SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ง



หัวขอเรื่อง        โครงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก
นักศึกษา            สุรีพร พรชัยนิพันธ
รหัสประจําตัว       4511070941134
อาจารยที่ปรึกษา    อาจารยอธิวฒน จุลมัจฉา
                             ั
หลักสูตร            ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป วิทยาลัยเพาะชาง
                    มหาวิทยาลยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร
                                ั
ปการศึกษา          2554

                                      บทคัดยอ

        โครงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก นําเสนอผลงานสื่อ
โฆษณาในประเภทตางๆ จํานวน 8 ชิ้น โดยสรางสรรคจากโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งมีขั้นตอนการ
ดําเนินงานคนควาขอมูลที่เกี่ยวของ ทั้งทางภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ
        โดยภาคทฤษฎีเปนการศึกษาขอมูลทางดานเอกสาร โดยผูศึกษาไดรวบรวมขอมูล แลว
นํามาทําการวิเคราะหหาจุดแข็ง จุดออน กําหนดกลุมเปาหมาย กําหนดแนวความคิด เพื่อนํามาใช
                     
ในการออกแบบผลงานสื่อโฆษณาในสื่อประเภทตางๆ สวนภาคปฏิบัติผูศึกษา ใชแนวความคิดที่
ผานการวิเคราะห มาสรางสรรคเปนภาพรางในงานสื่อโฆษณาในประเภทตางๆ แลวนําไปปรึกษา
อาจารยและ ผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ จากนั้นจึงนํามาสรางสรรคในคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรม
อะโดบี (Adobe Illustrator, Adobe Photoshop, Adobe Premier Pro) ซึ่งขั้นตอนการดําเนินการ
ตางๆ ไดมีการปรึกษาและขอคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ เพื่อความสมบูรณและถูกตองเหมาะสม
โดยในการทําแตละครั้งมักจะเจอปญหาใหมๆ ดังเชน แสง สถานที่ และอุปกรณในการถายทํา
ปญหาในดานงบประมาณที่สูงเกินไป
        จากการศึกษา พบวา สื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก ที่ไดมีการนํา
แมคคานิคและ กิมมิคมาใช ทั้งยังมีรูปแบบและแนวความคิดที่นาสนใจ เพื่อมุงหมายใหเกิดความ
นาสนใจ และดึงดูดใจ ในกลุมเปาหมาย
ง



                                             บทที่ 1

                                              บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

                กรมสุขภาพจิต ระบุไอคิวเด็กไทยไมพัฒนา ลดระดับต่ําสุดเอเชีย แนะพอแมกระตุน
การคิด ฝกจินตนาการ จัดระเบียบเสนใยประสาท ขณะที่ผลวิจัยพบสมองเด็กในสถานเลี้ยงเด็ก
กํ า พร า ฝ อ ลง คล า ยคนเป น โรคอั ล ไซเมอร ขณะที่ เ ด็ ก ถู ก ทารุ ณ กรรมจะมี ส ารความเครี ย ด
ในเลือดสูง มีปญหาพัฒนาการสมอง กรมสุขภาพจิตรวมกับกรมพินิจคุมครองเด็กและเยาวชน
ดําเนินการสํารวจระดับสติปญญาเด็กไทยจํานวนประมาณ 100,000 คนทั่วประเทศ วาขอมูลจาก
หนังสือของ Lynn ป 2006 ไดทําการสํารวจไอคิวของเด็กทั่วโลก พบวาไอคิวของเด็กไทยอยูที่
ประมาณ 91 จัดอยูในระดับที่ 53 จาก 192 ประเทศทั่วโลก ซึ่งต่ํากวาระดับไอคิวของเด็กใน
ประเทศอื่นๆในเอเชีย เชน เด็กในประเทศจีน ญี่ปุน สิงคโปร ไตหวัน ฮองกง เวียดนาม รวมทั้ง
มาเลเซีย นอกจากนี้ยังพบวา ตั้งแตป 2002-2006 อันดับไอคิวของเด็กไทยแทบจะไมมีพัฒนาการ
ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ประเทศสิงคโปรระดับไอคิวของเด็กเพิ่มจาก 103 ในป ค.ศ.2002 เปน 108 ในป
ค.ศ. 2006 ยิ่งไปกวานั้นก็คือ เมื่อนําระดับไอคิวแสดงผลเปนกราฟรูประฆังคว่ํา พบวาไอคิวที่ระดับ
91 ของเด็กไทย มีแนวโนมที่จะเอียงไปทางซายของกราฟ ซึ่งเปนดานที่ตรงขามกับระดับการแปร
ผลที่ฉลาดกวา จากการศึกษาของ นพ.อีริค อาร แคนเดล จิตแพทยรางวัลโนเบลในป 2553 พบวา
การเรียนรู ความรู ความจํา ความคิด อารมณ สติปญญา เกิดจากการที่เซลลสมองแตกกิ่งมา
เชื่อมตอกันเปนวงจร สมองสวนที่มีการจัดระเบียบใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมตอใหมๆเพิ่มขึ้น
จํานวน มาก ขณะที่ใยประสาทสวนที่ไมไดใชจะหายไป ใยประสาทสวนที่ใชบอยจะหนาตัวขึ้น ซึ่ง
การที่จะชวยพัฒนาจินตนาการเด็ก เราสามารถใชของเลนมาพัฒนาได ของเลนไมใชเพียงแคเรื่อง
เลนๆ
                “ของเลน” นับเปนอีกเครื่องมือหนึ่งที่มีสวนสําคัญในการสรางทักษะและพัฒนารางกาย
สมองสวนตางๆ ชวยเสริมสรางจินตนาการของเด็ก และการสรางความสัมพันธระหวางพอแมกับ
เด็กๆ นอกจากการ เลนของเลนจะใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน ชวยใหเด็กอารมณดีเบิกบาน
แลว การเลนของเลนยังชวยเสริมความคิดสรางสรรค สรางจินตนาการ และฝกทักษะในการใช
ง



อวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย ชวยพัฒนาศักยภาพของเด็กในดานตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ
การเลนและของเลนสําหรับเด็กใน ชวงปฐมวัยมีความหมายและความสําคัญตอชีวิตเด็กๆ เปน
อยางมาก โดยเฉพาะประสบการณที่เด็กไดรับจากการเลนกับผูคนหรือของเลน ถือเปนรากฐานที่
สะสมเปนพื้นฐานการเรียนรูที่ซับซอนมากขึ้นในชวงวัยตอๆมา เด็กที่ขาดโอกาสในการเลนหรือไม
เคยมีประสบการณในการเลนยอมมีโอกาสที่จะประสบปญหาในการเรียนรูและมีพัฒนาการลาชา
                การเล น ของเด็ ก เปรี ย บเหมื อ นการทํ า งานของผู ใ หญ การมี ส ว นร ว มของพ อ แม
ผูปกครองจะมีสวนสําคัญ การเลนของเลนที่เหมาะสมชวยพัฒนาการเรียนรูของเด็กไดเปนอยางดี
พั ฒ นาการสมองแต ล ะช ว งวั ย สามารถเสริ ม ได ด ว ยของเล น เด็ ก เราสามารถแบ ง กลุ ม พ อ แม
ผูปกครองไดเปนสองกลุม ในกลุมพอแมที่เห็นความสําคัญของการเลน ของเลนที่ซื้อใหลูกก็จะชวย
สรางพัฒนาการใหกับเด็ก แตในกลุมพอแมที่เห็นของเลนเปนเพียงเรื่องเลนๆ ของเลนที่ซื้อใหลูกก็
จะเปนของเลนที่ไมมีคุณภาพ
                ของเลนเปนสิ่งที่ชวยทําใหเด็กไทยมีจนตนาการมากยิ่งขึน เพราะยุคนี้ยิ่งโลก
                                                          ิ                 ้
กวางมากขึ้นเทาไหร ประเทศไทยยิ่งตองกาวตามใหทัน และเด็กไทยก็จําเปนตองมี
จินตนาการทีกาวทันโลกดวย จึงอยากฝากใหทกฝายสนับสนุนลูกหลานใหรจกคิดรูจักทํา
                 ่                                   ุ                                ู ั
รวมถึงเลือกของเลนที่มีคณภาพและมีประโยชนใหเด็กๆ
                             ุ
                การเลือกของเลนที่ดีเพื่อเสริมสรางการเรียน รูตามศักยภาพของเด็กนับเปนเรื่องที่
สํา คัญยิ่ ง จากการศึ ก ษา วิ จั ย พั ฒ นาการแบบองครวมของเด็ก ไทย ในเรื่องปจจัยคัดสรรดา น
ครอบครัวและการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เมื่อป พ.ศ. 2547 พบวาของเลนสําหรับเด็กอายุ 1-3 ขวบ ที่มี
อยูในบาน สวนใหญเปนของเลนที่เนนการพัฒนาทางดานรางกายมากกวาของเลนที่เนนการ
พัฒนาสมอง ของเลนที่พบวามีอยูในบานมากที่สุดไดแก ของเลนที่ใชออกกําลังแขนขาซึ่งมีมากถึง
86.9% รองลงมาไดแกของเลนฝกนิ้วมือซึ่งมีมากถึง 71.2% และจากการศึกษา วิจัยดังกลาว
พบวาของเลนสําหรับเด็กอายุ 3-6 ขวบที่มีอยูในบานมากที่สุดก็ยังคงเปนของที่ฝกการเคลื่อนไหว
แขนขาซึ่งมี มากถึง 90% รองลงมาไดแก ของที่ใชขีดเขียนซึ่งมีมากถึง 84.4% ถึง เวลาแลวหรือยัง
ที่พอแมผูปกครองทั้งหลายจะหันมาใหความสนใจกับการเลนและของเลนสําหรับเด็ก เพราะการ
เลนและของเลนมีความหมายและความสําคัญตอการพัฒนาชีวิตเด็กเปน อยางมากการสงเสริมให
เด็กไดเลน และสนับสนุนของเลนที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความถนัดของ
เด็ก จะทําใหเด็กเกิดการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ และชวยสรางเสริมพัฒนาการของเด็กในดาน
ตาง ๆ ไปพรอม ๆ กัน
                หลักในการเลือกของเลนใหลูก เด็กในวัยเรียนจะชอบเลนของเลน ที่มีรายละเอียด
มี ค วามซั บ ซ อ น และท า ทายความสามารถมากกว า เด็ ก เล็ ก ตั ว ต อ (เลโก หรื อ บล็ อ กไม )
ง



