครียดทางกาย
  2.ความเครียดทางอารมณ์
  3.อากาศร้อน
  4.การติดเชื้อ
  5.การมีวุฒภาวะทางเพศ
                 ิ
  2.Junctional Epidermolysis Bullosa


  junctional EB โดยกําเนิดคือความผิดปกติของยีนด้อยในโครโมโซมร่างกาย คือพ่อแม่ของผูป่วยทังคูแข็งแรงแต่เป็ นพาหะของโรคคือไม่แสดงอาการ
                                                                                                ้      ้ ่
  เมื่อมีบุตรจะมีโอกาส25%ทีบุตรจะเป็ นโรคนี้ โชคร้ายคือ ยังไม่มีการตรวจหาพาหะของJEBได้ จะรูไ้ ด้ตอเมื่อบุตรเกิดมา
                           ่                                                                      ่
  3.Dystrophic Epidermolysis Bullosa
  Dystrophic Epidermolysis Bullosaสามารถแบ่งออกเป็ น2ประเภทคือ
  1.)Dominant Dystrophic Epidermolysis Bullosa (DEBจากยีนเด่น)
  2.)Recessive Dystrophic Epidermolysis Bullosa (DEBจากยีนด้อย) โดยมีประเภทย่อยของRDEBดังนี้
  -Recessive Dystrophic Epidermolysis Bullosa- Hallopeau Siemens
  -Recessive Dystrophic EB-non Hallopeau Siemens
  -Recessive Dystrophic EB inversa
การถ่ายทอดทางกรรมพันธุของ โรคดักแด้
                      ์
                                        ี่       ่
  โรคนี้แบ่งความรุนแรงได้หลายระดับ แต่ทพบบ่อยทีสุดกลุมนี้จะถ่ายทอดทางกรรมพันทางยีน
                                                        ่
  (gene) เด่นและยีนด้อย โดยปกติพบบ่อยในยีนเด่น คือถ้าหากพ่อหรือแม่เป็ น ลูกก็จะมีโอกาสมีผว
                                                                                         ิ
  แห้งสูง อาการจะปรากฏตังแต่ตอนเป็ นทารกตังแต่ 3 เดือนขึ้นไป ผิวจะแห้งตามแขนขาทังสองข้าง
                          ้                 ้                                   ้
  ลักษณะคล้ายเกล็ดปลา และตามฝ่ ามือฝ่ าเท้าก็จะแห้งเห็นเป็ นเส้นลายมือชัด

                ่ ่                                                          ่
  อาการรุนแรงอืนๆ ทีพบได้ ถ้าเป็ นรุนแรงมากผิวจะแห้งลอกทังตัวตังแต่แรกเกิด ซึงเกิดจากความ
                                                           ้ ้
                                                                                          ่
  ผิดปกติของยีนด้อย ตัวอย่างเช่น เด็กดักแด้ เซลล์ผวหนังจะสร้างมากผิดปกติแต่ไม่หลุดออกไป ซึงต่าง
                                                  ิ
  จากเด็กปกติตรงทีในเด็กปกติเซลล์ผวหนังเวลาสร้างเสร็จจะต้องลอกออกเป็ นขี้ไคล แต่เซลล์ผวหนังที่
                   ่                 ิ                                                ิ
  สร้างผิดปกติจะหลุดลอกออกยากมาก กรณีเด็กดักแด้น้ ีตองปรึกษาแพทย์ตงแต่เล็กๆ ไปจนตลอดชีวต
                                                       ้               ั้                      ิ
          ั                            ่                            ่ี
  ต้องได้รบการดูแลเป็ นพิเศษ แต่จะอยูในกรณีของยีนด้อย สําหรับคนไข้ทพบได้บอยๆ มักจะเป็ นเฉพาะ
                                                                          ่
  ผิวหนังบางส่วนเท่านัน
                      ้

