SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
Download to read offline
รายงานการประเมินตนเอง
ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
(Self-Assessment Report : SAR )
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล
อาชีวศึกษาจังหวัดมุกดาหาร
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม หมวด ๖ มาตรฐานและการประกัน
คุณภาพการศึกษา มาตราที่ ๔๗ กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตราที่ ๔๘ กาหนดให้
หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยให้ถือว่าการประกัน
คุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทา
รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เป็นการรองรับการประกันคุณภาพภายนอกต่อไป
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ประกาศใช้ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ประกอบด้วย ๘
มาตรฐาน ๔๕ ตัวบ่งชี้ ให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือการประกัน
คุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทา
รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล ตระหนักถึงภารกิจที่สาคัญ จึงได้ทาการประเมินคุณภาพ
ภายในและนาผลการประเมิน ให้หน่วยงานต้นสังกัด สมศ.และสังคมรับทราบ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในด้าน
ประกันคุณภาพของสถานศึกษา โดยมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับเป้าหมายและ
วิสัยทัศน์ของวิทยาลัย การดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน ดาเนินการโดยยึดหลักความเที่ยงตรง แม่นยา
เป็นธรรมและโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพจริง สามารถตรวจสอบได้ทุกตัวบ่งชี้ มีการส่งเสริมให้บุคลากร
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพภายในทุกๆครั้ง จึงส่งผลให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจในการพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาลัยต่อไป
รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) เป็นการสรุปการปฏิบัติงานทุกๆมิติของ
วิทยาลัยฯ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ โดยใช้เครื่องมือในการประเมินอย่างหลากหลาย และผลสรุปที่ได้แสดงให้เห็น
ถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานในภาพรวมของวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล
มิถุนายน ๒๕๕๖
ก
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ
บทสรุปของผู้บริหาร ๑
ตอนที่ ๑ สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
๑.๑ ประวัติความเป็นมา ๓
๑.๒ สภาพทั่วไปของจังหวัดมุกดาหาร ๖
๑.๓ งบประมาณ ประจาปี ๒๕๕๕ ๘
๑.๔ ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ๙
๑.๕ อัตรากาลัง ข้อมูลบุคลากร ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๑๐
๑.๖ เกียรติประวัติของสถานศึกษา ปี ๒๕๕๕ ๑๒
๑.๗ ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงาน ๑๓
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑.๘ ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ๑๓
ตอนที่ ๒ การดาเนินงานของสถานศึกษา
๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ๑๔
๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๑๕
๒.๓ มาตรฐานการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง ๑๕
๒.๔ การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ๑๖
ตอนที่ ๓ การดาเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ๑๗
มาตรฐานที่ ๒ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ๓๑
มาตรฐานที่ ๓ ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ๓๘
มาตรฐานที่ ๔ ด้านบริการวิชาการและวิชาชีพ ๕๔
มาตรฐานที่ ๕ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ๕๖
มาตรฐานที่ ๖ ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทย ๕๙
และพลโลก
มาตรฐานที่ ๗ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ๖๕
ตอนที่ ๔ สรุปและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา ๖๘
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิน การประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล มีหน้าที่โดยตรงในการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อพัฒนา
กาลังคนระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือ และระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาวิชาชีพ (ระดับเทคนิค) ให้สอดคล้องกับ
ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน
หรือเป็นผู้ประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระได้ โดยเน้นการแก้ปัญหา สร้างองค์ความรู้ในอาชีพ มี
บุคลิกภาพ คุณธรรมและเจตคติที่ดี
วิทยาลัยฯ เปิดสอน ๒ ระดับ คือ
๑. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๔๖) ที่เปิดสอนใน ๓ ประเภทวิชา ได้แก่ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยก
รรม และประเภทวิชาเกษตรกรรม ทั้งในระดับ ปวช.และปวส.
๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช
๒๕๔๖ ที่เปิดสอนใน ๓ ประเภทวิชา ได้แก่ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
และประเภทวิชาเกษตรกรรม
๑.สภาพการดาเนินงานและผลงานการประเมินคุณภาพภายใน (ตามเป้าหมายแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา)
๑.๑ การดาเนินงานวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล
๑.การวางแผนงานของวิทยาลัยฯ ใช้การจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ระหว่างผู้บริหาร ครู
เจ้าหน้าที่ ชุมชน และองค์กรภายนอก ซึ่งมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ในรูปแบบของ
คณะกรรมการวิทยาลัยฯ มีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานภายใต้แต่ละมาตรฐาน ซึ่งทาให้เกิดสัมฤทธิผล
ด้านใด ระดับใด มีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินผลในการตัดสินระดับความสาเร็จ มีการวางแผน
ออกแบบกิจกรรมโครงสร้างเพื่อนาสู่การปฏิบัติโดยผู้เกี่ยวข้องเป็นผู้เสนอแผนปฏิบัติการ และระบบกากับ
ติดตาม
๒.การนาแผนสู่การปฏิบัติไดกาหนดปฏิทินปฏิบัติงาน และดาเนินงานตามแผน มีกลไกในการ
กากับ ติดตามตรวจสอบ ในรูปแบบคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายเป็นระยะๆ ตามตารางที่กาหนด และมี
การรายงานผลความก้าวหน้าทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและโดยการจัดประชุม
๓.การตรวจสอบติดตาม มีการวางแผนระบบประเมินแบบทางการ ในรูปของคณะกรรมการ
กากับ นิเทศ ประเมินการดาเนินงาน และรายงานต่อที่ประชุม
๔.การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน มีการนาผลการประเมินมาจัดทาเป็นรายงานการ
ประเมินตนเอง เผยแพร่ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ และจัดประชุมเพื่อการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ
วางแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ หากผลการประเมินปรากฏว่ามาตรฐานการศึกษาด้านใด มีการดาเนินงานไม่เป็นไป
ตามเป้าหมายที่กาหนดวิทยาลัยฯ จะให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดทาแผนพัฒนาปรับปรุง โดยมีการกาหนดยุทธวิธี
แผนปฏิบัติการ ระยะเวลาการดาเนินการ ทรัพยากรที่ใช้ในการดาเนินงานและวิธีการติดตามประเมินผล
แผนพัฒนาปรับปรุงดังกล่าว จะนาเสนอต่อคณะกรรมการวิทยาลัยฯ พิจารณาและขอรับการสนับสนุน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากจาเป็นต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และต้องการให้ชุมชนช่วยเหลือ
ตอนที่ ๑
สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
๑. ประวัติความเป็นมา
๑.๑ ประวัติ การจัดตั้ง ที่ตั้ง เนื้อที่ และอาคารต่าง ๆ
เดิมเป็นสถานที่เรียนและฝึกปฏิบัติ (ศูนย์ฝึกเทคโนโลยี การเกษตรดอนตาล) ของนักศึกษาประเภทวิชา
เกษตรกรรม หลักสูตร ปวช.และ ปวส. และจัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร แก่เกษตรกรในชุมชนและผู้ที่
สนใจ ของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยขอใช้ที่ดิน
สาธารณะประโยชน์ หนองกลางโคก ตามเอกสารสิทธ์ หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เลขที่ ๕๒๔๖ ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ ๑๑๗
หมู่ที่ ๑๑ บ้านตาลใหม่ ต.ดอนตาล อ.ดอนตาล (เดิมสังกัดนครพนม) มีพื้นที่ประมาณ ๑,๓๑๖ ไร่ ปัจจุบันขอใช้พื้นที่
ประมาณ ๕๘๕ ไร่ ๒ งาน ๔๐ ตารางวา ปีงบประมาณ ๒๕๓๔ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(กรมอาชีวศึกษาเดิม)
ได้จัดงบประมาณงบลงทุนที่ดินสิ่งก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภคบางส่วนตลอดจนหน่วยงานราชการ ได้ให้การสนับสนุนการ
พัฒนาพื้นที่เช่นการพัฒนาแหล่งน้า การจัดฝึกอบรมด้าน ปศุสัตว์ ประมง เป็นต้น ประกอบด้วยอาคารเรียน ๑ หลัง อาคาร
โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ๕ หลังอาคารประกอบอื่นฯ ๕ หลัง บ้านพักนักศึกษาเกษตร ๑๐หลัง ห้องน้าโรงอาหาร ซึ่งอาคารส่วน
ใหญ่มีสภาพชารุดควรได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม
ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ กระทรวงศึกษาธิการ โดย สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มีนโยบายจัดตั้ง
สถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อรองรับการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา และตามความต้องการ ของประชาชน จานวน ๑๑