ของเลน ประเภทนี้จะชวยในการฝกการใชสมาธิ ของมือและตาใหทํางานประสานกัน เพราะเลโก
มีโครงสรางที่ซับซอน และทาทายความสามารถ ทั้งนี้เลโกยังมีประโยชนอีกมากมาย คือ
              1. พัฒนาการดานรางกาย สําหรับเด็กเล็ก เด็กสามารถใชเลโก (และของเลนอื่นๆ)
เพื่อใหรางกาย (Motor Skills) เกิดพัฒนาการดานนิ้วมือ ในการหยิบจับสิ่งของ เลโกมีผลิตภัณฑที่
เหมาะสําหรับเด็กเล็ก คือ DUPLO แตราคาคอนขางสูง และชิ้นมีนอย เพราะเลโก ออกแบบดวย
การคํานึงถึงความปลอดภัย มีการใชพลาสติกอยางดี และสีที่ปลอดภัย นอกจากนี้ DUPLO ที่มี
ชิ้นสวนขนาดใหญ ก็เพื่อปองกันไมใหเด็กกลืนชิ้นสวนเขาไปโดยอุบัติเหตุ แตดวยความที่ DUPLO
ชิ้นใหญ ผูปกครองก็อาจจะวิตกอีกวา จะเลนไมไดนาน สําหรับ DUPLO นั้น ถูกออกแบบใหตอเขา
กับเลโก System (ที่เปนชิ้นเล็ก)
              2. พัฒนาการดานการมีสมาธิและใหมีอารมณเยือกเย็นขึ้น การตอเลโกจะตอง
ตอตามแบบ จะขามขั้นตอนไมได การตอขามขั้นอาจทําใหไมไดผลลัพธตามตองการ ดังนั้นเด็ก
จะตองตอตามแบบที่ละหนาไปเรื่อยจนกวาจะจบกระบวนการ ถาเด็กเริ่มตนอยาใหตอชุดใหญๆ
ควรเริ่มตอจากชุดเล็กๆ ไปกอน เพื่อจะไดใหเริ่มฝกสมาธิและเพิ่มขึ้นทีละนอย การใหเด็กเริ่มตอชุด
ใหญในครั้งแรกๆ อาจทําใหเด็กหมดกําลังใจไดอยางรวดเร็ว และรูจักใหเกิดความใจเย็น ละเอียด
ถี่ถวนไปในตัว
              3. พัฒนาการดานความคิดสรางสรรค หลังจากเด็กตอตามแบบไดระยะหนึ่ง เด็กอาจ
อยากตอแบบอื่นที่เลโกไมมีก็สามารถนําเอาเลโกมาแกะออกแลวตอกลับเขาไปใหมได (ซึ่งถาเปน
ของเล น ประเภทอื่ น ๆ อาจจะทํ า ในลั ก ษณะดั ง กล า วได ลํ า บาก) เมื่ อ เด็ ก ต อ ออกมาเป น อะไร
ผูปกครองตองคอยสอบถามวาตอเปนอะไร การชมเชยในผลงานของเด็กจะทําใหเด็กเกิดความ
เชื่อมั่น และทํา ผลงานอื่น ๆ ได เ พิ่ม ขึ้น นอกจากนี้ก ารชวยเสนอแนะไอเดีย ยัง อาจชว ยใหเด็ก
มองเห็ น ความคิ ด ผู อื่ น และยอมรั บ ในความคิ ด เห็ น ของผู อื่ น อี ก ด ว ย แต สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเกิ ด ได
ผูปกครองจะตองใสใจใหความสนใจในการเลนเลโก (และของเลนอื่นๆ) ไมใชพอซื้อใหแลวก็ใหเด็ก
เลนอยูเพียงลําพัง
              4. พัฒนาการในการแกไขปญหาเฉพาะหนา รูจักการดัดแปลง เลโกไมไดผลิตชิ้นสวน
                                             
ออกมาเพื่อรองรับการตอชิ้นงานในทุกรูปแบบ ดังนั้นบางครั้งเด็กจะตองตอแลวรูจักใชชิ้นสวนที่มี
อยู และดัดแปลงเพื่อใหไดใชงานที่ตองการ
              5. พัฒนาดานเครื่องยนตกลไก ซึ่งจะนําไปสูการเรียนดานวิศวกรรม เลโกในชุดของ
Technic (จะเหมาะกับเด็กโตขึ้นมานิดหนึง และมีประสบการณในการตอเลโกมาพอสมควร) จะมี
                                               ่
กลไกเพื่อใหเลโกสามารถขยับชิ้นสวนไปมาได เชน ถาตองการใหปลาสามารถขยับปากหรือหาง
ง



ก็อาจจะนําชินสวนของ Technic เขามาประยุกต ก็ทาใหเด็กเรียนรูกลไกดานวิศวกรรมเบื้องตนได
                ้                                           ํ
เปนอยางดี
                  6. พัฒนาการดานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร ในเลโกชุด Mindstorm จะเหมาะ
กับเด็กที่สนใจดานการการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เพราะเลโกชุด Mindstorm เปนการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อจะสั่งชิ้นสวนเลโก ซึ่งเด็กอาจจะตอเปนหุนยนต หรือไดโนเสารใหทํางาน
ตามคําสั่งของเด็กได การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรก็ไมยาก เพราะเลโกตองการเนนเรื่องของ
ตรรกะ ความคิดมากกวาเรื่องของ Syntax ของภาษา การเขียนโปรแกรมที่แตกตางกัน จะทําใหเด็ก
เห็ น ผลลั พ ธ ที่ แ สดงออกมาผ า นหุ น ยนต ที่ แ ตกต า งกั น ได อ ย า งชั ด เจน ไม เ หมื อ นกั บ การเขี ย น
โปรแกรมคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป
                  ซึ่งเราจะเห็นไดวาประโยชนของเลโกมีมากมาย ซึ่งจะชวยเสริมทักษะ ฝกพัฒนาการ
ในทุกๆ ดานเลโก เปนของเลนพลาสติกที่มีรูปรางคลายกอนอิฐ หลากสี สามารถตอเขาดวยก็ได
ทุกตัว (เดิมทีเปนของเลนที่ทําจากไม) ดวยจากการที่ตัวของเลโก สามารถตอเขากันไดทุกตัว เด็ก
จึงสามารถใสจินตนาการเขาไปได โดยไมมีขีดจํากัด และไมตองมีแบบฟอรมเลโก ถือกําเนิดขึ้น
จากชายคนหนึ่งที่มีชื่อวา Ole Kirk Christiansen เขาเปนชางไมผีมือระดับปรมาจารยอาศัยอยูใน
เมืองบิลลุนด (Billund) ประเทศเดนมารกในป ค.ศ. 1932 ไดเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ําอยางรุนแรง
ทําใหธุรกิจของเขาไดรับผลกระทบไปดวยทําใหเขาตัดสินใจที่จะผลิตสินคาหลายชนิดมาจําหนาย
เชนเครื่องใชภายในบานพวกบันได (Stepladders) เกาอี้นั่งเลนตัวเล็กๆ (Stools) และของเลนไม
(Wooden Toys) ซึ่งของเลนไมนี้ ไดมีความนิยมเปนอยางมาก แตทางบริษัทจึงลองซื้อเครื่องฉีด
พลาสติกมาใชในการผลิตของเลน เพื่อเพิ่มตัวเลือกใหกับผูซื้อ ของเลนพลาสติก จึงเปนที่นิยมมาก
ในชวงนั้น ซึ่งคําวา เลโก (LEGO) มาจากรากศัพทภาษาเดนมารกวา "LEg GOdt" มีความหมายวา
“Play Well” หรือแปลสนุกๆไดวา “เลนไดเลนดี” ในขณะที่คํานี้มีความหมายในภาษาลาตินวา
“I Assemble” หรือ “I Put Together” แปลไดวา “ประกอบหรือวางเขาดวยกัน” นอกจากนี้
Ole Kirk Christiansen ยังเปนคนที่ใสใจและไมเคยละเลยตอคุณภาพของสินคาเขาไดติดปายคติ
พจนสําหรับการทํางานไวในโรงงานวา “Only The Best Is Good Enough" หรือแปลไดวา
“ตองดีที่สุดเทานั้นถึงจะดีพอ” (คติพจนนี้ยังคงใชตอมาจนถึงทุกวันนี้)