  สถิติ ในต่างประเทศพบผูเ้ ป็ นโรคผิวแห้งนี้อยูระหว่าง 1/50,000 - 1/100,000 แต่ในประเทศไทยจะไม่มี
                                               ่
      ิ ี่
  สถิตทแน่นอน
อาการของโรคดักแด้
     ่                                         ุ่ ่           ่ ้ ่
  เมือหนังแห้งจะตึงและหดตัว ตอนแรกผิวหนังก็ชมฉําเพราะยังอยูในนําครํา พอคลอดออกมา
  โดนอากาศ ผิวหนังจะแห้ง พอผิวหนังแห้งจะเกิดการรัดตัว หดตัว และดึงทุกส่วนทีเ่ ป็ นช่องเปิ ด
                  ่                               ่
  เช่น ตา หนังเยือบุตาจะปลิ้นออกมา ดึงตรงปากเยือบุปากก็จะปลิ้นออกมา ทําให้เกิดปั ญหา ตา
  ปิ ดไม่สนิท เกิดการระคายเคือง แก้วตาขุ่นมัว หรือ ถ้าปากปลิ้นก็จะทําให้เด็กดูดนม ดูดนํา
                                                                                       ้
  ไม่ได้

                        ี่
            เด็กดักแด้ทอาการไม่รุนแรงสามารถดํารงชีวตได้ตามปกติ ถ้าให้อาหารและนํา
                                                     ิ                              ้
  เพียงพอ สามารถควบคุมความชุมชื้นของผิวหนังได้ เพราะเด็กทีเ่ ป็ นโรคนี้จะไม่สามารถควบคุม
                                  ่
  อุณหภูมของร่างกายได้ ทําให้เด็กมีไข้ ไม่สบาย และจะมีการสูญเสียของนําทางผิวหนังมาก ถ้า
          ิ                                                               ้
  ผ่านจุดนี้ไปได้ก็อาจจะมีชวตรอดได้ แต่หากผ่านจุดนี้ไม่ได้ก็อาจทํา ให้เสียชีวตจากการเสียนํา
                           ีิ                                                ิ            ้
  หรือติดเชื้อ เกิดขึ้น
วิธีการดูแลรักษาโรคดักแด้
  1.ผูป่วยทีมอาการรุนแรงมากต้องพบแพทย์เพื่อรับการรักษาทีถูกต้อง
      ้ ่ ี                                                  ่
                                                    ่ิ
  2.ถ้าอาการไม่รุนแรง การดูแลรักษาก็จะคล้ายกับเด็กทีผวแห้งธรรมดา เพียงแต่ถาผิวแห้งมาก
                                                                             ้
  ควรใช้ครีมหรือนํามันทาผิว เนื่องจากโลชันจะมีสวนผสมเป็ นนํามากกว่า จึงแห้งหรือระเหยเร็ว
                  ้                      ่     ่           ้
        ่
  กว่านันเอง

More Related Content

Viewers also liked

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNidchakul Amee
 
Czech History
Czech HistoryCzech History
Czech HistoryJH4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Ace Thanaboon Somboon
 
Desenvolupament model ADDIE
Desenvolupament model ADDIEDesenvolupament model ADDIE
Desenvolupament model ADDIExtarraco
 
Presentación estudiantes - Jaime Azua
Presentación estudiantes - Jaime AzuaPresentación estudiantes - Jaime Azua
Presentación estudiantes - Jaime Azuamaipu2018
 
Blanesseguretat presenta la inseguretat vial
Blanesseguretat presenta  la inseguretat vialBlanesseguretat presenta  la inseguretat vial
Blanesseguretat presenta la inseguretat vialtrustjl
 
Los 7 saberes.............
Los 7 saberes.............Los 7 saberes.............
Los 7 saberes.............zulayalvarado
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมktiz0123
 
CampañA Convivir Sembrar Paz En Internet
CampañA Convivir Sembrar Paz En InternetCampañA Convivir Sembrar Paz En Internet
CampañA Convivir Sembrar Paz En InternetGobernabilidad
 

Viewers also liked (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Metodika
MetodikaMetodika
Metodika
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Doc12
Doc12Doc12
Doc12
 