สถานศึกษา ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑ โดยนายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ได้งบประมาณสิ่งก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการพร้อมครุภัณฑ์พื้นที่ ๑,๕๐๐ตรม.
จานวน ๑ หลัง อาคารศูนย์วิทยบริการ พื้นที่ ๑,๐๘๘ ตรม. จานวน ๑ หลัง และโรงเรือนระบบปิด/คอกสัตว์/โรงนม พื้นที่
๒,๐๔๐ ตรม. จานวน ๑ หลัง
ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ได้รับงบประมาณสิ่งก่อสร้างบ้านพักผู้อานวยการ จานวน ๑ หลัง และระบบประปาหอถังสูง
จานวน ๑ ชุด
ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ได้รับงบประมาณปรับปรุงอาคาร จานวน ๒ ล้านบาท
ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้รับงบประมาณก่อสร้างตึกอานวยการ จานวน ๑ หลัง ราคา ๙ ล้านบาท
ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาลได้มีการจัดการเรียนการสอนทั้งในระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)แก่ผู้ที่มีความประสงค์ที่จะศึกษาด้านอาชีพทั้ง
นักศึกษาภาคปกติ ทวิภาคี และเทียบโอนประสบการณ์ ดังนี้
ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เปิดรับนักเรียนนักศึกษารุ่นแรกตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช
๒๕๔๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม และวิทยาลัยให้การจัดฝึกอบรมวิชาชีพเกษตร
ระยะสั้นแก่เกษตรกรทั่วไป การจัดฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นแก่ประชาชนทั่วไป
ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เปิดรับนักเรียน ระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖) อีก ๓ แผนกวิชา คือ แผนกวิชาช่างยนต์ พณิชการและเกษตรศาสตร์ หลักสูตรประกาศนีย บัตรวิชาชีพ
วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช๒๕๔๕ สาขาเกษตรศาสตร์
ขนาดและที่ตั้งปัจจุบัน
๙
๑.๒ สภาพทั่วไปของจังหวัดมุกดาหาร
จังหวัดมุกดาหาร ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งกั้นพรมแดน ตั้งอยู่เส้นรุ้งที่ ๑๖-๑๗ องศาเหนือและเส้นแวงที่ ๑๐๔-
๑๐๕ องศาตะวันออก มีพื้นที่ทั้งหมด ๔,๓๓๙.๘๓ ตร.กม. หรือ ๒,๗๑๒,๓๙๔ ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๖๔๒
กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อาเภอชานุมานจังหวัดอานาจเจริญและอาเภอหนองพอก จังหวัด
ร้อยเอ็ด
ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอนาแก อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม และอาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งกั้นพรมแดน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอเขาวง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ และอาเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด
ลักษณะภูมิประเทศ
ทิศเหนือและทิศใต้ของ จังหวัดมุกดาหาร เป็นที่ราบสูง ทางทิศตะวันตกมีเทือกเขาภูพาน มีลักษณะเป็นป่า
ไม้ บางแห่งเป็นป่าทึบ ส่วนทิศตะวันออกเป็นที่ราบสลับป่าไม้ และมีแม่น้าโขงเป็นเส้นกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับ สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีความยาวประมาณ ประมาณ ๗๒ กม. มีพื้นที่ราบร้อยละ ๒๐ ของพื้นที่ทั้ง
จังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณ ๘๓๑,๙๘๘ ไร่(๑,๔๕๖.๖๙ ตร.กม.) คิดเป็นร้อย
ละ ๓๐.๖๗ ของจังหวัด
ด้านเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี ๒๕๕๖ ขยายตัวร้อยละ ๑๔.๑๘ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ ๑๓.๒๒ – ๑๕.๑๗)
ขยายตัวจากปีก่อนหน้าที่ชะลอตัวร้อยละ ๑๒.๐๗ ซึ่งสูงกว่าประมาณการ ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๖ ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ
๘.๑๒ สะท้อนจากภาพรวมทางเศรษฐกิจที่ถือว่าขยายตัวได้ดี โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากด้านอุปทาน ภายในจังหวัดที่
ขยายตัวจากภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ เนื่องจากในปีนี้มีปริมาณผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดมาก
ขึ้น รวมทั้งราคาสินค้าเกษตรที่สาคัญปรับตัวสูงขึ้น ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งปัจจัยด้านอุปสงค์จากการบริโภค
ภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่การใช้จ่ายภาครัฐ การบริการและการท่องเที่ยว และการค้าชายแดนมีแนวโน้ม
หดตัว สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปี ๒๕๕๖ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ ๒.๔๐ (โดยมีช่วง
คาดการณ์ที่ร้อยละ ๒.๐๐ – ๓.๐๐) ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ที่ชะลอตัว ตามราคาน้ามันและสินค้าอุปโภคบริโภคที่มี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ด้านการจ้างงานอยู่ที่จานวน ๒๒๔,๙๔๕ คน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า จานวน ๑๔,๔๘๙ คน ตามการขยายตัว
ของเศรษฐกิจจังหวัด
๑๐
สภาพการศึกษาของจังหวัดมุกดาหาร
การศึกษาในจังหวัดมุกดาหาร ได้มีการขยายตัวอย่างมาก มีการศึกษาต่อสูงขึ้นโดยเฉพาะในด้านอาชีวศึกษา สาขา
ช่างอุตสาหกรรมและบริการ ซึ่งที่ผ่านมาประสบปัญหาในเรื่องสถานศึกษาไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการ และมีระยะทางไกลจากชุมชน ทาให้การเดินทางไม่สะดวก และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ทาให้การจัดการเรียนการ
สอนด้านอาชีวศึกษายังไม่สนองความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต ประกอบกับประเทศไทยมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจและสังคม ไปสู่การเป็นผู้ผลิตสาขาอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก การบริการและการเกษตร
สมัยใหม่มากยิ่งขึ้น จึงมีความจาเป็นต้องมีการพัฒนากาลังคน ให้มีความรู้ความสามารถในระดับที่สูงกว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จังหวัดมุกดาหาร มีการจาแนกสถานศึกษาตามสังกัดออกเป็น ๓ หน่วยงานคือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มุกดาหาร ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน และสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา มีนักเรียน/นักศึกษา ตั้งแต่ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน จนถึงระดับ ปวส. หรือเทียบเท่า จานวน ๗๔,๓๗๙ คน และมีครูผู้สอนจานวน๓,๓๙๕ คน อัตราเฉลี่ยนักเรียนต่อ
ครูเท่ากับ ๑๙:๑ แยกเป็นสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร (รวมการศึกษาเอกชน) จานวน ๒๘๑ แห่ง ศูนย์
การศึกษานอกโรงเรียน จานวน ๗ ศูนย์ และสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจานวน๒ แห่ง
ด้านสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่
อาเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นอาเภอที่ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร เป็นระยะทาง ๕ กิโลเมตร ประกอบ
ไปด้วย ๘ ตาบล ห่างจากตัวอาเภอ ๕ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร ๓๕ กิโลเมตร ติดกับ อาเภอเมือง
อาเภอนิคมคาสร้อย อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจริญและอาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร พื้นที่บริการ จานวน ๓ อาเภอ
มีพื้นที่ ที่ใช้ในการจัดตั้งวิทยาลัยฯ ๕๘๕ ไร่ ๒ งาน ๔๐ ตารางวา
๑๑
๑๑
๑.๒ งบประมาณประจาปี ๒๕๕๖
๘
จานวนทั้งสิ้น ๑๘,๕๙๖,๕๑๐ บาท รายละเอียดแสดงในตาราง ๑.๑
ตารางที่ ๑.๑ งบดาเนินงาน งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖
รายละเอียดงบประมาณ ปี ๒๕๕๖ มีดังนี้
รายรับของสถานศึกษา
ปีงบประมาณ (ยอดเงินปี
2556)
๑.งบบุคลากร(ค่าตอบแทน พนักงานราชการ) ๗๒๐,๗๒๐
๒.งบดาเนินงาน
๒.๑ ปวช. ๑,๒๔๗,๘๐๐
๒.๒ ปวส. ๓๐๙,๕๐๐
๒.๓ ระยะสั้น ๕๔๙,๘๐๐
๓.งบลงทุน
๓.๑ อาคารอานวยการ ๙,๐๐๐,๐๐๐
๓.๒ ปรับปรุงอาคารเรียนและอาคารปฏิบัติการเกษตร ๑,๔๐๐,๐๐๐
๓.๓ ครุภัณฑ์ห้องปฎิบัติการทางภาษา ๙๐๐,๐๐๐
๔.งบรายจ่ายอื่นๆ
๔.๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ (Fix it center) ๕๗๔,๐๐๐
๔.๒โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา ๖๕๐,๐๐๐
๔.๓ โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียน อาชีวศึกษา ๒๑๐,๐๐๐
๔.๔ โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาแบบครบวงจร ๑๖๐,๐๐๐
๕. งบเงินอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๕.๑ ค่าจัดการเรียนการสอน ๑๗๙๕๒๐๐
๕.๒ ค่าหนังสือเรียน ๕๐๒,๒๐๐
๕.๓ค่าอุปกรณ์การเรียน ๑๑๕,๔๖๐
๕.๔ ค่าเครื่องแบบนักเรียน ๒๐๙,๗๐๐
๕.๕ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒๓๘,๔๕๐
๖.งบเงินอุดหนุนทั่วไป
๖.๑ กิจกรรมองค์การวิชาชีพอุตสาหกรรม ๒๐,๐๐๐
๖.๒ เงินอุดหนุนการหารายได้ระหว่างเรียนของ นักศึกษาทียากจน ๗๘,๐๐๐
๖.๓ เงินอุดหนุนนักเรียนอาชีวศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนในชนบท(อศ.กช. ๔๕๐,๐๐๐
๖.๔ เงินอุดหนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะสั้น ๔๕,๐๐๐
๖.๕ เงินอุดหนุนส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย ๖๖,๔๐๐
๖.๖ ทุนการศึกษาเฉลิมราช ๓๐,๐๐๐
๖.๗ โครงการคุณธรรมนาความรู้ ๔๕,๐๐๐
รวม ๑๘,๕๙๖,๕๑๐
อัตรากาลัง ข้อมูลบุคลากร ปีงบประมาณ ๒๕๕๖
๑. อัตรากาลัง ผู้บริหาร ๒ คน
ข้าราชการครู ๕ คน
พนักงานราชการครู ๔ คน
ครูพิเศษสอน ๗ คน
เจ้าหน้าที่ ๕ คน
ลูกจ้างชั่วคราว ๖ คน
รวม ๒๙ คน
๒. ข้อมูลบุคลากร
ตาแหน่ง
จานวน ระดับตาแหน่ง ระดับการศึกษา
ชาย หญิง รวม คศ.3 คศ.2 คศ.1 ครู