              จึงพอสรุปไดวา ของเลน Lego เปนของเลนที่ตอบโจทยใหกับเด็กๆ ไดอยางดีนั่นเอง
                           
ผูศึกษาจึงมีแนวคิดในการจัดทําศิลปะนิพนธ เรื่อง การออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน
ผลิตภัณฑเลโก ภายใตแนวความคิด “Play It” ขึ้น
ง




วัตถุประสงคของศิลปนิพนธ

          1. เพื่อศึกษาการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ
          2. เพื่อออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก
          3. เพื่อตอกย้ําตัวผลิตภัณฑเลโก

ผลที่คาดวาจะไดรับ

          1. ไดรูถึงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ
          2. ไดรับรูถึงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก
          3. ผูบริโภครูจักผลิตภัณฑเลโก

ขอบเขตของการทําศิลปะนิพนธ

            ออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก ภายใตแนวความคิด
“Play It” สําหรับผูปกครองที่มีรายได 20,000 บาท ขึ้นไป ตอเดือน และเด็กในเพศชาย – หญง
                                                                                     ิ
ระหวางอายุ 7-12 ป ดวยโปรแกรม Adobe IIIustrator , Adobe Photoshop , Adobe Premiere Pro
     

ขั้นตอนการศึกษา

           1. ศึกษาแหลงขอมูลจากอินเตอรเนต
                 1.1 http://adsoftheworld.com (แบบตัวอยางงานโฆษณาตางๆ ของ
ผลิตภัณฑ เลโก)
                 1.2 http://www.thaibrickclub.com (ประวัติ ผลิภัณฑ เลโก)
                 1.3 http://thailug.wordpress.com (ประโยชนของเลโก : 2552)
                 1.4 http://women.sanook.com (พัฒนาการลูก : 2551)
                 1.5 http://bc46.com (เด็กไทยมีไอคิว ต่ําสุดในเอเชีย แนะกระตุนการคิด :
2553)
ง



                     1.6 http://www.kidsradioclub.or.th (ของเลนกับพัฒนาเด็กไทย : 2554)
                     1.7 http://blog.th.88db.com (เลนไปเรียนไป กับของเลนเสริมทักษะ : 2554)
             2. ศึกษาแหลงขอมูลจากหนังสือ
                     2.1 หนังสือ เลี้ยงลูกดวยสัญชาตญาณ ผูเขียน สุวรรณา โชคประจักษชัด
                     2.2 นิตยสาร Mother&Care Vol.4 ฉบับที่ 35 (พฤษจิกายน 2550)
                     2.3 หนังสือ คูมือการเลือกของเลน ผูเขียน อรุณรัศมี ฉายศิลปไชย
                     2.4 ของเลนอะไรพัฒนาสมองลูก จากหนังสือพิมพผูจัดการ
(ฉบับวันที่ 10 กุมภาพนธ 2554)
                           ั
                     2.5 โฆษณาอยางไรชนะใจผูซื้อ ผูเขียน นิวัต วงศพรหมปรีดา
             3. ศึกษาแหลงขอมูลจากวิทยานิพนธ
                     3.1 การโฆษณาที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อ : 2550
             4. วิเคราะหขอมูลและสรุปผล
             5. ออกแบบสเกตงาน
             6. ใหผูเชี่ยวชาญ หรือคณะกรรมการสอบ วิเคราะหเลือกรูปแบบงานที่เหมาะสม
             7. สรางสรรคงานโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิภัณฑเลโก ตามรูปแบบที่ผานการ
คัดเลือก
             8. จัดแสดงผลงานและสรุปผล

ขอตกลงเบื้องตน

        ออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑ เลโก ภายใต
แนวความคิด “Play It” จํานวน 11 ชิ้น โดยมี
        1. ภาพยนตรโฆษณา              ขนาดความยาว 30 วินาที จํานวน            1   เรื่อง
        2. Story Board                ขนาด 42x59.4 ซม.        จํานวน            3 เรื่อง
        3. โฆษณาในหนานิตยาสาร ขนาด 21x29.7 ซม.               จํานวน            6 ชิ้น
        4. P.O.P                      ขนาด 90 x 200 ซม.      จํานวน            1 ชิ้น
ความจํากัดของการศึกษา

           1. ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ         3 เดือน
ง



            2. งบประมาณ ประมาณ               20,000 บาท

คําสําคัญ

            1. ออกแบบ หมายถึง เปนการวาดตัวอยางของรูปแบบการจัดวางอยางคราวๆดวยวิธการี
วาดสเกตทั้งมือ และคอมพิวเตอร
            2. สื่อโฆษณา หมายถึง การสรางความจูงใจใหกลุมเปาหมาย หันมาใหความสนใจใน
                                                                           
ผลิตภัณฑและใหการตอบรับในผลิตภัณฑเปนอยางดี
            3. โฆษณาในหนานิตยาสาร หมายถึง โฆษณาในหนังสือนิตยสาร
            4. Story Board หมายถึง การเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณของภาพยนตรหรือ
หนังแตละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแตละฉากหรือแตละหนาจ เชน ขอความ
ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแตละอยางนั้นมีลําดับของการปรากฏ วาอะไรจะ
ปรากฏขึ้นกอน หลัง อะไรจะปรากฏพรอมกัน เปนการออกแบบอยางละเอียดในแตละหนากอนที่
จะลงมือสรางเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ
            5. P.O.P หมายถึง สื่อโฆษณา ณ จุดขาย ปายที่ระบุรายละเอียดของสินคาโดยมีลักษณะ
ใหญ เปนที่สะดุดตา โดยมีการติดตั้งไวบริเวณหนารานขายสินคา
            6. ภาพยนตรโฆษณา หมายถึง สื่อโฆษณาทางโทรทัศนที่เคลื่อนไหวได เปนสื่อโฆษณา
ที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดเร็วที่สุด

More Related Content

What's hot

Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือนSurapon Boonlue
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอนMint-Jan Rodsud
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 

