SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บทที่ 14
ภาษามือหมวด จังหวัดและประเทศ
โลกของเรามีประเทศมากมายที่เป็นเพื่อนบ้าน ติดต่อสื่อสาร และทาธุรกิจร่วมกัน ซึ่งในแต่ละ
ประเทศก็มีจังหวัด หรือบางประเทศอาจจะเรียกว่ารัฐก็ได้ ประเทศไทยมีจังหวัด แบ่งเป็นภาคต่างๆ
ได้แก่ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งควรจะได้เรียนรู้
ภาษามือเพื่อนาไปสื่อสารและช่วยเหลือบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินต่อไป
1. ภาษามือหมวดจังหวัด
ภาษามือหมวดจังหวัดได้แบ่งเป็น ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถทาท่ามือตามลักษณะเด่นของจังหวัดนั้นๆ ดังต่อไปนี้
จังหวัด
แบมือข้างหนึ่ง อีกข้างขยุ้มมือแล้วแตะฝ่ามือ ข้อมือ แขน และทาท่ามือ จ
ภาคกลางของประเทศไทยมีหลายจังหวัด ในแต่ละจังหวัดสามารถทาภาษามือได้โดย
ระบุตาแหน่งที่อยู่ในแผนที่ แล้วค่อยทาท่ามือลักษณะเด่นของจังหวัดนั้นๆ ในที่นี้จะแทนด้วยฝ่ามือ
เช่น ภาคกลาง จะแบมือและนามืออีกข้างหนึ่งขยุมรวมกันที่ฝ่ามือ
ภาคกลาง
แบมือและใช้มือข้างหนึ่งขยุมแล้วแตะที่กลางมือ
กรุงเทพมหานคร
แบมือข้างหนึ่งและรวบมือแตะที่กลางมือ
113
พระนครศรีอยุธยา
ชี้ที่กลางมือ และทาท่ามือ อ และ ย
สระบุรี
ชี้ที่กลางมือ และทาท่ามือ ส และ ร
ภาคเหนือมีจังหวัดที่น่าสนใจ โดยในแต่ละจังหวัดจะทาท่ามือแตกต่างกันไป เช่น ทาท่า
มือตามลักษณะเด่นของจังหวัด บางจังหวัดนาพยัญชนะหรือสระที่มีในชื่อจังหวัดมาทาท่ามือ
ตามภาพต่อไปนี้
ภาคเหนือ
แบมือข้างหนึ่งและใช้มืออีกข้างปัดขึ้น
เชียงใหม่
ตั้งมือข้างหนึ่งในระดับหน้าอก กามืออีกข้างหนึ่ง
ชูนิ้วก้อยขึ้น และงอนิ้วก้อยเล็กน้อย แล้วจึงเลื่อนมือขึ้น
ด้านบน
สุโขทัย
ชี้ที่ฝ่ามือ และทาท่ามือ ส และแตะนิ้วกลางกับนิ้วโป้ง
พิษณุโลก
ชี้ที่ฝ่ามือ และทาท่ามือ พ และทาท่ามือ โลก
ภาคตะวันออกของประเทศมีจังหวัดที่ทาท่ามือโดยใช้บุคคลสาคัญในจังหวัด ได้แก่
จังหวัดระยอง ซึ่งใช้ท่าสุนทรภู่ทาท่าเป่าปี่ โดยถ้าทาท่าเช่นนี้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ก็จะทราบทันทีว่าจังหวัดอะไร ส่วนจังหวัดอื่นๆ ในภาคนี้จะทาท่ามือคล้ายๆ กับข้างต้นที่เรียนมาแล้ว
114
ภาคตะวันออก
แบมือแตะเลื่อนด้านข้าง นิ้วก้อย
ชลบุรี
แบมือแตะเลื่อนด้านข้าง นิ้วก้อย และทาท่ามือ ช
ระยอง
แบมือแตะเลื่อนด้านข้างนิ้วก้อยและทาท่าเป่าปี่
จันทรบุรี
ทาท่ามือเลขหนึ่งและแตะลงบนมืออีกข้างหนึ่ง
เลื่อนไปด้านข้างนิ้วก้อยและทาท่ามือ จ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดส่วนใหญ่ใช้ท่ามือพยัญชนะที่ปรากฏในชื่อของจังหวัด
นั้นๆ มีบางจังหวัดที่ใช้บุคคลสาคัญ เช่น จังหวัดนครราชสีมา ใช้ท่ามือถือไม้เท้าของท่านคุณหญิงโม
เป็นต้น
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แบมือและปัดมือไปด้านข้างนิ้วก้อย
ขอนแก่น
แบมือและปัดมือไปด้านข้านิ้วก้อย แล้วทาท่ามือ ข
115
ชัยภูมิ
ชี้ที่ฝ่ามือแล้วทาท่ามือ ช
นครราชสีมา