Czech History
Czech HistoryCzech History
Czech History
 
Tendencias Social Media
Tendencias Social MediaTendencias Social Media
Tendencias Social Media
 
Números decimales
Números decimalesNúmeros decimales
Números decimales
 
First
FirstFirst
First
 
Rihanna magazine advert
Rihanna magazine advertRihanna magazine advert
Rihanna magazine advert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Liderança - RH
Liderança - RHLiderança - RH
Liderança - RH
 
Desenvolupament model ADDIE
Desenvolupament model ADDIEDesenvolupament model ADDIE
Desenvolupament model ADDIE
 
Presentación estudiantes - Jaime Azua
Presentación estudiantes - Jaime AzuaPresentación estudiantes - Jaime Azua
Presentación estudiantes - Jaime Azua
 
Blanesseguretat presenta la inseguretat vial
Blanesseguretat presenta  la inseguretat vialBlanesseguretat presenta  la inseguretat vial
Blanesseguretat presenta la inseguretat vial
 
31 gener diadadelapau
31 gener diadadelapau31 gener diadadelapau
31 gener diadadelapau
 
Moo cs dr.jaitip
Moo cs dr.jaitipMoo cs dr.jaitip
Moo cs dr.jaitip
 
Los 7 saberes.............
Los 7 saberes.............Los 7 saberes.............
Los 7 saberes.............
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
CampañA Convivir Sembrar Paz En Internet
CampañA Convivir Sembrar Paz En InternetCampañA Convivir Sembrar Paz En Internet
CampañA Convivir Sembrar Paz En Internet
 
8 chapter4
8 chapter48 chapter4
8 chapter4
 

Similar to เนติพงษ์ อนุพงษ์

วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนาsupphawan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2Wan Ngamwongwan
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2Yottapum
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อินsupphawan
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 

Similar to เนติพงษ์ อนุพงษ์ (20)

วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
ขาดโปรตีน
ขาดโปรตีนขาดโปรตีน
ขาดโปรตีน
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2โรคภูมิแพ้ 2
โรคภูมิแพ้ 2
 
1129
11291129
1129
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Acne in teenage
Acne in teenageAcne in teenage
Acne in teenage
 
Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 

More from supphawan

Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556supphawan
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารEng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารsupphawan
 
Ict และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการIct และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการsupphawan
 
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554supphawan
 
ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553supphawan
 
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554supphawan
 
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54supphawan
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารสำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารsupphawan
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการsupphawan
 
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อสำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อsupphawan
 
คุณภาพครู
คุณภาพครูคุณภาพครู
คุณภาพครูsupphawan
 
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณโรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณsupphawan
 
แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้supphawan
 
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันsupphawan
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์  จิรายุพูลผลขจรศักดิ์  จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผลsupphawan
 

More from supphawan (20)

Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคารEng speaking year เขาดินวิทยาคาร
Eng speaking year เขาดินวิทยาคาร
 
Ict และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการIct และการบริหารงานวิชาการ
Ict และการบริหารงานวิชาการ
 
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
ครูโรงเรียนเขาดินวิทยาคาร 2554
 
ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553ผลงานดีเด่น 2553
ผลงานดีเด่น 2553
 
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
คำสั่งโรงเรียนเขาดินวิทยาคารเวรยามวันหยุดราชการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
ประกาศโรงเรียนเขาดินวิทยาคาผู้ผ่านพนักงานราชการ54
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการสำเนาประกาศพนักงานราชการ
สำเนาประกาศพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคารสำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
สำเนาประกาศสอบราคาจ้างซ่อมอาคาร
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการ
 
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อสำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
สำเนาประกาศสอบราคาซื้อ
 
คุณภาพครู
คุณภาพครูคุณภาพครู
คุณภาพครู
 
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณโรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
โรงเรียนในฝัน ศุภวรรณ
 
แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้
 
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝันด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
ด้านผู้เรียน โรงเรียนในฝัน
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์  จิรายุพูลผลขจรศักดิ์  จิรายุพูลผล
ขจรศักดิ์ จิรายุพูลผล
 

เนติพงษ์ อนุพงษ์

  • 1. รายงาน ่ เรือง โรคดักแด้ จัดทําโดย ่ ด.ช.เนติพงษ์ เพิมพูล ด.ช.อนุพงษ์ มันธิ ส่ง คุณครู ศุภวรรณ ทักษิณ
  • 2. โรคดักแด้ คืออะไร 1. โรคผิวหนังทีถ่ายทอดทางพันธุกรรมมีมากมายหลายชนิดด้วยกัน “เด็กดักแด้” ก็เป็ นอีกโรคหนึ่ง ถึง แม้วาทีผานมาจะพบได้ไม่บ่อยนัก นาน ๆ จะ ่ ่ ่่ ปรากฏความผิดปกติของเด็กดักแด้จะอยูทเี่ ซลล์ผิวหนัง ปกติเซลล์ผวหนังจะแบ่งตัวและเคลื่อนตัวขึ้นมาเปลี่ยนเป็ นหนังกําพร้า และหนังกําพร้าจะถูก ่ ิ ย่อยให้ละเอียดลงและหลุดออกไปเป็ นหนังขี้ไคล แต่ในเด็กดักแด้ชนหนังกําพร้าจะไม่ยอมย่อย จะแข็งติดอยู่ ก็เลยทําให้หนาขึ้นเรื่อย ๆ ั้ อันตรายของเด็กดักแด้ คือ เมื่อหนัง แห้งจะตึง และหดตัว ตอนแรกผิวหนังก็ชุมฉําเพราะยังอยูในนําครํา พอคลอดออกมาโดน อากาศผิวหนังจะ ่ ่ ่ ้ ่ แห้ง พอผิวหนังแห้งจะเกิดการรัดตัว หดตัว และดึงทุกส่วนทีเ่ ป็ นช่องเปิ ดเช่น ตา หนังเยื่อบุตาจะปลิ้นออกมา ดึงตรงปากเยื่อ บุปากก็จะปลิ้น ออกมา ทําให้เกิดปั ญหา ตาปิ ดไม่สนิท เกิดการระคายเคือง แก้วตาขุ่นมัว หรือ ถ้าปากปลิ้นก็จะทําให้เด็กดูดนม ดูดนําไม่ได้ ้ เด็กดักแด้ทอาการไม่รุนแรงสามารถดํารงชีวตได้ตามปกติ ถ้าให้อาหารและนําเพียงพอ สามารถควบคุมความชุมชื้นของผิวหนังได้ เพราะเด็กทีเ่ ป็ น ี่ ิ ้ ่ โรคนี้จะไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิของร่างกายได้ ทําให้เด็กมีไข้ ไม่สบาย และจะมีการสูญเสียของนําทางผิวหนังมาก ถ้าผ่านจุดนี้ไปได้ก็อาจจะมี ้ ชีวตรอดได้ แต่หากผ่านจุดนี้ไม่ได้ก็อาจทํา ให้เสียชีวตจากการเสียนํา หรือติดเชื้อ เกิดขึ้น ิ ิ ้ การรักษาจึงมุ่งเน้นให้ความชุมชืนแก่ผวหนังเพิ่มขึ้น แต่ถาทาครีมทีมีนามันมาก ไปก็ไม่ดี เพราะจะไปอุดตันทําให้การถ่ายเทอุณห ภูมิของร่างกาย ่ ่ ิ ้ ่ ํ้ ไม่ดี ดังนันการทาครีมต้องระวังควรทาแต่พอดี มิใช่ทาเหนอะหนะจนเกินไป