What's hot (16)

Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
New media for teaching
New media for teachingNew media for teaching
New media for teaching
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
06530414 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 

Similar to 3

โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์sofia-m15
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์nurul027
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์saleehah053
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทNamphon Srikham
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 

Similar to 3 (20)

โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 

More from ฉัน โม๊ะณา (6)

7 3
7 37 3
7 3
 
7 2
7 27 2
7 2
 
2
22
2
 
1
11
1
 
7 1
7  17  1
7 1
 
เพลง โอมจงเงย
เพลง โอมจงเงยเพลง โอมจงเงย
เพลง โอมจงเงย
 

3

  • 1. ง หัวขอเรื่อง โครงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก นักศึกษา สุรีพร พรชัยนิพันธ รหัสประจําตัว 4511070941134 อาจารยที่ปรึกษา อาจารยอธิวฒน จุลมัจฉา  ั หลักสูตร ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป วิทยาลัยเพาะชาง มหาวิทยาลยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ั ปการศึกษา 2554 บทคัดยอ โครงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก นําเสนอผลงานสื่อ โฆษณาในประเภทตางๆ จํานวน 8 ชิ้น โดยสรางสรรคจากโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งมีขั้นตอนการ ดําเนินงานคนควาขอมูลที่เกี่ยวของ ทั้งทางภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยภาคทฤษฎีเปนการศึกษาขอมูลทางดานเอกสาร โดยผูศึกษาไดรวบรวมขอมูล แลว นํามาทําการวิเคราะหหาจุดแข็ง จุดออน กําหนดกลุมเปาหมาย กําหนดแนวความคิด เพื่อนํามาใช  ในการออกแบบผลงานสื่อโฆษณาในสื่อประเภทตางๆ สวนภาคปฏิบัติผูศึกษา ใชแนวความคิดที่ ผานการวิเคราะห มาสรางสรรคเปนภาพรางในงานสื่อโฆษณาในประเภทตางๆ แลวนําไปปรึกษา อาจารยและ ผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ จากนั้นจึงนํามาสรางสรรคในคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรม อะโดบี (Adobe Illustrator, Adobe Photoshop, Adobe Premier Pro) ซึ่งขั้นตอนการดําเนินการ ตางๆ ไดมีการปรึกษาและขอคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ เพื่อความสมบูรณและถูกตองเหมาะสม โดยในการทําแตละครั้งมักจะเจอปญหาใหมๆ ดังเชน แสง สถานที่ และอุปกรณในการถายทํา ปญหาในดานงบประมาณที่สูงเกินไป จากการศึกษา พบวา สื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก ที่ไดมีการนํา แมคคานิคและ กิมมิคมาใช ทั้งยังมีรูปแบบและแนวความคิดที่นาสนใจ เพื่อมุงหมายใหเกิดความ นาสนใจ และดึงดูดใจ ในกลุมเปาหมาย
  • 2. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา กรมสุขภาพจิต ระบุไอคิวเด็กไทยไมพัฒนา ลดระดับต่ําสุดเอเชีย แนะพอแมกระตุน การคิด ฝกจินตนาการ จัดระเบียบเสนใยประสาท ขณะที่ผลวิจัยพบสมองเด็กในสถานเลี้ยงเด็ก กํ า พร า ฝ อ ลง คล า ยคนเป น โรคอั ล ไซเมอร ขณะที่ เ ด็ ก ถู ก ทารุ ณ กรรมจะมี ส ารความเครี ย ด ในเลือดสูง มีปญหาพัฒนาการสมอง กรมสุขภาพจิตรวมกับกรมพินิจคุมครองเด็กและเยาวชน ดําเนินการสํารวจระดับสติปญญาเด็กไทยจํานวนประมาณ 100,000 คนทั่วประเทศ วาขอมูลจาก หนังสือของ Lynn ป 2006 ไดทําการสํารวจไอคิวของเด็กทั่วโลก พบวาไอคิวของเด็กไทยอยูที่ ประมาณ 91 จัดอยูในระดับที่ 53 จาก 192 ประเทศทั่วโลก ซึ่งต่ํากวาระดับไอคิวของเด็กใน ประเทศอื่นๆในเอเชีย เชน เด็กในประเทศจีน ญี่ปุน สิงคโปร ไตหวัน ฮองกง เวียดนาม รวมทั้ง มาเลเซีย นอกจากนี้ยังพบวา ตั้งแตป 2002-2006 อันดับไอคิวของเด็กไทยแทบจะไมมีพัฒนาการ ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ประเทศสิงคโปรระดับไอคิวของเด็กเพิ่มจาก 103 ในป ค.ศ.2002 เปน 108 ในป ค.ศ. 2006 ยิ่งไปกวานั้นก็คือ เมื่อนําระดับไอคิวแสดงผลเปนกราฟรูประฆังคว่ํา พบวาไอคิวที่ระดับ 91 ของเด็กไทย มีแนวโนมที่จะเอียงไปทางซายของกราฟ ซึ่งเปนดานที่ตรงขามกับระดับการแปร ผลที่ฉลาดกวา จากการศึกษาของ นพ.