SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ ๑
บทนํา 
 
๑.๑. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
และการพัฒนาประเทศจะสําเร็จด้วยดีขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ที่สําคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ
การศึกษา การศึกษามีหน้าที่พัฒนาคนเพื่อนําความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศ
ประชากรที่มีคุณภาพสูง คือ ผู้ที่มีการศึกษาสูง มีความรู้ ทักษะและความสามารถที่จะนําความรู้ที่
ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่การงานตามอาชีพของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น
สถาบันการศึกษา และการศึกษาจึงเป็นพื้นฐานของความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมืองของประเทศ
อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการจัดได้ว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสถานศึกษาที่
สําคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้การเรียนการสอนดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นหากผู้บริหาร
สถาบันการศึกษารวมทั้งผู้เรียนมุ่งหวังให้การเรียนการสอนบรรลุผลอย่างสมบูรณ์และ มี
ประสิทธิภาพนั้น จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดอาคารสถานที่ของสถานศึกษาให้อยู่ในสภาพที่ดี มี
ปริมาณเพียงพอต่อจํานวนผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์
ห้องประชุม หรือแม้กระทั่งห้องอาหารก็ตาม ควรมีสิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ อย่างพอเพียง เช่น
บันไดขึ้นลง โต๊ะเก้าอี้ ห้องส้วม แม้กระทั่งระบบป้ องกันเพลิงไหม้ และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ รวม
ไปถึงสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น ทางเดินระหว่างตึก ที่นั่งรอระหว่างเรียน เป็นต้น เพื่อเอื้อ
ประโยชน์ต่อกิจกรรมการเรียนการสอนให้มากที่สุด อาคารและสถานที่ของสถาบัน การศึกษามี
ความสําคัญและมีอิทธิพลต่อผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก การวางแผนด้านการจัดการอาคารและสถานที่จึง
ที่เป็นปัจจัยที่สําคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยให้สถานศึกษาดําเนินงานได้โดยสะดวก ดังนั้นผู้บริหารจึง
จําเป็นต้องให้ความสําคัญต่องานด้านนี้ไม่น้อยไปกว่าด้านอื่นๆ ภายในสถานศึกษา เพราะเป็นแหล่งที่
ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครูผู้สอนให้เป็นแหล่งถ่ายทอดวิทยาการของ
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๒
 
ชุมชน งานบริหารอาคารสถานที่จึงเป็นงานที่สําคัญที่ผู้บริหารต้องพิจารณาพินิจวิเคราะห์และบริหาร
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด๑
คณะกรรมการผู้บริหารหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง ได้เล็งเห็น
ความสําคัญของการจัดการอาคารและสถานที่เป็นอันมาก ดังจะเห็นได้จากการวางแผนการปรับปรุง
อาคารที่มีชื่อว่า อาคารหอสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ เป็นอาคารเรียน ๔ ชั้น ประกอบไปด้วย
ห้องเรียนที่ทันสมัย มีห้องปฏิบัติการเฉพาะสาขาวิชาที่พร้อมด้วยอุปกรณ์ในการสอนและสิ่งอํานวย
ความสะดวกที่เพียบพร้อมและเพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้น นอกจากอาคารเรียนที่ทันสมัยแล้ว
ทางหน่วยวิทยบริการได้ปรับขยายอาคารกิจการนักศึกษาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ด้วยการทํากิจกรรมที่หลากหลายตามความสามารถของนักศึกษา เช่น กิจกรรมทางวิชาการ
และกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นต้น เพื่อฝึกให้นักศึกษามีกิจกรรมที่แสดงออกถึงความ
เป็นผู้นําผู้ตามที่ดี และเพื่อรองรับนักศึกษาในการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งด้านการศึกษาค้นคว้า และ
การปฏิบัติจริง นอกจากนี้ภายในหน่วยวิทยบริการมีสวนพักผ่อน ตามบริเวณหน้าอาคารเรียน เพื่อ
ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การเรียนรู้ของนักศึกษาทุกพื้นที่ของหน่วยวิทยบริการอีกด้วย ๒
ความสําคัญของการบริหารอาคารสถานที่จะมีประสิทธิภาพได้ จะต้องศึกษาความพึงพอใจของ
นักศึกษาในปัจจุบันของปัญหาและความต้องการ การวางแผน การดําเนินการตามแผน และการ
ประเมินผล เช่นเดียวกับการบริหารงานอื่นๆ๓
เพื่อการวางแผนด้านการบริหาร การจัดการอาคารและ
สถานที่ของหน่วยวิทยบริการ ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาในเรื่องความพึงพอใจต่อ
การใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิงพระอาราม
หลวง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์
มจร. วัดไร่ขิงพระอารามหลวง เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ของอาคารและสถานที่ของหน่วยวิทย
บริการ เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ และเพื่อ
                                                            