ขยุมมือและวางบนฝ่ามือ แล้วลากมือลงในท่าถือไม้เท้าที่
ข้างขา
ภาคใต้สามารถทาภาษามือได้โดยทาท่ามือบอกตาแหน่งของภาคใต้ก่อน นามือปัดลงที่
ข้อศอก แล้วค่อยตามด้วยพยัญชนะชื่อจังหวัด ดังภาพต่อไปนี้
ภาคใต้
ตั้งแขนมืออีกข้างหนึ่งปัดลงที่ข้อศอก
ภูเก็ต
ตั้งมือและจับที่เหนือข้อพับ ทาท่ามือ ภ
สงขลา
ทาท่ามือ ภาคใต้ แล้ว ส ตามภาพ
สตูล
ตั้งแขนมืออีกข้างชี้ที่ข้อศอกและทาท่ามือ ส แล้ว ต
2. ภาษามือหมวดประเทศ
ภาษามือประเทศมีการประดิษฐ์ท่ามือเพื่อการศึกษาและการสื่อสาร โดยท่ามือส่วนใหญ่
มาจากลักษณะของประเทศหรือมาจากชื่อของประเทศ เช่น ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว เนื่องจากประเทศนี้ในสมัยก่อนมีการมวยผมที่ด้านข้าง การทาภาษามือจึงทามือกลมๆ
แล้วแตะที่ข้างศีรษะ เป็นต้น ในการทาภาษามือจะเห็นวัฒนธรรม ประเพณีและจุดเด่นของแต่ละ
ประเทศ ดังต่อไปนี้
116
ประเทศ
มือข้างหนึ่งพาดที่หน้าอก มืออีกข้างหนึ่งทาท่ามือ ย แตะที่ข้อศอก
ประเทศในทวีปเอเชียมีหลายประเทศและมีท่ามือที่ใช้ในการสื่อสารกันระหว่างบุคคลที่มี
ความบกพร่องทางการได้ยินด้วยกัน ซึ่งสามารถทาภาษามือได้โดยใช้ลักษณะต่างๆ ที่เด่นชัดของ
ประเทศนั้นๆ ดังภาพต่อไปนี้
ทวีปเอเชีย
แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและ
ทาท่ามือ อ
ประเทศไทย
ทาท่ามือเลขหนึ่งแล้วแตะที่จมูกเลื่อนลง
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
หงุ้มมือและนาไปวางที่ศีรษะ
สาธารณรัฐประชาชนจีน
ทาท่ามือสีแดงและกามือจับกันขยับเล็กน้อย
ทวีปออสเตรเลียสามารถทาภาษามือได้โดยยึดลักษณะพิเศษ หรือสัญลักษณ์ประจา
ประเทศนั้นๆ และทาท่ามือทวีปเพื่อบอกตาแหน่งของประเทศ ดังภาพต่อไปนี้
117
ทวีปออสเตรเลีย
แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและทาท่ามือ จิงโจ้
นิวซีแลนด์
ทาท่ามือ นก และลากลงมาในระดับหน้าอก
ออสเตรเลีย
ทาท่ามือ จิงโจ้
ทวีปยุโรปมีประเทศที่น่าสนใจและสามารถทาภาษามือเพื่อใช้ในการสนทนาซึ่งจะได้
นาเสนอเป็นภาษามือดังต่อไปนี้
ทวีปยุโรป
แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและ
ทาท่ามือ ย
สหราชอาณาจักร
ทาท่ามือเลขหนึ่งและขีดเส้นในอากาศ ตามภาพ
118
เนเธอร์แลนด์
ทาท่ามือเลขสองและนามาทาเป็นเครื่องหมายบวกระดับ
หน้าอก
อิตาลี
ทาท่ามือตัว c และลากมือลงมา
ทวีปแอฟริกาทาท่ามือตามลักษณะด้านต่างๆ ของแต่ละประเทศ ซึ่งสามารถทา
ภาษามือได้ดังภาพต่อไปนี้
ทวีปแอฟริกา
แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือแล้วนาไปแตะที่ปากขยับขึ้นลง
แอฟริกาใต้
แบมือแตะที่ปากขยับขึ้นลงคว่ามือและแตะที่นิ้วกลาง
อียิปต์
ทาท่ามือเลขสองแตะที่หน้าผาก แล้วกามือสองข้าง
119
ประสานมือที่หน้าอก
ทวีปอเมริกาสามารถทาภาษามือได้โดยบอกตาแหน่งของทวีปก่อนและประสานนิ้วมือแล้ว
หมุน ซึ่งมีประเทศที่น่าสนใจดังจะนาเสนอต่อไปนี้
ทวีปอเมริกา
งุ้มมือพอประมาณนามืออีกข้างหนึ่งจับที่นิ้วและประสาน
นิ้วมือแล้วหมุน
แคนาดา
ทาท่ามือทหารและหมุนมือแตะที่หน้าผาก
สหรัฐอเมริกา
ประสานนิ้วมือแล้วหมุน