อีริค อาร แคนเดล จิตแพทยรางวัลโนเบลในป 2553 พบวา การเรียนรู ความรู ความจํา ความคิด อารมณ สติปญญา เกิดจากการที่เซลลสมองแตกกิ่งมา เชื่อมตอกันเปนวงจร สมองสวนที่มีการจัดระเบียบใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมตอใหมๆเพิ่มขึ้น จํานวน มาก ขณะที่ใยประสาทสวนที่ไมไดใชจะหายไป ใยประสาทสวนที่ใชบอยจะหนาตัวขึ้น ซึ่ง การที่จะชวยพัฒนาจินตนาการเด็ก เราสามารถใชของเลนมาพัฒนาได ของเลนไมใชเพียงแคเรื่อง เลนๆ “ของเลน” นับเปนอีกเครื่องมือหนึ่งที่มีสวนสําคัญในการสรางทักษะและพัฒนารางกาย สมองสวนตางๆ ชวยเสริมสรางจินตนาการของเด็ก และการสรางความสัมพันธระหวางพอแมกับ เด็กๆ นอกจากการ เลนของเลนจะใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน ชวยใหเด็กอารมณดีเบิกบาน แลว การเลนของเลนยังชวยเสริมความคิดสรางสรรค สรางจินตนาการ และฝกทักษะในการใช
  • 3. ง อวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย ชวยพัฒนาศักยภาพของเด็กในดานตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ การเลนและของเลนสําหรับเด็กใน ชวงปฐมวัยมีความหมายและความสําคัญตอชีวิตเด็กๆ เปน อยางมาก โดยเฉพาะประสบการณที่เด็กไดรับจากการเลนกับผูคนหรือของเลน ถือเปนรากฐานที่ สะสมเปนพื้นฐานการเรียนรูที่ซับซอนมากขึ้นในชวงวัยตอๆมา เด็กที่ขาดโอกาสในการเลนหรือไม เคยมีประสบการณในการเลนยอมมีโอกาสที่จะประสบปญหาในการเรียนรูและมีพัฒนาการลาชา การเล น ของเด็ ก เปรี ย บเหมื อ นการทํ า งานของผู ใ หญ การมี ส ว นร ว มของพ อ แม ผูปกครองจะมีสวนสําคัญ การเลนของเลนที่เหมาะสมชวยพัฒนาการเรียนรูของเด็กไดเปนอยางดี พั ฒ นาการสมองแต ล ะช ว งวั ย สามารถเสริ ม ได ด ว ยของเล น เด็ ก เราสามารถแบ ง กลุ ม พ อ แม ผูปกครองไดเปนสองกลุม ในกลุมพอแมที่เห็นความสําคัญของการเลน ของเลนที่ซื้อใหลูกก็จะชวย สรางพัฒนาการใหกับเด็ก แตในกลุมพอแมที่เห็นของเลนเปนเพียงเรื่องเลนๆ ของเลนที่ซื้อใหลูกก็ จะเปนของเลนที่ไมมีคุณภาพ ของเลนเปนสิ่งที่ชวยทําใหเด็กไทยมีจนตนาการมากยิ่งขึน เพราะยุคนี้ยิ่งโลก  ิ ้ กวางมากขึ้นเทาไหร ประเทศไทยยิ่งตองกาวตามใหทัน และเด็กไทยก็จําเปนตองมี จินตนาการทีกาวทันโลกดวย จึงอยากฝากใหทกฝายสนับสนุนลูกหลานใหรจกคิดรูจักทํา ่ ุ ู ั รวมถึงเลือกของเลนที่มีคณภาพและมีประโยชนใหเด็กๆ ุ การเลือกของเลนที่ดีเพื่อเสริมสรางการเรียน รูตามศักยภาพของเด็กนับเปนเรื่องที่ สํา คัญยิ่ ง จากการศึ ก ษา วิ จั ย พั ฒ นาการแบบองครวมของเด็ก ไทย ในเรื่องปจจัยคัดสรรดา น ครอบครัวและการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เมื่อป พ.ศ. 2547 พบวาของเลนสําหรับเด็กอายุ 1-3 ขวบ ที่มี อยูในบาน สวนใหญเปนของเลนที่เนนการพัฒนาทางดานรางกายมากกวาของเลนที่เนนการ พัฒนาสมอง ของเลนที่พบวามีอยูในบานมากที่สุดไดแก ของเลนที่ใชออกกําลังแขนขาซึ่งมีมากถึง 86.9% รองลงมาไดแกของเลนฝกนิ้วมือซึ่งมีมากถึง 71.2% และจากการศึกษา วิจัยดังกลาว พบวาของเลนสําหรับเด็กอายุ 3-6 ขวบที่มีอยูในบานมากที่สุดก็ยังคงเปนของที่ฝกการเคลื่อนไหว แขนขาซึ่งมี มากถึง 90% รองลงมาไดแก ของที่ใชขีดเขียนซึ่งมีมากถึง 84.4% ถึง เวลาแลวหรือยัง ที่พอแมผูปกครองทั้งหลายจะหันมาใหความสนใจกับการเลนและของเลนสําหรับเด็ก เพราะการ เลนและของเลนมีความหมายและความสําคัญตอการพัฒนาชีวิตเด็กเปน อยางมากการสงเสริมให เด็กไดเลน และสนับสนุนของเลนที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความถนัดของ เด็ก จะทําใหเด็กเกิดการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ และชวยสรางเสริมพัฒนาการของเด็กในดาน ตาง ๆ ไปพรอม ๆ กัน หลักในการเลือกของเลนใหลูก เด็กในวัยเรียนจะชอบเลนของเลน ที่มีรายละเอียด มี ค วามซั บ ซ อ น และท า ทายความสามารถมากกว า เด็ ก เล็ ก ตั ว ต อ (เลโก หรื อ บล็ อ กไม )