ผู้ช่วย
เอก โท ตรี ต่ากว่า
ป.ตรี
๑.ผู้บริหาร ๒ - ๒ ๑ ๑ - - - ๒ - -
รวมผู้บริหาร ๒ - ๒ ๑ ๑ - - - ๒ - -
๒. ข้าราชการครูผู้สอน
๒.๑ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ - ๔ ๔ - - ๓ ๑ - ๑ ๔ -
๒.๒ แผนกวิชาช่างยนต์ ๑ - ๑ - - ๑ - - - - -
รวมข้าราชการครูผู้สอน ๑ ๔ ๕ - - ๔ ๑ - ๑ ๔ -
๓ พนักงานราชการ
๓.๑ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ - ๑ ๑ - - - - - - ๑ -
๓.๒แผนกวิชาการบัญชี ๑ ๑ - - - - - - ๑ -
๓.๓ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ๑ - ๑ - - - - - - ๑ -
๓.๔ แผนกวิชาช่างยนต์ ๑ - ๑ - - - - - ๑ - -
รวมพนักงานราชการ ๒ ๒ ๔ - - - - - ๑ ๓ -
๔.ครูพิเศษสอน
๔.๑ แผนกวิชาเกษตร ๒ - ๒ - - - - - - ๒ -
๔.๒แผนกวิชาช่างยนต์ ๓ - ๓ - - - - - - ๓ -
๔.๓ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ๒ - ๑ - - - - - - ๒ -
๔.๔ แผนกวิชาบัญชี - ๒ ๑ - - - - - - ๒ -
๔.๕ สามัญสัมพันธ์ - ๑ - - - - - - - ๑ -
รวมครูอัตราจ้าง ๗ ๓ ๗ - - - - - - ๑๐ -
๕.ลูกจ้างชั่วคราว
๕.๑ เจ้าหน้าที่ ๑ ๓ ๔ - - - - - - ๑ ๓
๕.๒ พนักงานทั่วไป/แม่บ้าน/คนงาน ๖ ๑ ๗ - - - - - - - ๗
รวมลูกจ้างชั่วคราว ๗ ๔ ๑๑ - - - - - - ๑ ๑๐
รวมทั้งสิ้น ๑๘ ๑๓ ๒๙ ๒ - ๔ ๑ - ๔ ๑๘ ๑๐
๑๔
๑.๖ รางวัล/ความภาคภูมิใจ ปี ๒๕๕๖
๑.ระดับสถานศึกษา
- นายจาปา ศักดิ์ สายวรณ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาเปตองชายคู่ การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายประกาศิต มณีภาค รางวัลชนะเลิศกีฬาเปตองชายคู่ การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวดวงใจ วิสาระพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวศิริลักษณ์ สุริยันต์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวไอลัดดา รุ่งเรือง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาววนิดา ต่อซอน รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวจุฬารัตน์ แข็งแรง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวสุดารัตน์ สีลับสี รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวไข่มุก มูลนา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาววิจิตรา ผุเพชร รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวรัชนีกรณ์ ทองเภา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายสุขี วังญาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายสุริยันต์ บูคะธรรม รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายสิทธิ์ณรงค์ แสนศรี รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายณเคนทร์ คานันดา รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวจันจิรา อดกลั้น รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวสุดารัตน์ กรอบเพ็ชรรางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายในประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวขนิษฐา คนไว รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวทิพวรรณ ทองพั้ว รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวนริสา ทองจันดี รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวพิไลพร วงสาระโพรางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นางสาวอภิญญา ถนอมชาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗คนการแข่งขันกีฬาภายในประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
๑๗
-นางสาวรจนา นามดี รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายชาญวิทย์ ไชยชาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายกิตติทัศน์ กุก่อง รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายกิติศักดิ์ ใจตรง รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายวีระพันธ์ แดงบุตร รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายวิโรจน์ อุทพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายนิรุต อุทพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายสุขี วังญาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายอุทัย วสาระพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายณเคนทร์ คานันทา รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายธนัชชัย ยัญญะจันทร์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายทนัย ผิวเหลือง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายไชยรัตน์ ซาเสน รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายสุพี ใจทัศน์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายธนัตถ์ ราชวงศ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายอภิสิทธิ์ โพธิ์ไทร รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายยุทธนา บุญศรี รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายปวรุตม์ เมืองจันทร์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายจักริน ปะมา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายทวีชัย ห้วยทราย รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายณัฐพงษ์ ประสบคา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
-นายพัฒนพงษ์ พรหมเสนา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
๑๘
๒.ระดับจังหวัด
-นายวิโรจน์ อุทธพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะเทคนิคยานยนต์ ระดับ ปวส.
-นายนิรุท อุทธพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะเทคนิคยานยนต์ ระดับ ปวส.
-นางสาวขนิษฐา คนไว รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะพิมพ์อังกฤาด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช.
-นายนนทวัช ซัง รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการสร้าง Web Page ระดับ ปวช
-นายธนากร บุทธิจักร รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการสร้าง Web Page ระดับ ปวช
-นายธีรภัทร นารีรักษ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะงานฝีมือ ระดับ ปวช
-นายเกรียงไกร พรหมเสนา รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะงานฝึกฝีมืองาน ระดับ ปวช
-นางสาววิจิตรา ผุเพชร รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะตอบปัญหาวิชาการ วิชาประวัติศาสตร์
-นางสาวสุดารัตน์ สีสับ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะตอบปัญหาวิชาการ วิชาประวัติศาสตร์
-นายเอกสิทธิ์ พรหมเสนา รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีน
-นางสาวดวงใจ วิสาระพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการประกวดรักการอ่าน
-นายชัชวาล เพชรรัตน์ รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะเครื่องยนต์เล็กและจักรยานยนต์ ระดับ ปวช.
-นายประกาศิต มณีภาค รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะเครื่องยนต์เล็กและจักรยานยนต์ ระดับ ปวช.
๑.๗ ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปี
การศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ ดังนี้
ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ
๑.๗.๑ ผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา ๑. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป
ในแต่ละระดับชั้น อย่างน้อยร้อยละ ๗๐
๒. สถานประกอบการหน่วยงานชุมชน มีความพึงพอใจต่อ
คุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดี
๓. ผู้เรียนสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแลกเข้า
อย่างน้อยร้อยละ ๗๐
๔. ผู้เรียนสาเร็จการศึกษาที่ได้ทางาน หรือประกอบอาชีพ
อิสระ หรือศึกษาต่อภายใน ๑ ปีมากกว่าร้อยละ ๗๕
๑.๗.๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
อาชีวศึกษา
๑. สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะบูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียงมากกว่าร้อยละ ๘๐
๒. สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
สมรรถนะบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่าร้อยละ ๘๐
๓. คุณภาพในการฝึกงานอยู่ในระดับดี
๑.๗.๓ การบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๑.สถานศึกษาดาเนินการให้มีการประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาหรือวิทยาลัยอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
๒. สถานศึกษามีการประชุมผู้ปกครอง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการจัดการอาชีวศึกษา ครู และบุคลากรทุกฝ่ายใน
สถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
๓. สถานศึกษามีการวิเคราะห์จัดทาแผนงาน โครงการ
บริหารความเสี่ยงที่สาคัญอย่างน้อย ๕ ด้าน ได้แก่ ด้าน
ความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด
ด้านสังคม ด้านการพนันและมั่วสุม
๔. สถานศึกษามีการแต่งตั้งครูที่ปรึกษาและจัดให้ผู้เรียนพบ
ครูที่ปรึกษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง
๕. สถานศึกษาดาเนินการให้ครูและบุคลากรทางการศึก
ษาในสถานศึกษาได้รับการฝึกอบรมด้านวิชาการ
ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ
วิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ และได้รับการพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕
๖. สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อ
สาหรับการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐
ของงบประมาณ
๗. สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อ
สาหรับการบริการวิชาการและวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อย
๑๙
ละ ๑ ของงบประมาณ
๘. สถานศึกษามีรายจ่ายในการส่งเสริม สนับสนุนและผู้
เรียนจัดทาและดาเนินการจัดประกวด จัดแสดง
โครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ
งานวิจัย รวมถึงรายจ่ายในการดาเนินงานตามโครงการ
กิจกรรม ด้านการปลูกจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็น
พลเมืองไทยและพลโลก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ของ
งบดาเนินการ
๙. สถานศึกษามีจานวนสถานประกอบการทั้งในและ
ต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษากับ
สถานศึกษา ไม่น้อยกว่า ๒๐ แห่ง
๑.๗.๕ การบริการวิชาการและวิชาชีพ ๑.คุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและ
วิชาชีพอยู่ในระดับดี
๒. สถานศึกษามีการดาเนินการให้นักเรียน นักศึกษา
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา เข้าร่วมโครงการ
กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
๓. สถานศึกษาดาเนินการให้ทุกสาขางานดาเนินงานไม่
น้อยกว่า ๒ โครงการกิจกรรมต่อปี
๔. สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับ
บริการและมีผลการประเมินเฉลี่ย ๓.๕๑ ขึ้นไป
๑.๗.๕ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
หรืองานวิจัย
๑.สถานศึกษาดาเนินการให้ผู้เรียนระดับชั้น ปวช.๓
และระดับชั้น ปวส.๒ จัดทาโครงการสิ่งประดิษฐ์หรือ
งานวิจัย โดยมีจานวนผลงานทั้งหมด ตามเกณฑ์เฉลี่ย
ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ
ระดับชั้น ปวช.๓ จานวน ๓ คน ต่อ ๑ ชิ้น และระดับ ปวส.
๒ จานวน ๒ คน ต่อ ๑ ชิ้น
๒. สถานศึกษาดาเนินให้ครูทุกคน จัดทานวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่า ๑
ชิ้นต่อปีการศึกษา
๑.๗.๖ การปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็น
พลเมืองไทยและพลโลก
๑.สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง
จิตสานึกด้านการรักชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมไม่น้อยกว่า ๕ โครงการกิจกรรม
๒. สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬา
และนันทนาการไม่น้อยกว่า ๕ โครงการกิจกรรม
๓. สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง
จิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า ๕
โครงการกิจกรรม
๑.๗.๗ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑.สถานศึกษามีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาและจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามาตรฐานการศึกษาโดยมีส่วน
ร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา
๒. สถานศึกษาได้ดาเนินงานตามแผนพัฒนาด้านการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา และจัดให้มีการตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา และจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน
ตามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๓. สถานศึกษามีสรุปผลการประเมินการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับคุณภาพดี ๒๓ ตัวบ่งชี้
๑.๗.๘ การจัดการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอน
ตาล ไม่ได้มีการจัดอบรมวิชาชีพระยะสั้น ตาม
เกณฑ์ชั่วโมงที่กาหนด
๑.๘ ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง
ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาให้
ความเห็นชอบมีดังนี้
ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ
๑.๘.๑ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้เรียน ครูและ
บุคลากรภายในสถานศึกษา
๑. มีมาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียน ครูและ
บุคลากรภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
๒. มีการปรับปรุง อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยติดตั้งตามอาคาร
ต่างๆ
๑.๘.๒ ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท ๑. ปฐมนิเทศนกศึกษา ชี้แจงบทลงโทษในกรณีเกิดการ
ทะเลาะวิวาทให้นักศึกษาทราบ
๒. มีการจัดระบบครูที่ปรึกษาและติดตามนักเรียนได้
ตลอดเวลา
๓. มีการจัดประชุมผู้ปกครองเครือข่าย
๑.๘.๓ ความเสี่ยงด้านยาเสพติด ๑. ดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ
นักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๒. ตรวจสารเสพติดอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
๓. ร้อยละของผู้ที่ได้รับบริการการตรวจสารเสพติดจาก
จานวนผู้เรียนทั้งหมดมากกว่าร้อยละ ๗๕
๑.๘.๔ ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์
ก่อนวัยอันควร
๑. จานวนของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม
จริยธรรมและประเพณีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของผู้เรียน
ทั้งหมด
๒. มีการตรวจหอพักนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๑.๘.๕ ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม ๑. มีการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา
กับตารวจในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการพนันและมั่วสุม
๒. มีการตรวจหอพักนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๓. มีการจัดกิจกรรมสร้างจิตสานึก ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการพนัน
๒๒
ตอนที่ ๒
การดาเนินงานของสถานศึกษา
๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา
ปรัชญา ( Philosophy )
“ พัฒนาคน พัฒนางาน สร้างสรรค์สังคม”
ปรัชญานี้มีความหมายว่า สถานศึกษาได้ตั้งเป้าหมายหลัก คือ การผลิตนักเรียนนักศึกษาให้มี
ความรู้ความสามารถในด้านช่างฝีมือและช่างเทคนิค สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีจิตสานึกที่เปี่ยมไปด้วย
คุณธรรมจริยธรรม นาความรู้ไปพัฒนาตนเองและสังคมให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
วิสัยทัศน์ (vision)
“มุ่งสู่การเป็นสถาบันอาชีวศึกษา ที่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาชีพ และนาไปสู่ความเป็นสากล”
พันธกิจ
๑.จัดการอาชีวศึกษาและส่งเสริมการฝึกอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน
๒. จัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และสังคม
ในภูมิภาค และอินโดจีน
๓. พัฒนาศักยภาพของครู และบุคลากรทางการศึกษา
๔. พัฒนาเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
๕. พัฒนาการบริหารจัดการการอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพสู่ความทันสมัย
๖. ให้บริการชุมชน สังคมด้านการอาชีวศึกษา
อัตลักษณ์
“ผู้สาเร็จการศึกษา เป็นคนดี มีฝีมือ”
เป้าหมายของสถานศึกษา
๑. ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพในระดับช่างฝีมือ ช่างเทคนิค ให้ได้คุณภาพและ
มาตรฐานสากล
๒. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเกณฑ์การประกันคุณภาพและ
การ กากับมาตรฐานการอาชีวศึกษา
๓. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
๔. เป็นสถาบันการแลกเปลี่ยนและพัฒนาการอาชีวศึกษาในกลุ่มประเทศอินโดจีน
๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
เพื่อให้ได้การดาเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพ การ
จัดการศึกษา จึงกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ดังนี้
ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ ยุทธศาสตร์การพัฒนา
๒.๒.๑ ผู้เรียนแลผู้สาเร็จการศึกษา เพิ่มปริมาณผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา พัฒนาผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา
๒.๒.๒ หลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอนอาชีวศึกษา
มีการจัดการเรียนการสอนตอบสนองความ
ต้องการของสถานประกอบการ
พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอนอาชีวศึกษา
๒.๒.๓ การบริหารจัดการสถานศึกษา
อาชีวศึกษา
การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วมของบุคลากร
ในสถานศึกษา
พัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษา
อาชีวศึกษา
๒.๒.๔ การบริการทางวิชาการและ
วิชาชีพ
การบริการวิชาการและวิชาชีพให้กับชุมชน
และสถานประกอบการ
พัฒนาการบริการทางวิชาการและ
วิชาชีพ
๒.๒.๕ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน
สร้างสรรค์หรืองานวิจัย
ครูและนักเรียนนักศึกษาจัดนวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ หรืองานวิจัยตามสาขางาน
พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน
สร้างสรรค์หรืองานวิจัย
๒.๒.๖ การปลูกฝังจิตสานึกและ
เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ
พลโลก
นักศึกษามีจิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทย
และพลโลกในด้านการรักชาติ ส่งเสริมการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทานุบารุง
ศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
พัฒนาการปลูกฝังจิตสานึกและ
เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ
พลโลก
๒.๒.๗ การประกันคุณภาพการศึกษา การนาระบบสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วยใน
การประกันคุณภาพ
พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา
๑๖
๒.๓ มาตรฐานการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง
เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง จึง
กาหนดมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง ดังนี้
ด้าน มาตรการป้องกันและควบคุม เป้าหมายความสาเร็จ