บราซิล
แบมือและแตะที่ปากและหันฝ่ามือออกเป็นท่ามือ B
3. การใช้ภาษามือหมวดจังหวัดและประเทศ
นักเรียนคนที่ 1 : ขอนแก่นคะ
ครู : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจังหวัดอะไรบ้าง
120
สรุป
จังหวัด ประเทศ มีภาษามือครบเหมือนกับคนปกติทั่วไป เพียงแต่ต้องใช้ทักษะในการทา
ภาษามือในท่ามือต่างๆ เช่น ภาษามือหมวดจังหวัดและหมวดประเทศ เป็นภาษามือที่ใช้ชื่อจังหวัด
และชื่อประเทศโดยย่อบ้าง ใช้สัญลักษณ์ของจังหวัดและประเทศนั้นๆ บ้าง ก็เป็นภาษามือจังหวัดและ
ประเทศเพื่อใช้ในการสื่อสารได้
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา
1.1 จังหวัดนครราชสีมา
1.2 จังหวัดชลบุรี
1.3 จังหวัดเชียงใหม่
1.4 จังหวัดหนองคาย
1.5 จังหวัดอยุธยา
1.6 ประเทศจีน
1.7 ประเทศสหราชอาณาจักร
1.8 ประเทศสหรัฐอเมริกา
1.9 ประเทศบราซิล
1.10 ประเทศเวียนาม
นักเรียนคนที่ 2 : นครราชสีมาครับ
121
เอกสารอ้างอิง
กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 4. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
122
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
อรรถพล อนันตวรสกุล. (2549). ภูมิภาคการศึกษาแผนทีประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ปาเจราจากัด

More Related Content

What's hot

บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15pop Jaturong
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13pop Jaturong
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 

What's hot (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 14

  • 1. บทที่ 14 ภาษามือหมวด จังหวัดและประเทศ โลกของเรามีประเทศมากมายที่เป็นเพื่อนบ้าน ติดต่อสื่อสาร และทาธุรกิจร่วมกัน ซึ่งในแต่ละ ประเทศก็มีจังหวัด หรือบางประเทศอาจจะเรียกว่ารัฐก็ได้ ประเทศไทยมีจังหวัด แบ่งเป็นภาคต่างๆ ได้แก่ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งควรจะได้เรียนรู้ ภาษามือเพื่อนาไปสื่อสารและช่วยเหลือบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินต่อไป 1. ภาษามือหมวดจังหวัด ภาษามือหมวดจังหวัดได้แบ่งเป็น ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถทาท่ามือตามลักษณะเด่นของจังหวัดนั้นๆ ดังต่อไปนี้ จังหวัด แบมือข้างหนึ่ง อีกข้างขยุ้มมือแล้วแตะฝ่ามือ ข้อมือ แขน และทาท่ามือ จ ภาคกลางของประเทศไทยมีหลายจังหวัด ในแต่ละจังหวัดสามารถทาภาษามือได้โดย ระบุตาแหน่งที่อยู่ในแผนที่ แล้วค่อยทาท่ามือลักษณะเด่นของจังหวัดนั้นๆ ในที่นี้จะแทนด้วยฝ่ามือ เช่น ภาคกลาง จะแบมือและนามืออีกข้างหนึ่งขยุมรวมกันที่ฝ่ามือ ภาคกลาง แบมือและใช้มือข้างหนึ่งขยุมแล้วแตะที่กลางมือ กรุงเทพมหานคร แบมือข้างหนึ่งและรวบมือแตะที่กลางมือ