  • 4. ง ของเลน ประเภทนี้จะชวยในการฝกการใชสมาธิ ของมือและตาใหทํางานประสานกัน เพราะเลโก มีโครงสรางที่ซับซอน และทาทายความสามารถ ทั้งนี้เลโกยังมีประโยชนอีกมากมาย คือ 1. พัฒนาการดานรางกาย สําหรับเด็กเล็ก เด็กสามารถใชเลโก (และของเลนอื่นๆ) เพื่อใหรางกาย (Motor Skills) เกิดพัฒนาการดานนิ้วมือ ในการหยิบจับสิ่งของ เลโกมีผลิตภัณฑที่ เหมาะสําหรับเด็กเล็ก คือ DUPLO แตราคาคอนขางสูง และชิ้นมีนอย เพราะเลโก ออกแบบดวย การคํานึงถึงความปลอดภัย มีการใชพลาสติกอยางดี และสีที่ปลอดภัย นอกจากนี้ DUPLO ที่มี ชิ้นสวนขนาดใหญ ก็เพื่อปองกันไมใหเด็กกลืนชิ้นสวนเขาไปโดยอุบัติเหตุ แตดวยความที่ DUPLO ชิ้นใหญ ผูปกครองก็อาจจะวิตกอีกวา จะเลนไมไดนาน สําหรับ DUPLO นั้น ถูกออกแบบใหตอเขา กับเลโก System (ที่เปนชิ้นเล็ก) 2. พัฒนาการดานการมีสมาธิและใหมีอารมณเยือกเย็นขึ้น การตอเลโกจะตอง ตอตามแบบ จะขามขั้นตอนไมได การตอขามขั้นอาจทําใหไมไดผลลัพธตามตองการ ดังนั้นเด็ก จะตองตอตามแบบที่ละหนาไปเรื่อยจนกวาจะจบกระบวนการ ถาเด็กเริ่มตนอยาใหตอชุดใหญๆ ควรเริ่มตอจากชุดเล็กๆ ไปกอน เพื่อจะไดใหเริ่มฝกสมาธิและเพิ่มขึ้นทีละนอย การใหเด็กเริ่มตอชุด ใหญในครั้งแรกๆ อาจทําใหเด็กหมดกําลังใจไดอยางรวดเร็ว และรูจักใหเกิดความใจเย็น ละเอียด ถี่ถวนไปในตัว 3. พัฒนาการดานความคิดสรางสรรค หลังจากเด็กตอตามแบบไดระยะหนึ่ง เด็กอาจ อยากตอแบบอื่นที่เลโกไมมีก็สามารถนําเอาเลโกมาแกะออกแลวตอกลับเขาไปใหมได (ซึ่งถาเปน ของเล น ประเภทอื่ น ๆ อาจจะทํ า ในลั ก ษณะดั ง กล า วได ลํ า บาก) เมื่ อ เด็ ก ต อ ออกมาเป น อะไร ผูปกครองตองคอยสอบถามวาตอเปนอะไร การชมเชยในผลงานของเด็กจะทําใหเด็กเกิดความ เชื่อมั่น และทํา ผลงานอื่น ๆ ได เ พิ่ม ขึ้น นอกจากนี้ก ารชวยเสนอแนะไอเดีย ยัง อาจชว ยใหเด็ก มองเห็ น ความคิ ด ผู อื่ น และยอมรั บ ในความคิ ด เห็ น ของผู อื่ น อี ก ด ว ย แต สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเกิ ด ได ผูปกครองจะตองใสใจใหความสนใจในการเลนเลโก (และของเลนอื่นๆ) ไมใชพอซื้อใหแลวก็ใหเด็ก เลนอยูเพียงลําพัง 4. พัฒนาการในการแกไขปญหาเฉพาะหนา รูจักการดัดแปลง เลโกไมไดผลิตชิ้นสวน  ออกมาเพื่อรองรับการตอชิ้นงานในทุกรูปแบบ ดังนั้นบางครั้งเด็กจะตองตอแลวรูจักใชชิ้นสวนที่มี อยู และดัดแปลงเพื่อใหไดใชงานที่ตองการ 5. พัฒนาดานเครื่องยนตกลไก ซึ่งจะนําไปสูการเรียนดานวิศวกรรม เลโกในชุดของ Technic (จะเหมาะกับเด็กโตขึ้นมานิดหนึง และมีประสบการณในการตอเลโกมาพอสมควร) จะมี ่ กลไกเพื่อใหเลโกสามารถขยับชิ้นสวนไปมาได เชน ถาตองการใหปลาสามารถขยับปากหรือหาง
  • 5. ง ก็อาจจะนําชินสวนของ Technic เขามาประยุกต ก็ทาใหเด็กเรียนรูกลไกดานวิศวกรรมเบื้องตนได ้ ํ เปนอยางดี 6. พัฒนาการดานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร ในเลโกชุด Mindstorm จะเหมาะ กับเด็กที่สนใจดานการการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เพราะเลโกชุด Mindstorm เปนการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อจะสั่งชิ้นสวนเลโก ซึ่งเด็กอาจจะตอเปนหุนยนต หรือไดโนเสารใหทํางาน ตามคําสั่งของเด็กได การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรก็ไมยาก เพราะเลโกตองการเนนเรื่องของ ตรรกะ ความคิดมากกวาเรื่องของ Syntax ของภาษา การเขียนโปรแกรมที่แตกตางกัน จะทําใหเด็ก เห็ น ผลลั พ ธ ที่ แ สดงออกมาผ า นหุ น ยนต ที่ แ ตกต า งกั น ได อ ย า งชั ด เจน ไม เ หมื อ นกั บ การเขี ย น โปรแกรมคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป ซึ่งเราจะเห็นไดวาประโยชนของเลโกมีมากมาย ซึ่งจะชวยเสริมทักษะ ฝกพัฒนาการ ในทุกๆ ดานเลโก เปนของเลนพลาสติกที่มีรูปรางคลายกอนอิฐ หลากสี สามารถตอเขาดวยก็ได ทุกตัว (เดิมทีเปนของเลนที่ทําจากไม) ดวยจากการที่ตัวของเลโก สามารถตอเขากันไดทุกตัว เด็ก จึงสามารถใสจินตนาการเขาไปได โดยไมมีขีดจํากัด และไมตองมีแบบฟอรมเลโก ถือกําเนิดขึ้น จากชายคนหนึ่งที่มีชื่อวา Ole Kirk Christiansen เขาเปนชางไมผีมือระดับปรมาจารยอาศัยอยูใน เมืองบิลลุนด (Billund) ประเทศเดนมารกในป ค.ศ. 1932 ไดเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ําอยางรุนแรง ทําใหธุรกิจของเขาไดรับผลกระทบไปดวยทําใหเขาตัดสินใจที่จะผลิตสินคาหลายชนิดมาจําหนาย เชนเครื่องใชภายในบานพวกบันได (Stepladders) เกาอี้นั่งเลนตัวเล็กๆ (Stools) และของเลนไม (Wooden Toys) ซึ่งของเลนไมนี้ ไดมีความนิยมเปนอยางมาก แตทางบริษัทจึงลองซื้อเครื่องฉีด พลาสติกมาใชในการผลิตของเลน เพื่อเพิ่มตัวเลือกใหกับผูซื้อ ของเลนพลาสติก จึงเปนที่นิยมมาก ในชวงนั้น ซึ่งคําวา เลโก (LEGO) มาจากรากศัพทภาษาเดนมารกวา "LEg GOdt" มีความหมายวา “Play Well” หรือแปลสนุกๆไดวา “เลนไดเลนดี” ในขณะที่คํานี้มีความหมายในภาษาลาตินวา “I Assemble” หรือ “I Put Together” แปลไดวา “ประกอบหรือวางเขาดวยกัน” นอกจากนี้ Ole Kirk Christiansen ยังเปนคนที่ใสใจและไมเคยละเลยตอคุณภาพของสินคาเขาไดติดปายคติ พจนสําหรับการทํางานไวในโรงงานวา “Only The Best Is Good Enough" หรือแปลไดวา “ตองดีที่สุดเทานั้นถึงจะดีพอ” (คติพจนนี้ยังคงใชตอมาจนถึงทุกวันนี้) จึงพอสรุปไดวา ของเลน Lego เปนของเลนที่ตอบโจทยใหกับเด็กๆ ไดอยางดีนั่นเอง  ผูศึกษาจึงมีแนวคิดในการจัดทําศิลปะนิพนธ เรื่อง การออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก ภายใตแนวความคิด “Play It” ขึ้น