๒.๓.๑ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายใน
สถานศึกษา
จัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย เช่น
กิจกรรม ๕ ส. โครงการขับขี่ปลอดภัย
รณรงค์การรักษาความปลอดภัยในโรงงาน
ครู บุคลากรและนักเรียนนักศึกษา
ภายในสถานศึกษามีความปลอดภัย
มากขึ้น
๒.๓.๒ความเสี่ยงด้านการทะเลาะ
วิวาท
กิจกรรมส่งเสริมความสามัคคี เช่น การ
แข่งขันกีฬา
ลดอัตราการทะเลาะวิวาท
๒.๓.๓ ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด การตรวจสุขภาพประจาปี ลดปริมาณผู้ที่เสี่ยงด้านสิ่งเสพติด
๒.๓.๔ ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การ
ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการ
ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ลดอัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอัน
ควร
๒.๓.๕ ความเสี่ยงด้านการพนันและ
การมั่วสุม
กิจกรรมลดความเสี่ยงด้านการพนันและการ
มั่วสุม เช่น จัดครูดูแลความเรียบร้อยนักเรียน
นักศึกษาระหว่างเดินทางมาเรียนและเดินทาง
กลับบ้าน
ลดความเสี่ยงด้านการพนันและการ
มั่วสุม
๒.๔ การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ข้อเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ
๒.๔.๑ การประเมินคุณภาพภายนอก
๑.ส่งเสริม สนับสนุน ทั้งทางด้านงบประมาณ
และแนวทางเสริมให้ผู้เรียนในกลุ่มรายวิชา
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ สถิติ
คอมพิวเตอร์ เกิดการพัฒนาความรู้และทักษะ
เช่นการปรับปรุงรูปแบบในกระบวนการเรียนการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
1.มีการจัดงบประมาณในการจ้างครูต่างประเทศ
มาสอนภาษาให้กับผู้เรียน
2.การปรับวิธีการจัดการการเรียน การสอนโดย
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีให้ผู้เรียนจัดทาโครงการ
งานวิทยาศาสตร์
๒.๔.๒ การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด
๑.จัดทาโครงการลดการ Drop Out ของผู้เรียน
๒ .สนับสนุนให้ครูผู้สอนแต่ละสาขาวิชาจัดทา
แผนการเรียนรู้ให้ครบ ๑๐๐%
๓.ควรมีโครงการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อ
ครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองได้ร่วมมือกันแกปัญหา
การออกกลางคัน
๔.จัดหางบประมาณทั้งจากภายในและภายนอก
มาสนับสนุนการจัดทานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์
อย่างต่อเนื่อง
๑.มีการจัดทาโครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน
นักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา
๒.มีการจัดทาทะเบียนประวัตินักเรียนนักศึกษา
เพื่อติต่อประสานงานกับผู้ปกครอง
๒.๔.๓ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
๑.ผู้สาเร็จการศึกษามีผลการเรียนเฉลี่ยด้าน
พื้นฐานวิชาชีพที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ใน
กลุ่มรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์
๑ .มีการจัดโครงการอบรมภาษาต่างประเทศให้กับ
นักเรียน นักศึกษา
๒.มีการจัดให้มีครูต่างประเทศมาสอนภาษาให้กับ
นักเรียนนักศึกษา
ตอนที่ ๓
การดาเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป
การสร้างความตระหนัก
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบ
สมรรถนะในทุกสาขาวิชาชีพตามหลักสูตรที่เปิดสอน และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยสะสม มาตรฐานที่กาหนด
และเกณฑ์การผ่านในแต่ละระดับชั้น สถานศึกษาจัดการเรียนสอนร่วมกับสถานประกอบการมีการประเมินผล
ตามสภาพจริง จัดโครงการสอนซ่อมเสริมให้ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า โดยครูผู้สอนจัดแผนการ
เรียนรู้โดยเน้นให้ผู้เรียนมี ความรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติอย่างจริงจัง และผู้สาเร็จการศึกษาต้องมีผลการเรียนตาม
เกณฑ์การสาเร็จการศึกษา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียนแต่ละหลักสูตร
ตามประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน
การดาเนินการ
สถานศึกษามีความพยายามในการจัดการเรียนการสอน จนทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
เกณฑ์ที่กาหนด และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป มีการจัดทากิจกรรม/โครงการตาม
แผนงานที่วางไว้ ดังนี้กิจกรรมโครงการเตรียมความพร้อมก่อนสอบ V-Net กิจกรรมโครงการทุนการศึกษา
กิจกรรมโครงการกองทุนให้ยืมเพื่อการศึกษา
ผลการดาเนินการ
ตารางที่ ๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป ระดับ
ปวช.๑ เฉลี่ย สะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป เทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ยกเว้นผู้เรียนที่ออก
กลางคัน
สาขาวิชา/สาขางาน จานวน
ผู้เรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ลงทะเบีย
นเรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ออก
กลางคัน
จานวน
ผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์
๒.๐๐ ขึ้น
ไป
ร้อยละ
ผู้เรียนที่
มี
ผลสัมฤ
ทธิ์
๒.๐๐
ขึ้นไป
หมายเหตุ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ปวช. ๑ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๖ งวดที่ ๓) ณ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๖
ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม
เครื่องกล/ยานยนต์(นร.เข้าปี ๕๖)
๑๕ ๑๐ ๕ ๕ ๑๐๐
ประเภทวิชาพณิชยกรรม
พาณิชยการ/การบัญชี(นร.เข้าปี ๕๖)
๑๔ ๑๒ ๒ ๖ ๖๐.๐๐
พาณิชยการ/คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
(นร.เข้าปี ๕๖)
- - - - -
สาขาวิชา/สาขางาน จานวน
ผู้เรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ลงทะเบียน
เรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ออก
กลางคัน
จานวน
ผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์
๒.๐๐ ขึ้น
ไป
ร้อยละ
ผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์
๒.๐๐ ขึ้น
ไป
หมาย
เหตุ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประเภทวิชา
เกษตรกรรม
เกษตรศาสตร์/เกษตร
ทั่วไป(นร.เข้าปี ๕๖)
๘ ๙ ๔ ๓ ๖๐.๐๐
รวม ปวช.๑ ๓๗ ๓๑ ๑๑ ๑๔ ๗๐.๐๐
ปวช. ๒ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๕ งวดที่ ๓) ณ ๔ มกราคม ๒๕๕๖
ประเภทวิชาช่าง
อุตสาหกรรม
เครื่องกล/ยานยนต์
(นร.เข้าปี๕๕)
๑๘ ๑๒ ๑ ๑๐ ๙๑.๐๐
ประเภทวิชาพณิชยก
รรม
พาณิชยการ/การ
บัญชี
(นร.เข้าปี๕๕)
- - - - -
ประเภทวิชาพณิชยก
รรม
พาณิชยการ/
คอมพิวเตอร์
(นร.เข้าปี๕๕)
๕ ๕ ๑ ๔ ๑๐๐
ประเภทวิชา
เกษตรกรรม
(นร.เข้าปี๕๕)
เกษตรศาสตร์/เกษตร
ทั่วไป
๓ ๔ - ๒ ๕๐
รวม ปวช.๒ ๒๖ ๒๑ ๑ ๑๗ ๘๔.๒๑
ปวช. ๓ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๕ งวดที่ ๓) ณ ๔ มกราคม ๒๕๕๖
ประเภทวิชาช่าง
อุตสาหกรรม
เครื่องกล/ยานยนต์
(นร.เข้าปี ๕๔)_
๘ ๖ - ๕ ๘๓.๓๓
ประเภทวิชาพณิชยก
รรม
พาณิชยการ/การ
บัญชี
๔ ๔ ๑ ๓ ๑๐๐
ประเภทวิชาพณิชยก
รรม
พาณิชยการ/
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
๕ ๕ - ๕ ๑๐๐
ประเภทวิชา
เกษตรกรรม
เกษตรศาสตร์/เกษตร
ทั่วไป
๑๕ ๑๒ - ๑๑ ๙๑.๖๖
รวม ปวช.๓ ๓๒ ๒๗ ๑ ๒๔ ๙๒.๓๐
รวม ปวช. ๙๕ ๗๙ ๑๔ ๕๔ ๘๓.๐๗
สาขาวิชา/สาขางาน จานวน
ผู้เรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ลงทะเบียน
เรียน
ทั้งหมด
จานวน
ผู้เรียนที่
ออก
กลางคัน
จานวน
ผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์
๒.๐๐ ขึ้น
ไป
ร้อยละ
ผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์
๒.๐๐ ขึ้น
ไป
หมาย
เหตุ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ประเภทวิชาช่าง
อุตสาหกรรม
สาขางานเทคนิคยาน
ยนต์ (ปวส ๑) นร.
เข้าปี ๕๖
๒๐ ๑๙ ๕ ๑๒ ๘๕.๗๑
ปวส ๒ นร.เข้าปี ๕๕ - - - - -
รวม ๒๐ ๑๙ ๕ ๑๒ ๘๕.๗๑
ประเภทวิชา
บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ
ปวส.๑ นร.เข้า ๕๖ ๘ ๕ - ๓ ๖๐
ปวส. ๒ นร.เข้า ๕๕ ๕ ๕ - ๕ ๑๐๐
รวม ๑๓ ๑๐ - ๘ ๘๐
ประเภทวิชา
เกษตรศาสตร์
สาชาพืชศาสตร์
ปวส.๑ นร.เข้าปี ๕๖ ๗ ๖ - ๖ ๑๐๐
ปวส.๒ นร.เข้าปี ๕๕ ๖ ๘ - ๘ ๑๐๐
รวม ปวส. ๑๓ ๑๔ - ๑๔ ๑๐๐
รวมปวส. ๔๖ ๔๓ ๕ ๓๔ ๘๙.๔๗
ผลสัมฤทธิ์
ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป เทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด
คิดเป็น ร้อยละ………๘๙.๔๗…… มีค่าคะแนนเท่ากับ......๕........... มีคุณภาพอยู่ในระดับ.....ดีมาก..
มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของ
ผู้เรียน
การสร้างความตระหนัก
วิทยาลัยฯ ได้ตระหนักถึงความร่วมมือกับเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการเยี่ยมเยือน ลง
นามความร่วมมือกับสถานประกอบการด้านการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีอยู่เสมอ และมีการประเมิน
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ
การดาเนินการ
วิทยาลัยฯ ได้ส่งนักศึกษาเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการจริง มีการติดตามนิเทศ ระหว่างฝึกงาน ร่วมกับครู
ฝึกในสถานประกอบการ หลักฝึก ได้มีการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของนักศึกษาโดยการสร้างแบบ
ประเมินมาตรส่วนประมาณค่า และให้สถานประกอบการประเมินทุกครั้งหลังจากการฝึก โดยมีกิจกรรม
โครงการที่แสดงถึงความพยายาม คือกิจกรรมโครงการส่งหนังสือขอบคุณและแบบประเมินความพึงพอใจ
นักศึกษาฝึกงานให้สถานประกอบการ
ประเด็นการพิจารณา ดำเนินการ ไม่ดำเนินการ
๑. สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจโดยกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
สร้างเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง นา
ข้อมูลมาวิเคราะห์