๑
กรมสามัญศึกษา, แนวทางปฏิรูปโรงเรียนและสถานศึกษาตามนโยบายการปฏิรูป การศึกษา. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ลาดพร้าว.๒๕๔๐.
๒
หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง, อ. สามพราน. จ. นครปฐม ๒๕๕๖
๓
  เปี่ยมศักดิ์ เหล่าอัน, ปัญหาและความต้องการด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา จังหวัดขอนแก่น, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา สํานักงานบัณฑิตศึกษา
สถาบันราชภัฏเลย. ๒๕๔๖.
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๓
 
นําข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไข และวางแผนการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทย
บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดต่อการใช้งานต่อไป 
 
๑.๒. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
๑.๒.๑. เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง
พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๒.๒. เพื่อศึกษาสภาพการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิงพระ
อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๒. ๓. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ
มจร. วัดไร่ขิงพระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๓. สมมติฐานการวิจัย
สถานภาพนักศึกษาที่แตกต่างกันส่งผลต่อระดับความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่
ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม แตกต่างกัน
๑.๔. ขอบเขตของการวิจัย 
๑.๔.๑. ขอบเขตด้านประชากร 
ประชากรในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหาร
กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง (พระ
อารามหลวง) อ.สามพราน จังหวัดนครปฐมโดยแยกเป็นสองกลุ่มการเรียน คือ กลุ่มการเรียนปกติ
และกลุ่มการเรียนภาคสมทบเสาร์-อาทิตย์ ประกอบด้วยบรรพชิตและคฤหัสถ์ประจําปีการศึกษา
๒๕๕๖ ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
โดยใช้จํานวนประชากรทั้งหมดจํานวน ๒๕๒ รูป/คน๔
แยกเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูป เป็นคฤหัสถ์ ๖๐
ราย เป็นเพศชาย ๒๐๒ รูป/คน เป็นเพศหญิง ๕๐ รูป/คน กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๔
                                                            
๔
งานทะเบียนและวัดผล หน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง (พระอารามหลวง) อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม
๑ กันยายน ๒๕๕๖
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๔
 
ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ ราย
ผู้ตอบแบบสอบถามสังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๘ราย สังกัดสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
๑๐๔ ราย และ สังกัดสาขาวิชารัฐศาสตร์หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๓๐ ราย
๑.๔.๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา  
การศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมถึงเรื่องความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของ
นิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ได้แก่ สภาพการ
ใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ และความพึงพอใจต่อการใช้อาคารสถานที่  
๑.๔.๓. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 
ก). ตัวแปรอิสระ คือ ข้อมูลพื้นฐานของนิสิตนักศึกษา ได้แก่ เพศ ชั้นปีและสาขาวิชา
ที่สังกัด 
ข). ตัวแปรตาม คือ ระดับความพึงพอใจต่อการใช้อาคารสถานที่หน่วยวิทยบริการ
มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๕. ระยะเวลาดําเนินการวิจัย 
ผู้วิจัยใช้ระยะเวลาดําเนินการวิจัย ๔ เดือน เริ่มตั้งแต่เดือน มกราคม ถึง เดือน เมษายน
๒๕๕๗
๑.๖. สถานที่ทําการวิจัย 
สถานที่ดําเนินการศึกษา คือ หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน
จ. นครปฐม 
 
๑.๗. นิยามศัพท์เฉพาะ
๑.๗.๑.  ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกส่วนบุคคลในเชิงบวกของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อ
การใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม
หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ความรู้สึกพึงพอใจจะมีมากหรือน้อยนั้น จะขึ้นอยู่กับความต้องการ
ของบุคคลและปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ในการศึกษานี้หมายถึงความพึงพอใจต่อแผนผัง
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๕
 
และแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ รวม ๑๙ รายการสํารวจ และ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคาร
และสถานที่ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน
จังหวัดนครปฐม รวม ๕๙ รายการสํารวจจากทั้งเก้าด้านปัจจัย
๑.๗.๒. อาคาร หมายถึง อาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการเรียนการสอน และเพื่อการเรียนรู้
ในหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
ประกอบด้วย อาคารหอสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาบรมราชกุมารี
๑.๗.๓. สถานที่ หมายถึง สิ่งที่จัดทําขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนตาม
หลักสูตร และมาตรฐานสถานศึกษาระดับอุดมศึกษารวมถึงมุ่งสนองความสะดวกและความต้องการ
ของนิสิตนักศึกษาในหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สาม
พราน จ. นครปฐม
 
๑.๘. กรอบแนวคิดในการวิจัย 
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้งานให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ
ทายาททางธรรมและทายาททางโลกแห่งพุทธองค์และสนับสนุนหลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอน
ในปัจจุบันและหลักสูตรอื่นที่จําเป็นและก้าวไกลกว่าในอนาคตตามพระวิสัยทัศน์แห่งพุทธองค์ที่ทรง
ประจักษ์แสดงไว้เมื่อ ๒, ๕๕๖ ปีที่ผ่านมา มจร.วัดไร่ขิง โมเดล จึงให้ความสําคัญ กับอาคารเรียน
อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆบริเวณสถานศึกษา
ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อฯ ศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร ห้อง
ประชุมและห้องสัมมนา ห้องกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ การจัดสภาพแวดล้อม
และระบบสาธารณูปโภค และการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยฯอันเป็นองค์ประกอบทาง
กายภาพสําคัญเหมาะสําหรับสร้างธรรมทายาทตามจิตศรัทธาในองค์พระศาสดา ดังนั้นกรอบแนวคิด
จึงสรุปได้ดังนี้
 
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๖
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ภาพที่ ๑. ๑ กรอบแนวคิด
 
๑.๙. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
๑.๙.๑. ได้ข้อมูลพื้นฐานของการใช้ประโยชน์ของอาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ
คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๙.๒. ทราบความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ
สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๑.๙.๓. นําข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไข และวางแผนการใช้อาคารและสถานที่
ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้งาน
ก. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง
 สถานภาพ
 เพศ
 ชั้นปี
 สาขาวิชาที่สังกัด
ข. องค์ประกอบทางกายภาพของหน่วยฯ
 อาคารเรียน อาคารประกอบ
 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ
 บริเวณสถานศึกษา
 ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อฯ และศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ
 โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร
 ห้องประชุมและห้องสัมมนา
 ห้องกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ
 การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภค
 การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยฯ
ความพึงพอใจต่อการใช้อาคาร
และสถานที่ของหน่วยวิทย
บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร.
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.
สามพราน จ. นครปฐม 

More Related Content

What's hot

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556Patcharee Pawleung
 
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraBook 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraSucheraSupapimonwan
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...Napadon Yingyongsakul
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทยNadeewittaya School
 
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผลงานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผลบ่าวดอนงัว คนโก้
 
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...napadon2
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากรkrunoony
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔นายจักราวุธ คำทวี
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 

What's hot (19)

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
 
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraBook 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
 
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผลงานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
 
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากร
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
๑๙ ก.ย. ๒๕๕๗ การขอมีวิทยฐานะ ชนพ. และ ชช. ตามหลักเกณฑ์ฯ เชิงประจักษ์ ว.๕ ปี ๒๕๕๔
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 

Viewers also liked

การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์Yota Bhikkhu
 
Course syllabus basic english
Course syllabus basic englishCourse syllabus basic english
Course syllabus basic englishYota Bhikkhu
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeYota Bhikkhu
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัยYota Bhikkhu
 
Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Yota Bhikkhu
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9Yota Bhikkhu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6Yota Bhikkhu
 
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1Yota Bhikkhu
 
Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Yota Bhikkhu
 
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2Yota Bhikkhu
 
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารYota Bhikkhu
 
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00Yota Bhikkhu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
3.บทที่.3 วิธีวิจัย
3.บทที่.3   วิธีวิจัย3.บทที่.3   วิธีวิจัย
3.บทที่.3 วิธีวิจัยYota Bhikkhu
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9Yota Bhikkhu
 