  • 6. ง วัตถุประสงคของศิลปนิพนธ 1. เพื่อศึกษาการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ 2. เพื่อออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก 3. เพื่อตอกย้ําตัวผลิตภัณฑเลโก ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดรูถึงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ 2. ไดรับรูถึงการออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก 3. ผูบริโภครูจักผลิตภัณฑเลโก ขอบเขตของการทําศิลปะนิพนธ ออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑเลโก ภายใตแนวความคิด “Play It” สําหรับผูปกครองที่มีรายได 20,000 บาท ขึ้นไป ตอเดือน และเด็กในเพศชาย – หญง ิ ระหวางอายุ 7-12 ป ดวยโปรแกรม Adobe IIIustrator , Adobe Photoshop , Adobe Premiere Pro  ขั้นตอนการศึกษา 1. ศึกษาแหลงขอมูลจากอินเตอรเนต 1.1 http://adsoftheworld.com (แบบตัวอยางงานโฆษณาตางๆ ของ ผลิตภัณฑ เลโก) 1.2 http://www.thaibrickclub.com (ประวัติ ผลิภัณฑ เลโก) 1.3 http://thailug.wordpress.com (ประโยชนของเลโก : 2552) 1.4 http://women.sanook.com (พัฒนาการลูก : 2551) 1.5 http://bc46.com (เด็กไทยมีไอคิว ต่ําสุดในเอเชีย แนะกระตุนการคิด : 2553)
  • 7. 1.6 http://www.kidsradioclub.or.th (ของเลนกับพัฒนาเด็กไทย : 2554) 1.7 http://blog.th.88db.com (เลนไปเรียนไป กับของเลนเสริมทักษะ : 2554) 2. ศึกษาแหลงขอมูลจากหนังสือ 2.1 หนังสือ เลี้ยงลูกดวยสัญชาตญาณ ผูเขียน สุวรรณา โชคประจักษชัด 2.2 นิตยสาร Mother&Care Vol.4 ฉบับที่ 35 (พฤษจิกายน 2550) 2.3 หนังสือ คูมือการเลือกของเลน ผูเขียน อรุณรัศมี ฉายศิลปไชย 2.4 ของเลนอะไรพัฒนาสมองลูก จากหนังสือพิมพผูจัดการ (ฉบับวันที่ 10 กุมภาพนธ 2554) ั 2.5 โฆษณาอยางไรชนะใจผูซื้อ ผูเขียน นิวัต วงศพรหมปรีดา 3. ศึกษาแหลงขอมูลจากวิทยานิพนธ 3.1 การโฆษณาที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อ : 2550 4. วิเคราะหขอมูลและสรุปผล 5. ออกแบบสเกตงาน 6. ใหผูเชี่ยวชาญ หรือคณะกรรมการสอบ วิเคราะหเลือกรูปแบบงานที่เหมาะสม 7. สรางสรรคงานโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิภัณฑเลโก ตามรูปแบบที่ผานการ คัดเลือก 8. จัดแสดงผลงานและสรุปผล ขอตกลงเบื้องตน ออกแบบสื่อโฆษณาประชาสัมพันธของเลน ผลิตภัณฑ เลโก ภายใต แนวความคิด “Play It” จํานวน 11 ชิ้น โดยมี 1. ภาพยนตรโฆษณา ขนาดความยาว 30 วินาที จํานวน 1 เรื่อง 2. Story Board ขนาด 42x59.4 ซม. จํานวน 3 เรื่อง 3. โฆษณาในหนานิตยาสาร ขนาด 21x29.7 ซม. จํานวน 6 ชิ้น 4. P.O.P ขนาด 90 x 200 ซม. จํานวน 1 ชิ้น ความจํากัดของการศึกษา 1. ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ 3 เดือน
  • 8. 2. งบประมาณ ประมาณ 20,000 บาท คําสําคัญ 1. ออกแบบ หมายถึง เปนการวาดตัวอยางของรูปแบบการจัดวางอยางคราวๆดวยวิธการี วาดสเกตทั้งมือ และคอมพิวเตอร 2. สื่อโฆษณา หมายถึง การสรางความจูงใจใหกลุมเปาหมาย หันมาใหความสนใจใน  ผลิตภัณฑและใหการตอบรับในผลิตภัณฑเปนอยางดี 3. โฆษณาในหนานิตยาสาร หมายถึง โฆษณาในหนังสือนิตยสาร 4. Story Board หมายถึง การเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณของภาพยนตรหรือ หนังแตละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแตละฉากหรือแตละหนาจ เชน ขอความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแตละอยางนั้นมีลําดับของการปรากฏ วาอะไรจะ ปรากฏขึ้นกอน หลัง อะไรจะปรากฏพรอมกัน เปนการออกแบบอยางละเอียดในแตละหนากอนที่ จะลงมือสรางเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมาจริงๆ 5. P.O.P หมายถึง สื่อโฆษณา ณ จุดขาย ปายที่ระบุรายละเอียดของสินคาโดยมีลักษณะ ใหญ เปนที่สะดุดตา โดยมีการติดตั้งไวบริเวณหนารานขายสินคา 6. ภาพยนตรโฆษณา หมายถึง สื่อโฆษณาทางโทรทัศนที่เคลื่อนไหวได เปนสื่อโฆษณา ที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดเร็วที่สุด