๒. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐
คิดเป็นร้อยละ ๕๐-๕๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม

๓. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐
คิดเป็นร้อยละ ๖๐-๖๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม

๔. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐
คิดเป็นร้อยละ ๗๐-๗๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม

๕. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐
คิดเป็นร้อยละ ๘๐ขึ้นไป เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม


ผลสัมฤทธิ์
ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน
เฉลี่ยโดยรวม มีค่าคะแนนเท่ากับ.......๔............ มีคุณภาพอยู่ในระดับ..........ดี.............
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556
รายงานประเมินตนเอง2556

More Related Content

What's hot

รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
Academic Library Standard, Thailand
Academic Library Standard, ThailandAcademic Library Standard, Thailand
Academic Library Standard, ThailandBoonlert Aroonpiboon
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556 Weerachat Martluplao
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑patchara111
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรมYota Bhikkhu
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทยNadeewittaya School
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraSucheraSupapimonwan
 
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมทับทิม เจริญตา
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029Kasem Boonlaor
 

What's hot (20)

รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
Sar 59 wichai li
Sar 59 wichai liSar 59 wichai li
Sar 59 wichai li
 
Sar 60 wichai li
Sar 60 wichai liSar 60 wichai li
Sar 60 wichai li
 
Academic Library Standard, Thailand
Academic Library Standard, ThailandAcademic Library Standard, Thailand
Academic Library Standard, Thailand
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
บันทึกความดีปุ๊ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
2.บทที่.2 บทวรรณกรรม
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
 
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
 

Viewers also liked

ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์Totsaporn Inthanin
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพgrit_1
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์พัน พัน
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkAmr Thabet
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดคําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดnidchakul
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกWiwat Ch
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1knnkung
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 

Viewers also liked (20)

ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน เทคโนโลยียานยนต์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิดคําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
คําที่มักเขียนผิด โครงงานภาษาไทยเรื่องคําที่มักเขียนผิด
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
บรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวกบรรยายวินัยเชิงบวก
บรรยายวินัยเชิงบวก
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 

Similar to รายงานประเมินตนเอง2556

ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfchartthai
 
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfchartthai
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงานประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงานsukhom
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกSireetorn Buanak
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศDenpong Soodphakdee
 

Similar to รายงานประเมินตนเอง2556 (20)

Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdfค่าเป้าหมาย2566.pdf
ค่าเป้าหมาย2566.pdf
 
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdfค่าเป้าหมาย2565.pdf
ค่าเป้าหมาย2565.pdf
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงานประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
Job em1
Job em1Job em1
Job em1
 
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโกการจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรณีศึกษา วท.ดอนบอสโก
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
17[1]
17[1]17[1]
17[1]
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 

More from Patcharee Pawleung

ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)
ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)
ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)Patcharee Pawleung
 
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟางยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟางPatcharee Pawleung
 
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรมบทที่ 2 การเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรมPatcharee Pawleung
 
สอบราคาครั้งที่ 3
สอบราคาครั้งที่ 3สอบราคาครั้งที่ 3
สอบราคาครั้งที่ 3Patcharee Pawleung
 
เครื่องทุ่นแรงการเกษตร
เครื่องทุ่นแรงการเกษตรเครื่องทุ่นแรงการเกษตร
เครื่องทุ่นแรงการเกษตรPatcharee Pawleung
 
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคมPatcharee Pawleung
 
8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการPatcharee Pawleung
 
7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่Patcharee Pawleung
 
6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์Patcharee Pawleung
 
5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณPatcharee Pawleung
 
4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตรPatcharee Pawleung
 
2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากรPatcharee Pawleung
 
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษาPatcharee Pawleung
 
1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัยPatcharee Pawleung
 
รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555Patcharee Pawleung
 
รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554Patcharee Pawleung
 

More from Patcharee Pawleung (17)

ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)
ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)
ประกาศสอบราคาครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง (ครั้งที่ 2)
 
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟางยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง
ยกเลิกการสอบราคาซื้อครุภัณฑ์เครื่องอัดฟาง
 
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรมบทที่ 2 การเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
สอบราคาครั้งที่ 3
สอบราคาครั้งที่ 3สอบราคาครั้งที่ 3
สอบราคาครั้งที่ 3
 
เครื่องทุ่นแรงการเกษตร
เครื่องทุ่นแรงการเกษตรเครื่องทุ่นแรงการเกษตร
เครื่องทุ่นแรงการเกษตร
 
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม
9ข้อมูลเศรฐกิจและสังคม
 
8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ8ข้อมูลสถานประกอบการ
8ข้อมูลสถานประกอบการ
 
7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่7ข้อมูลอาคารสถานที่
7ข้อมูลอาคารสถานที่
 
6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์6ข้อมูลครุภัณฑ์
6ข้อมูลครุภัณฑ์
 
5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ5ข้อมูลงบประมาณ
5ข้อมูลงบประมาณ
 
4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร4ข้อมูลหลักสูตร
4ข้อมูลหลักสูตร
 
2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร2ข้อมูลบุคลากร
2ข้อมูลบุคลากร
 
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
3ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
 
1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย1ข้อมูลวิทยาลัย
1ข้อมูลวิทยาลัย
 
รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555รายงานการประเมินตนเอง2555
รายงานการประเมินตนเอง2555
 
รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554รายงานการประเมินตนเอง2554
รายงานการประเมินตนเอง2554
 