Language and communication
Language and communicationLanguage and communication
Language and communicationYota Bhikkhu
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Yota Bhikkhu
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์Yota Bhikkhu
 

Viewers also liked (19)

การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
 
Course syllabus basic english
Course syllabus basic englishCourse syllabus basic english
Course syllabus basic english
 
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlifeวินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
วินัยสำหรับชีวิตDisciplineforlife
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
6.บทที่.6 เอกสารอ้างอิง-ภาคผนวก-ประวัติผู้วิจัย
 
Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน 6
 
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1พระวินัยปิฎกศึกษา 1
พระวินัยปิฎกศึกษา 1
 
Advance english 4[1]
Advance english 4[1]Advance english 4[1]
Advance english 4[1]
 
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยงานสารบรรณ 8.2
 
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสารตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
ตัวอย่างข้อสอบภาษากับการสื่อสาร
 
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00พระวินัย  ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
พระวินัย ความเข้าใจวินัยสงฆ์00
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
3.บทที่.3 วิธีวิจัย
3.บทที่.3   วิธีวิจัย3.บทที่.3   วิธีวิจัย
3.บทที่.3 วิธีวิจัย
 
English for political+science 9
English for political+science 9English for political+science 9
English for political+science 9
 
Language and communication
Language and communicationLanguage and communication
Language and communication
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
 

Similar to 1.บทที่.1 บทนำ

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการAdchara Chaisri
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาWeerachat Martluplao
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554pentanino
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 

Similar to 1.บทที่.1 บทนำ (20)

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 
แม่ปู[1]
แม่ปู[1]แม่ปู[1]
แม่ปู[1]
 
แม่ปู[1]
แม่ปู[1]แม่ปู[1]
แม่ปู[1]
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