  • 2. 113 พระนครศรีอยุธยา ชี้ที่กลางมือ และทาท่ามือ อ และ ย สระบุรี ชี้ที่กลางมือ และทาท่ามือ ส และ ร ภาคเหนือมีจังหวัดที่น่าสนใจ โดยในแต่ละจังหวัดจะทาท่ามือแตกต่างกันไป เช่น ทาท่า มือตามลักษณะเด่นของจังหวัด บางจังหวัดนาพยัญชนะหรือสระที่มีในชื่อจังหวัดมาทาท่ามือ ตามภาพต่อไปนี้ ภาคเหนือ แบมือข้างหนึ่งและใช้มืออีกข้างปัดขึ้น เชียงใหม่ ตั้งมือข้างหนึ่งในระดับหน้าอก กามืออีกข้างหนึ่ง ชูนิ้วก้อยขึ้น และงอนิ้วก้อยเล็กน้อย แล้วจึงเลื่อนมือขึ้น ด้านบน สุโขทัย ชี้ที่ฝ่ามือ และทาท่ามือ ส และแตะนิ้วกลางกับนิ้วโป้ง พิษณุโลก ชี้ที่ฝ่ามือ และทาท่ามือ พ และทาท่ามือ โลก ภาคตะวันออกของประเทศมีจังหวัดที่ทาท่ามือโดยใช้บุคคลสาคัญในจังหวัด ได้แก่ จังหวัดระยอง ซึ่งใช้ท่าสุนทรภู่ทาท่าเป่าปี่ โดยถ้าทาท่าเช่นนี้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ก็จะทราบทันทีว่าจังหวัดอะไร ส่วนจังหวัดอื่นๆ ในภาคนี้จะทาท่ามือคล้ายๆ กับข้างต้นที่เรียนมาแล้ว
  • 3. 114 ภาคตะวันออก แบมือแตะเลื่อนด้านข้าง นิ้วก้อย ชลบุรี แบมือแตะเลื่อนด้านข้าง นิ้วก้อย และทาท่ามือ ช ระยอง แบมือแตะเลื่อนด้านข้างนิ้วก้อยและทาท่าเป่าปี่ จันทรบุรี ทาท่ามือเลขหนึ่งและแตะลงบนมืออีกข้างหนึ่ง เลื่อนไปด้านข้างนิ้วก้อยและทาท่ามือ จ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดส่วนใหญ่ใช้ท่ามือพยัญชนะที่ปรากฏในชื่อของจังหวัด นั้นๆ มีบางจังหวัดที่ใช้บุคคลสาคัญ เช่น จังหวัดนครราชสีมา ใช้ท่ามือถือไม้เท้าของท่านคุณหญิงโม เป็นต้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบมือและปัดมือไปด้านข้างนิ้วก้อย ขอนแก่น แบมือและปัดมือไปด้านข้านิ้วก้อย แล้วทาท่ามือ ข
  • 4. 115 ชัยภูมิ ชี้ที่ฝ่ามือแล้วทาท่ามือ ช นครราชสีมา ขยุมมือและวางบนฝ่ามือ แล้วลากมือลงในท่าถือไม้เท้าที่ ข้างขา ภาคใต้สามารถทาภาษามือได้โดยทาท่ามือบอกตาแหน่งของภาคใต้ก่อน นามือปัดลงที่ ข้อศอก แล้วค่อยตามด้วยพยัญชนะชื่อจังหวัด ดังภาพต่อไปนี้ ภาคใต้ ตั้งแขนมืออีกข้างหนึ่งปัดลงที่ข้อศอก ภูเก็ต ตั้งมือและจับที่เหนือข้อพับ ทาท่ามือ ภ สงขลา ทาท่ามือ ภาคใต้ แล้ว ส ตามภาพ สตูล ตั้งแขนมืออีกข้างชี้ที่ข้อศอกและทาท่ามือ ส แล้ว ต 2. ภาษามือหมวดประเทศ ภาษามือประเทศมีการประดิษฐ์ท่ามือเพื่อการศึกษาและการสื่อสาร โดยท่ามือส่วนใหญ่ มาจากลักษณะของประเทศหรือมาจากชื่อของประเทศ เช่น ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เนื่องจากประเทศนี้ในสมัยก่อนมีการมวยผมที่ด้านข้าง การทาภาษามือจึงทามือกลมๆ แล้วแตะที่ข้างศีรษะ เป็นต้น ในการทาภาษามือจะเห็นวัฒนธรรม ประเพณีและจุดเด่นของแต่ละ ประเทศ ดังต่อไปนี้
  • 5. 116 ประเทศ มือข้างหนึ่งพาดที่หน้าอก มืออีกข้างหนึ่งทาท่ามือ ย แตะที่ข้อศอก ประเทศในทวีปเอเชียมีหลายประเทศและมีท่ามือที่ใช้ในการสื่อสารกันระหว่างบุคคลที่มี ความบกพร่องทางการได้ยินด้วยกัน ซึ่งสามารถทาภาษามือได้โดยใช้ลักษณะต่างๆ ที่เด่นชัดของ ประเทศนั้นๆ ดังภาพต่อไปนี้ ทวีปเอเชีย แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและ ทาท่ามือ อ ประเทศไทย ทาท่ามือเลขหนึ่งแล้วแตะที่จมูกเลื่อนลง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หงุ้มมือและนาไปวางที่ศีรษะ สาธารณรัฐประชาชนจีน ทาท่ามือสีแดงและกามือจับกันขยับเล็กน้อย ทวีปออสเตรเลียสามารถทาภาษามือได้โดยยึดลักษณะพิเศษ หรือสัญลักษณ์ประจา ประเทศนั้นๆ และทาท่ามือทวีปเพื่อบอกตาแหน่งของประเทศ ดังภาพต่อไปนี้