รายงานประเมินตนเอง2556

  • 1. รายงานการประเมินตนเอง ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ (Self-Assessment Report : SAR ) วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล อาชีวศึกษาจังหวัดมุกดาหาร สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2.
  • 3. คานา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม หมวด ๖ มาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา มาตราที่ ๔๗ กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตราที่ ๔๘ กาหนดให้ หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยให้ถือว่าการประกัน คุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทา รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เป็นการรองรับการประกันคุณภาพภายนอกต่อไป ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่ประกาศใช้ในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ประกอบด้วย ๘ มาตรฐาน ๔๕ ตัวบ่งชี้ ให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือการประกัน คุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทา รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล ตระหนักถึงภารกิจที่สาคัญ จึงได้ทาการประเมินคุณภาพ ภายในและนาผลการประเมิน ให้หน่วยงานต้นสังกัด สมศ.และสังคมรับทราบ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในด้าน ประกันคุณภาพของสถานศึกษา โดยมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับเป้าหมายและ วิสัยทัศน์ของวิทยาลัย การดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน ดาเนินการโดยยึดหลักความเที่ยงตรง แม่นยา เป็นธรรมและโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพจริง สามารถตรวจสอบได้ทุกตัวบ่งชี้ มีการส่งเสริมให้บุคลากร ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพภายในทุกๆครั้ง จึงส่งผลให้เกิดความร่วมมือ ร่วมใจในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาลัยต่อไป รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) เป็นการสรุปการปฏิบัติงานทุกๆมิติของ วิทยาลัยฯ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ โดยใช้เครื่องมือในการประเมินอย่างหลากหลาย และผลสรุปที่ได้แสดงให้เห็น ถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานในภาพรวมของวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล มิถุนายน ๒๕๕๖ ก
  • 4. สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ บทสรุปของผู้บริหาร ๑ ตอนที่ ๑ สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา ๑.๑ ประวัติความเป็นมา ๓ ๑.๒ สภาพทั่วไปของจังหวัดมุกดาหาร ๖ ๑.๓ งบประมาณ ประจาปี ๒๕๕๕ ๘ ๑.๔ ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ๙ ๑.๕ อัตรากาลัง ข้อมูลบุคลากร ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๑๐ ๑.๖ เกียรติประวัติของสถานศึกษา ปี ๒๕๕๕ ๑๒ ๑.๗ ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงาน ๑๓ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑.๘ ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ๑๓ ตอนที่ ๒ การดาเนินงานของสถานศึกษา ๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ๑๔ ๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๑๕ ๒.๓ มาตรฐานการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง ๑๕ ๒.๔ การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ๑๖ ตอนที่ ๓ การดาเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ๑๗ มาตรฐานที่ ๒ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ๓๑ มาตรฐานที่ ๓ ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ๓๘ มาตรฐานที่ ๔ ด้านบริการวิชาการและวิชาชีพ ๕๔ มาตรฐานที่ ๕ ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ๕๖ มาตรฐานที่ ๖ ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทย ๕๙ และพลโลก มาตรฐานที่ ๗ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ๖๕ ตอนที่ ๔ สรุปและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา ๖๘ ภาคผนวก ภาคผนวก ก คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิน การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕
  • 5. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล มีหน้าที่โดยตรงในการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อพัฒนา กาลังคนระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือ และระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาวิชาชีพ (ระดับเทคนิค) ให้สอดคล้องกับ ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน หรือเป็นผู้ประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระได้ โดยเน้นการแก้ปัญหา สร้างองค์ความรู้ในอาชีพ มี บุคลิกภาพ คุณธรรมและเจตคติที่ดี วิทยาลัยฯ เปิดสอน ๒ ระดับ คือ ๑. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๖) ที่เปิดสอนใน ๓ ประเภทวิชา ได้แก่ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยก รรม และประเภทวิชาเกษตรกรรม ทั้งในระดับ ปวช.และปวส. ๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๔๖ ที่เปิดสอนใน ๓ ประเภทวิชา ได้แก่ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม และประเภทวิชาเกษตรกรรม ๑.สภาพการดาเนินงานและผลงานการประเมินคุณภาพภายใน (ตามเป้าหมายแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา) ๑.๑ การดาเนินงานวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล ๑.การวางแผนงานของวิทยาลัยฯ ใช้การจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ระหว่างผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่ ชุมชน และองค์กรภายนอก ซึ่งมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ในรูปแบบของ คณะกรรมการวิทยาลัยฯ มีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานภายใต้แต่ละมาตรฐาน ซึ่งทาให้เกิดสัมฤทธิผล ด้านใด ระดับใด มีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินผลในการตัดสินระดับความสาเร็จ มีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมโครงสร้างเพื่อนาสู่การปฏิบัติโดยผู้เกี่ยวข้องเป็นผู้เสนอแผนปฏิบัติการ และระบบกากับ ติดตาม ๒.การนาแผนสู่การปฏิบัติไดกาหนดปฏิทินปฏิบัติงาน และดาเนินงานตามแผน มีกลไกในการ กากับ ติดตามตรวจสอบ ในรูปแบบคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายเป็นระยะๆ ตามตารางที่กาหนด และมี การรายงานผลความก้าวหน้าทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและโดยการจัดประชุม ๓.การตรวจสอบติดตาม มีการวางแผนระบบประเมินแบบทางการ ในรูปของคณะกรรมการ กากับ นิเทศ ประเมินการดาเนินงาน และรายงานต่อที่ประชุม ๔.การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน มีการนาผลการประเมินมาจัดทาเป็นรายงานการ ประเมินตนเอง เผยแพร่ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ และจัดประชุมเพื่อการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ วางแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ หากผลการประเมินปรากฏว่ามาตรฐานการศึกษาด้านใด มีการดาเนินงานไม่เป็นไป ตามเป้าหมายที่กาหนดวิทยาลัยฯ จะให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดทาแผนพัฒนาปรับปรุง โดยมีการกาหนดยุทธวิธี แผนปฏิบัติการ ระยะเวลาการดาเนินการ ทรัพยากรที่ใช้ในการดาเนินงานและวิธีการติดตามประเมินผล แผนพัฒนาปรับปรุงดังกล่าว จะนาเสนอต่อคณะกรรมการวิทยาลัยฯ พิจารณาและขอรับการสนับสนุน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากจาเป็นต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และต้องการให้ชุมชนช่วยเหลือ