1.บทที่.1 บทนำ

  • 1. บทที่ ๑ บทนํา    ๑.๑. ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และการพัฒนาประเทศจะสําเร็จด้วยดีขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ที่สําคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ การศึกษา การศึกษามีหน้าที่พัฒนาคนเพื่อนําความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศ ประชากรที่มีคุณภาพสูง คือ ผู้ที่มีการศึกษาสูง มีความรู้ ทักษะและความสามารถที่จะนําความรู้ที่ ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่การงานตามอาชีพของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น สถาบันการศึกษา และการศึกษาจึงเป็นพื้นฐานของความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมืองของประเทศ อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการจัดได้ว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสถานศึกษาที่ สําคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้การเรียนการสอนดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นหากผู้บริหาร สถาบันการศึกษารวมทั้งผู้เรียนมุ่งหวังให้การเรียนการสอนบรรลุผลอย่างสมบูรณ์และ มี ประสิทธิภาพนั้น จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดอาคารสถานที่ของสถานศึกษาให้อยู่ในสภาพที่ดี มี ปริมาณเพียงพอต่อจํานวนผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องประชุม หรือแม้กระทั่งห้องอาหารก็ตาม ควรมีสิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ อย่างพอเพียง เช่น บันไดขึ้นลง โต๊ะเก้าอี้ ห้องส้วม แม้กระทั่งระบบป้ องกันเพลิงไหม้ และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ รวม ไปถึงสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น ทางเดินระหว่างตึก ที่นั่งรอระหว่างเรียน เป็นต้น เพื่อเอื้อ ประโยชน์ต่อกิจกรรมการเรียนการสอนให้มากที่สุด อาคารและสถานที่ของสถาบัน การศึกษามี ความสําคัญและมีอิทธิพลต่อผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก การวางแผนด้านการจัดการอาคารและสถานที่จึง ที่เป็นปัจจัยที่สําคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยให้สถานศึกษาดําเนินงานได้โดยสะดวก ดังนั้นผู้บริหารจึง จําเป็นต้องให้ความสําคัญต่องานด้านนี้ไม่น้อยไปกว่าด้านอื่นๆ ภายในสถานศึกษา เพราะเป็นแหล่งที่ ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครูผู้สอนให้เป็นแหล่งถ่ายทอดวิทยาการของ
  • 2. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๒   ชุมชน งานบริหารอาคารสถานที่จึงเป็นงานที่สําคัญที่ผู้บริหารต้องพิจารณาพินิจวิเคราะห์และบริหาร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด๑ คณะกรรมการผู้บริหารหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง ได้เล็งเห็น ความสําคัญของการจัดการอาคารและสถานที่เป็นอันมาก ดังจะเห็นได้จากการวางแผนการปรับปรุง อาคารที่มีชื่อว่า อาคารหอสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ เป็นอาคารเรียน ๔ ชั้น ประกอบไปด้วย ห้องเรียนที่ทันสมัย มีห้องปฏิบัติการเฉพาะสาขาวิชาที่พร้อมด้วยอุปกรณ์ในการสอนและสิ่งอํานวย ความสะดวกที่เพียบพร้อมและเพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้น นอกจากอาคารเรียนที่ทันสมัยแล้ว ทางหน่วยวิทยบริการได้ปรับขยายอาคารกิจการนักศึกษาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ด้วยการทํากิจกรรมที่หลากหลายตามความสามารถของนักศึกษา เช่น กิจกรรมทางวิชาการ และกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นต้น เพื่อฝึกให้นักศึกษามีกิจกรรมที่แสดงออกถึงความ เป็นผู้นําผู้ตามที่ดี และเพื่อรองรับนักศึกษาในการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งด้านการศึกษาค้นคว้า และ การปฏิบัติจริง นอกจากนี้ภายในหน่วยวิทยบริการมีสวนพักผ่อน ตามบริเวณหน้าอาคารเรียน เพื่อ ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การเรียนรู้ของนักศึกษาทุกพื้นที่ของหน่วยวิทยบริการอีกด้วย ๒ ความสําคัญของการบริหารอาคารสถานที่จะมีประสิทธิภาพได้ จะต้องศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาในปัจจุบันของปัญหาและความต้องการ การวางแผน การดําเนินการตามแผน และการ ประเมินผล เช่นเดียวกับการบริหารงานอื่นๆ๓ เพื่อการวางแผนด้านการบริหาร การจัดการอาคารและ สถานที่ของหน่วยวิทยบริการ ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาในเรื่องความพึงพอใจต่อ การใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิงพระอาราม หลวง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิงพระอารามหลวง เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ของอาคารและสถานที่ของหน่วยวิทย บริการ เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ และเพื่อ                                                              ๑ กรมสามัญศึกษา, แนวทางปฏิรูปโรงเรียนและสถานศึกษาตามนโยบายการปฏิรูป การศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ลาดพร้าว.๒๕๔๐. ๒ หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง, อ. สามพราน. จ. นครปฐม ๒๕๕๖ ๓   เปี่ยมศักดิ์ เหล่าอัน, ปัญหาและความต้องการด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ ศึกษา จังหวัดขอนแก่น, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา สํานักงานบัณฑิตศึกษา สถาบันราชภัฏเลย. ๒๕๔๖.
  • 3. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๓   นําข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไข และวางแผนการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทย บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดต่อการใช้งานต่อไป    ๑.๒. วัตถุประสงค์ของการวิจัย  ๑.๒.๑. เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๒.๒. เพื่อศึกษาสภาพการใช้อาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิงพระ อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๒. ๓. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิงพระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๓. สมมติฐานการวิจัย สถานภาพนักศึกษาที่แตกต่างกันส่งผลต่อระดับความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ ของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม แตกต่างกัน ๑.๔. ขอบเขตของการวิจัย  ๑.๔.๑. ขอบเขตด้านประชากร  ประชากรในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง (พระ อารามหลวง) อ.สามพราน จังหวัดนครปฐมโดยแยกเป็นสองกลุ่มการเรียน คือ กลุ่มการเรียนปกติ และกลุ่มการเรียนภาคสมทบเสาร์-อาทิตย์ ประกอบด้วยบรรพชิตและคฤหัสถ์ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๖ ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ โดยใช้จํานวนประชากรทั้งหมดจํานวน ๒๕๒ รูป/คน๔ แยกเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูป เป็นคฤหัสถ์ ๖๐ ราย เป็นเพศชาย ๒๐๒ รูป/คน เป็นเพศหญิง ๕๐ รูป/คน กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๔                                                              ๔ งานทะเบียนและวัดผล หน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง (พระอารามหลวง) อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม ๑ กันยายน ๒๕๕๖