เพราะจะทําให้การถ่ายเทความร้อนไม่ดี มีไข้ตลอดเวลา และเพื่อป้ อง ้ ้ ่ กันมิให้หนังแข็งหนังปริ เป็ นแผลติดเชื้อก็ตองดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนัง ซึงการรับประทานยาในกลุมกรดไวตามินเอ จะทําให้เด็กค่อย ๆ ดี ่ ขึ้น ต้องยอมรับว่า โรคนี้สร้างความทุกข์ทรมานทังตัวเด็กเองและพ่อแม่ของเด็ก เพราะพ่อแม่ตองคอยดูแลเอาใจใส่ลูกเป็ นอย่างมาก ดังนันถ้าลูก เกิด ้ ้ ้ มาเป็ นโรคนี้ การมีลูกคนต่อไปจะต้องให้ความรูคสมรสว่า ลูกคนต่อไปมีโอกาสเป็ นโรคนี้สูงมาก ถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรมีบุตรอีกต่อ ไป ก็จะสามารถ ้ ู่ ป้ อง กันปั ญหาทีเ่ กิดขึ้นได้.
  • 3. ชนิดของโรคดักแด้ EB Simplex มักเป็ นโดยกําเนิดจากยีนเด่นในโครโมโซมร่างกาย พ่อแม่คนหนึ่งของผูป่วยอาจมีอาการเช่นกันดังนันจึงมีความเป็ นไปได้ทอาการจะปรากฏ ้ ้ ี่ บุคคลทีเ่ ป็ นEB Simplexไม่วาชายหรือหญิงมีโอกาสส่งผ่านอาการนี้สูลูกได้ ในการตังครรภ์หนึ่งครังมีโอกาส1ใน2ทีบุตรจะเป็ นโรคนี้ดวย ่ ่ ้ ้ ่ ้ ปั จจัยทีเ่ ร่งการเกิดแผลมีดงนี้ ั 1.ความเครียดทางกาย 2.ความเครียดทางอารมณ์ 3.อากาศร้อน 4.การติดเชื้อ 5.การมีวุฒภาวะทางเพศ ิ 2.Junctional Epidermolysis Bullosa junctional EB โดยกําเนิดคือความผิดปกติของยีนด้อยในโครโมโซมร่างกาย คือพ่อแม่ของผูป่วยทังคูแข็งแรงแต่เป็ นพาหะของโรคคือไม่แสดงอาการ ้ ้ ่ เมื่อมีบุตรจะมีโอกาส25%ทีบุตรจะเป็ นโรคนี้ โชคร้ายคือ ยังไม่มีการตรวจหาพาหะของJEBได้ จะรูไ้ ด้ตอเมื่อบุตรเกิดมา ่ ่ 3.Dystrophic Epidermolysis Bullosa Dystrophic Epidermolysis Bullosaสามารถแบ่งออกเป็ น2ประเภทคือ 1.)Dominant Dystrophic Epidermolysis Bullosa (DEBจากยีนเด่น) 2.)Recessive Dystrophic Epidermolysis Bullosa (DEBจากยีนด้อย) โดยมีประเภทย่อยของRDEBดังนี้ -Recessive Dystrophic Epidermolysis Bullosa- Hallopeau Siemens -Recessive Dystrophic EB-non Hallopeau Siemens -Recessive Dystrophic EB inversa