  • 6. 117 ทวีปออสเตรเลีย แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและทาท่ามือ จิงโจ้ นิวซีแลนด์ ทาท่ามือ นก และลากลงมาในระดับหน้าอก ออสเตรเลีย ทาท่ามือ จิงโจ้ ทวีปยุโรปมีประเทศที่น่าสนใจและสามารถทาภาษามือเพื่อใช้ในการสนทนาซึ่งจะได้ นาเสนอเป็นภาษามือดังต่อไปนี้ ทวีปยุโรป แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือและ ทาท่ามือ ย สหราชอาณาจักร ทาท่ามือเลขหนึ่งและขีดเส้นในอากาศ ตามภาพ
  • 7. 118 เนเธอร์แลนด์ ทาท่ามือเลขสองและนามาทาเป็นเครื่องหมายบวกระดับ หน้าอก อิตาลี ทาท่ามือตัว c และลากมือลงมา ทวีปแอฟริกาทาท่ามือตามลักษณะด้านต่างๆ ของแต่ละประเทศ ซึ่งสามารถทา ภาษามือได้ดังภาพต่อไปนี้ ทวีปแอฟริกา แบมือพอประมาณและใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่มือแล้วนาไปแตะที่ปากขยับขึ้นลง แอฟริกาใต้ แบมือแตะที่ปากขยับขึ้นลงคว่ามือและแตะที่นิ้วกลาง อียิปต์ ทาท่ามือเลขสองแตะที่หน้าผาก แล้วกามือสองข้าง
  • 8. 119 ประสานมือที่หน้าอก ทวีปอเมริกาสามารถทาภาษามือได้โดยบอกตาแหน่งของทวีปก่อนและประสานนิ้วมือแล้ว หมุน ซึ่งมีประเทศที่น่าสนใจดังจะนาเสนอต่อไปนี้ ทวีปอเมริกา งุ้มมือพอประมาณนามืออีกข้างหนึ่งจับที่นิ้วและประสาน นิ้วมือแล้วหมุน แคนาดา ทาท่ามือทหารและหมุนมือแตะที่หน้าผาก สหรัฐอเมริกา ประสานนิ้วมือแล้วหมุน บราซิล แบมือและแตะที่ปากและหันฝ่ามือออกเป็นท่ามือ B 3. การใช้ภาษามือหมวดจังหวัดและประเทศ นักเรียนคนที่ 1 : ขอนแก่นคะ ครู : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจังหวัดอะไรบ้าง
  • 9. 120 สรุป จังหวัด ประเทศ มีภาษามือครบเหมือนกับคนปกติทั่วไป เพียงแต่ต้องใช้ทักษะในการทา ภาษามือในท่ามือต่างๆ เช่น ภาษามือหมวดจังหวัดและหมวดประเทศ เป็นภาษามือที่ใช้ชื่อจังหวัด และชื่อประเทศโดยย่อบ้าง ใช้สัญลักษณ์ของจังหวัดและประเทศนั้นๆ บ้าง ก็เป็นภาษามือจังหวัดและ ประเทศเพื่อใช้ในการสื่อสารได้ แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา 1.1 จังหวัดนครราชสีมา 1.2 จังหวัดชลบุรี 1.3 จังหวัดเชียงใหม่ 1.4 จังหวัดหนองคาย 1.5 จังหวัดอยุธยา 1.6 ประเทศจีน 1.7 ประเทศสหราชอาณาจักร 1.8 ประเทศสหรัฐอเมริกา 1.9 ประเทศบราซิล 1.10 ประเทศเวียนาม นักเรียนคนที่ 2 : นครราชสีมาครับ
  • 10. 121 เอกสารอ้างอิง กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 4. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
  • 11. 122 สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. อรรถพล อนันตวรสกุล. (2549). ภูมิภาคการศึกษาแผนทีประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ปาเจราจากัด