  • 4. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๔   ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ ราย กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ ราย ผู้ตอบแบบสอบถามสังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๘ราย สังกัดสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๑๐๔ ราย และ สังกัดสาขาวิชารัฐศาสตร์หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๓๐ ราย ๑.๔.๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา   การศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมถึงเรื่องความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของ นิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ได้แก่ สภาพการ ใช้อาคารและสถานที่ การใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ และความพึงพอใจต่อการใช้อาคารสถานที่   ๑.๔.๓. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย  ก). ตัวแปรอิสระ คือ ข้อมูลพื้นฐานของนิสิตนักศึกษา ได้แก่ เพศ ชั้นปีและสาขาวิชา ที่สังกัด  ข). ตัวแปรตาม คือ ระดับความพึงพอใจต่อการใช้อาคารสถานที่หน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๕. ระยะเวลาดําเนินการวิจัย  ผู้วิจัยใช้ระยะเวลาดําเนินการวิจัย ๔ เดือน เริ่มตั้งแต่เดือน มกราคม ถึง เดือน เมษายน ๒๕๕๗ ๑.๖. สถานที่ทําการวิจัย  สถานที่ดําเนินการศึกษา คือ หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม    ๑.๗. นิยามศัพท์เฉพาะ ๑.๗.๑.  ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกส่วนบุคคลในเชิงบวกของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อ การใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ความรู้สึกพึงพอใจจะมีมากหรือน้อยนั้น จะขึ้นอยู่กับความต้องการ ของบุคคลและปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ในการศึกษานี้หมายถึงความพึงพอใจต่อแผนผัง
  • 5. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๕   และแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ รวม ๑๙ รายการสํารวจ และ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคาร และสถานที่ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม รวม ๕๙ รายการสํารวจจากทั้งเก้าด้านปัจจัย ๑.๗.๒. อาคาร หมายถึง อาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการเรียนการสอน และเพื่อการเรียนรู้ ในหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ประกอบด้วย อาคารหอสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาบรมราชกุมารี ๑.๗.๓. สถานที่ หมายถึง สิ่งที่จัดทําขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนตาม หลักสูตร และมาตรฐานสถานศึกษาระดับอุดมศึกษารวมถึงมุ่งสนองความสะดวกและความต้องการ ของนิสิตนักศึกษาในหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สาม พราน จ. นครปฐม   ๑.๘. กรอบแนวคิดในการวิจัย  เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้งานให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ ทายาททางธรรมและทายาททางโลกแห่งพุทธองค์และสนับสนุนหลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอน ในปัจจุบันและหลักสูตรอื่นที่จําเป็นและก้าวไกลกว่าในอนาคตตามพระวิสัยทัศน์แห่งพุทธองค์ที่ทรง ประจักษ์แสดงไว้เมื่อ ๒, ๕๕๖ ปีที่ผ่านมา มจร.วัดไร่ขิง โมเดล จึงให้ความสําคัญ กับอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆบริเวณสถานศึกษา ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อฯ ศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร ห้อง ประชุมและห้องสัมมนา ห้องกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ การจัดสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภค และการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยฯอันเป็นองค์ประกอบทาง กายภาพสําคัญเหมาะสําหรับสร้างธรรมทายาทตามจิตศรัทธาในองค์พระศาสดา ดังนั้นกรอบแนวคิด จึงสรุปได้ดังนี้  
  • 6. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๑ บทนํา / ๖                                 ภาพที่ ๑. ๑ กรอบแนวคิด   ๑.๙. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๑.๙.๑. ได้ข้อมูลพื้นฐานของการใช้ประโยชน์ของอาคารและสถานที่ของหน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๙.๒. ทราบความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๑.๙.๓. นําข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไข และวางแผนการใช้อาคารและสถานที่ ของหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง อ.สามพราน จ. นครปฐม เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้งาน ก. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง  สถานภาพ  เพศ  ชั้นปี  สาขาวิชาที่สังกัด ข. องค์ประกอบทางกายภาพของหน่วยฯ  อาคารเรียน อาคารประกอบ  ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ  บริเวณสถานศึกษา  ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อฯ และศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ  โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร  ห้องประชุมและห้องสัมมนา  ห้องกิจกรรม สถานออกกําลังกาย และนันทนาการ  การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภค  การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยฯ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคาร และสถานที่ของหน่วยวิทย บริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ. สามพราน จ. นครปฐม