  • 4. การถ่ายทอดทางกรรมพันธุของ โรคดักแด้ ์ ี่ ่ โรคนี้แบ่งความรุนแรงได้หลายระดับ แต่ทพบบ่อยทีสุดกลุมนี้จะถ่ายทอดทางกรรมพันทางยีน ่ (gene) เด่นและยีนด้อย โดยปกติพบบ่อยในยีนเด่น คือถ้าหากพ่อหรือแม่เป็ น ลูกก็จะมีโอกาสมีผว ิ แห้งสูง อาการจะปรากฏตังแต่ตอนเป็ นทารกตังแต่ 3 เดือนขึ้นไป ผิวจะแห้งตามแขนขาทังสองข้าง ้ ้ ้ ลักษณะคล้ายเกล็ดปลา และตามฝ่ ามือฝ่ าเท้าก็จะแห้งเห็นเป็ นเส้นลายมือชัด ่ ่ ่ อาการรุนแรงอืนๆ ทีพบได้ ถ้าเป็ นรุนแรงมากผิวจะแห้งลอกทังตัวตังแต่แรกเกิด ซึงเกิดจากความ ้ ้ ่ ผิดปกติของยีนด้อย ตัวอย่างเช่น เด็กดักแด้ เซลล์ผวหนังจะสร้างมากผิดปกติแต่ไม่หลุดออกไป ซึงต่าง ิ จากเด็กปกติตรงทีในเด็กปกติเซลล์ผวหนังเวลาสร้างเสร็จจะต้องลอกออกเป็ นขี้ไคล แต่เซลล์ผวหนังที่ ่ ิ ิ สร้างผิดปกติจะหลุดลอกออกยากมาก กรณีเด็กดักแด้น้ ีตองปรึกษาแพทย์ตงแต่เล็กๆ ไปจนตลอดชีวต ้ ั้ ิ ั ่ ่ี ต้องได้รบการดูแลเป็ นพิเศษ แต่จะอยูในกรณีของยีนด้อย สําหรับคนไข้ทพบได้บอยๆ มักจะเป็ นเฉพาะ ่ ผิวหนังบางส่วนเท่านัน ้ สถิติ ในต่างประเทศพบผูเ้ ป็ นโรคผิวแห้งนี้อยูระหว่าง 1/50,000 - 1/100,000 แต่ในประเทศไทยจะไม่มี ่ ิ ี่ สถิตทแน่นอน
  • 5. อาการของโรคดักแด้ ่ ุ่ ่ ่ ้ ่ เมือหนังแห้งจะตึงและหดตัว ตอนแรกผิวหนังก็ชมฉําเพราะยังอยูในนําครํา พอคลอดออกมา โดนอากาศ ผิวหนังจะแห้ง พอผิวหนังแห้งจะเกิดการรัดตัว หดตัว และดึงทุกส่วนทีเ่ ป็ นช่องเปิ ด ่ ่ เช่น ตา หนังเยือบุตาจะปลิ้นออกมา ดึงตรงปากเยือบุปากก็จะปลิ้นออกมา ทําให้เกิดปั ญหา ตา ปิ ดไม่สนิท เกิดการระคายเคือง แก้วตาขุ่นมัว หรือ ถ้าปากปลิ้นก็จะทําให้เด็กดูดนม ดูดนํา ้ ไม่ได้ ี่ เด็กดักแด้ทอาการไม่รุนแรงสามารถดํารงชีวตได้ตามปกติ ถ้าให้อาหารและนํา ิ ้ เพียงพอ สามารถควบคุมความชุมชื้นของผิวหนังได้ เพราะเด็กทีเ่ ป็ นโรคนี้จะไม่สามารถควบคุม ่ อุณหภูมของร่างกายได้ ทําให้เด็กมีไข้ ไม่สบาย และจะมีการสูญเสียของนําทางผิวหนังมาก ถ้า ิ ้ ผ่านจุดนี้ไปได้ก็อาจจะมีชวตรอดได้ แต่หากผ่านจุดนี้ไม่ได้ก็อาจทํา ให้เสียชีวตจากการเสียนํา ีิ ิ ้ หรือติดเชื้อ เกิดขึ้น
  • 6. วิธีการดูแลรักษาโรคดักแด้ 1.ผูป่วยทีมอาการรุนแรงมากต้องพบแพทย์เพื่อรับการรักษาทีถูกต้อง ้ ่ ี ่ ่ิ 2.ถ้าอาการไม่รุนแรง การดูแลรักษาก็จะคล้ายกับเด็กทีผวแห้งธรรมดา เพียงแต่ถาผิวแห้งมาก ้ ควรใช้ครีมหรือนํามันทาผิว เนื่องจากโลชันจะมีสวนผสมเป็ นนํามากกว่า จึงแห้งหรือระเหยเร็ว ้ ่ ่ ้ ่ กว่านันเอง