  • 6. ตอนที่ ๑ สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา ๑. ประวัติความเป็นมา ๑.๑ ประวัติ การจัดตั้ง ที่ตั้ง เนื้อที่ และอาคารต่าง ๆ เดิมเป็นสถานที่เรียนและฝึกปฏิบัติ (ศูนย์ฝึกเทคโนโลยี การเกษตรดอนตาล) ของนักศึกษาประเภทวิชา เกษตรกรรม หลักสูตร ปวช.และ ปวส. และจัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร แก่เกษตรกรในชุมชนและผู้ที่ สนใจ ของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยขอใช้ที่ดิน สาธารณะประโยชน์ หนองกลางโคก ตามเอกสารสิทธ์ หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เลขที่ ๕๒๔๖ ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ ๑๑๗ หมู่ที่ ๑๑ บ้านตาลใหม่ ต.ดอนตาล อ.ดอนตาล (เดิมสังกัดนครพนม) มีพื้นที่ประมาณ ๑,๓๑๖ ไร่ ปัจจุบันขอใช้พื้นที่ ประมาณ ๕๘๕ ไร่ ๒ งาน ๔๐ ตารางวา ปีงบประมาณ ๒๕๓๔ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(กรมอาชีวศึกษาเดิม) ได้จัดงบประมาณงบลงทุนที่ดินสิ่งก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภคบางส่วนตลอดจนหน่วยงานราชการ ได้ให้การสนับสนุนการ พัฒนาพื้นที่เช่นการพัฒนาแหล่งน้า การจัดฝึกอบรมด้าน ปศุสัตว์ ประมง เป็นต้น ประกอบด้วยอาคารเรียน ๑ หลัง อาคาร โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ๕ หลังอาคารประกอบอื่นฯ ๕ หลัง บ้านพักนักศึกษาเกษตร ๑๐หลัง ห้องน้าโรงอาหาร ซึ่งอาคารส่วน ใหญ่มีสภาพชารุดควรได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ กระทรวงศึกษาธิการ โดย สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มีนโยบายจัดตั้ง สถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อรองรับการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา และตามความต้องการ ของประชาชน จานวน ๑๑ สถานศึกษา ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑ โดยนายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ได้งบประมาณสิ่งก่อสร้างอาคารเรียนและปฏิบัติการพร้อมครุภัณฑ์พื้นที่ ๑,๕๐๐ตรม. จานวน ๑ หลัง อาคารศูนย์วิทยบริการ พื้นที่ ๑,๐๘๘ ตรม. จานวน ๑ หลัง และโรงเรือนระบบปิด/คอกสัตว์/โรงนม พื้นที่ ๒,๐๔๐ ตรม. จานวน ๑ หลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ได้รับงบประมาณสิ่งก่อสร้างบ้านพักผู้อานวยการ จานวน ๑ หลัง และระบบประปาหอถังสูง จานวน ๑ ชุด ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ได้รับงบประมาณปรับปรุงอาคาร จานวน ๒ ล้านบาท ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ได้รับงบประมาณก่อสร้างตึกอานวยการ จานวน ๑ หลัง ราคา ๙ ล้านบาท
  • 7. ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาลได้มีการจัดการเรียนการสอนทั้งในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)แก่ผู้ที่มีความประสงค์ที่จะศึกษาด้านอาชีพทั้ง นักศึกษาภาคปกติ ทวิภาคี และเทียบโอนประสบการณ์ ดังนี้ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เปิดรับนักเรียนนักศึกษารุ่นแรกตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม และวิทยาลัยให้การจัดฝึกอบรมวิชาชีพเกษตร ระยะสั้นแก่เกษตรกรทั่วไป การจัดฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นแก่ประชาชนทั่วไป ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เปิดรับนักเรียน ระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖) อีก ๓ แผนกวิชา คือ แผนกวิชาช่างยนต์ พณิชการและเกษตรศาสตร์ หลักสูตรประกาศนีย บัตรวิชาชีพ วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช๒๕๔๕ สาขาเกษตรศาสตร์
  • 9. ๑.๒ สภาพทั่วไปของจังหวัดมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งกั้นพรมแดน ตั้งอยู่เส้นรุ้งที่ ๑๖-๑๗ องศาเหนือและเส้นแวงที่ ๑๐๔- ๑๐๕ องศาตะวันออก มีพื้นที่ทั้งหมด ๔,๓๓๙.๘๓ ตร.กม. หรือ ๒,๗๑๒,๓๙๔ ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๖๔๒ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อาเภอชานุมานจังหวัดอานาจเจริญและอาเภอหนองพอก จังหวัด ร้อยเอ็ด ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอนาแก อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม และอาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งกั้นพรมแดน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอเขาวง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ และอาเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด ลักษณะภูมิประเทศ ทิศเหนือและทิศใต้ของ จังหวัดมุกดาหาร เป็นที่ราบสูง ทางทิศตะวันตกมีเทือกเขาภูพาน มีลักษณะเป็นป่า ไม้ บางแห่งเป็นป่าทึบ ส่วนทิศตะวันออกเป็นที่ราบสลับป่าไม้ และมีแม่น้าโขงเป็นเส้นกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีความยาวประมาณ ประมาณ ๗๒ กม. มีพื้นที่ราบร้อยละ ๒๐ ของพื้นที่ทั้ง จังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ป่าไม้ประมาณ ๘๓๑,๙๘๘ ไร่(๑,๔๕๖.๖๙ ตร.กม.) คิดเป็นร้อย ละ ๓๐.๖๗ ของจังหวัด ด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี ๒๕๕๖ ขยายตัวร้อยละ ๑๔.๑๘ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ ๑๓.๒๒ – ๑๕.๑๗) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าที่ชะลอตัวร้อยละ ๑๒.๐๗ ซึ่งสูงกว่าประมาณการ ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๖ ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ ๘.๑๒ สะท้อนจากภาพรวมทางเศรษฐกิจที่ถือว่าขยายตัวได้ดี โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากด้านอุปทาน ภายในจังหวัดที่ ขยายตัวจากภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ เนื่องจากในปีนี้มีปริมาณผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดมาก ขึ้น รวมทั้งราคาสินค้าเกษตรที่สาคัญปรับตัวสูงขึ้น ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งปัจจัยด้านอุปสงค์จากการบริโภค ภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่การใช้จ่ายภาครัฐ การบริการและการท่องเที่ยว และการค้าชายแดนมีแนวโน้ม หดตัว สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปี ๒๕๕๖ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ ๒.๔๐ (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ ๒.๐๐ – ๓.๐๐) ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ที่ชะลอตัว ตามราคาน้ามันและสินค้าอุปโภคบริโภคที่มี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ด้านการจ้างงานอยู่ที่จานวน ๒๒๔,๙๔๕ คน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า จานวน ๑๔,๔๘๙ คน ตามการขยายตัว ของเศรษฐกิจจังหวัด ๑๐
  • 10. สภาพการศึกษาของจังหวัดมุกดาหาร การศึกษาในจังหวัดมุกดาหาร ได้มีการขยายตัวอย่างมาก มีการศึกษาต่อสูงขึ้นโดยเฉพาะในด้านอาชีวศึกษา สาขา ช่างอุตสาหกรรมและบริการ ซึ่งที่ผ่านมาประสบปัญหาในเรื่องสถานศึกษาไม่เพียงพอต่อ ความต้องการ และมีระยะทางไกลจากชุมชน ทาให้การเดินทางไม่สะดวก และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ทาให้การจัดการเรียนการ สอนด้านอาชีวศึกษายังไม่สนองความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต ประกอบกับประเทศไทยมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจและสังคม ไปสู่การเป็นผู้ผลิตสาขาอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก การบริการและการเกษตร สมัยใหม่มากยิ่งขึ้น จึงมีความจาเป็นต้องมีการพัฒนากาลังคน ให้มีความรู้ความสามารถในระดับที่สูงกว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดมุกดาหาร มีการจาแนกสถานศึกษาตามสังกัดออกเป็น ๓ หน่วยงานคือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มุกดาหาร ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน และสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา มีนักเรียน/นักศึกษา ตั้งแต่ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จนถึงระดับ ปวส. หรือเทียบเท่า จานวน ๗๔,๓๗๙ คน และมีครูผู้สอนจานวน๓,๓๙๕ คน อัตราเฉลี่ยนักเรียนต่อ ครูเท่ากับ ๑๙:๑ แยกเป็นสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร (รวมการศึกษาเอกชน) จานวน ๒๘๑ แห่ง ศูนย์ การศึกษานอกโรงเรียน จานวน ๗ ศูนย์ และสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจานวน๒ แห่ง ด้านสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ อาเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นอาเภอที่ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร เป็นระยะทาง ๕ กิโลเมตร ประกอบ ไปด้วย ๘ ตาบล ห่างจากตัวอาเภอ ๕ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร ๓๕ กิโลเมตร ติดกับ อาเภอเมือง อาเภอนิคมคาสร้อย อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจริญและอาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร พื้นที่บริการ จานวน ๓ อาเภอ มีพื้นที่ ที่ใช้ในการจัดตั้งวิทยาลัยฯ ๕๘๕ ไร่ ๒ งาน ๔๐ ตารางวา ๑๑ ๑๑
  • 11. ๑.๒ งบประมาณประจาปี ๒๕๕๖ ๘ จานวนทั้งสิ้น ๑๘,๕๙๖,๕๑๐ บาท รายละเอียดแสดงในตาราง ๑.๑ ตารางที่ ๑.๑ งบดาเนินงาน งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๖ รายละเอียดงบประมาณ ปี ๒๕๕๖ มีดังนี้ รายรับของสถานศึกษา ปีงบประมาณ (ยอดเงินปี 2556) ๑.งบบุคลากร(ค่าตอบแทน พนักงานราชการ) ๗๒๐,๗๒๐ ๒.งบดาเนินงาน ๒.๑ ปวช. ๑,๒๔๗,๘๐๐ ๒.๒ ปวส. ๓๐๙,๕๐๐ ๒.๓ ระยะสั้น ๕๔๙,๘๐๐ ๓.งบลงทุน ๓.๑ อาคารอานวยการ ๙,๐๐๐,๐๐๐ ๓.๒ ปรับปรุงอาคารเรียนและอาคารปฏิบัติการเกษตร ๑,๔๐๐,๐๐๐ ๓.๓ ครุภัณฑ์ห้องปฎิบัติการทางภาษา ๙๐๐,๐๐๐ ๔.งบรายจ่ายอื่นๆ ๔.๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพ (Fix it center) ๕๗๔,๐๐๐ ๔.๒โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา ๖๕๐,๐๐๐ ๔.๓ โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียน อาชีวศึกษา ๒๑๐,๐๐๐ ๔.๔ โครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาแบบครบวงจร ๑๖๐,๐๐๐ ๕. งบเงินอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕.๑ ค่าจัดการเรียนการสอน ๑๗๙๕๒๐๐ ๕.๒ ค่าหนังสือเรียน ๕๐๒,๒๐๐ ๕.๓ค่าอุปกรณ์การเรียน ๑๑๕,๔๖๐ ๕.๔ ค่าเครื่องแบบนักเรียน ๒๐๙,๗๐๐ ๕.๕ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒๓๘,๔๕๐ ๖.งบเงินอุดหนุนทั่วไป ๖.๑ กิจกรรมองค์การวิชาชีพอุตสาหกรรม ๒๐,๐๐๐ ๖.๒ เงินอุดหนุนการหารายได้ระหว่างเรียนของ นักศึกษาทียากจน ๗๘,๐๐๐ ๖.๓ เงินอุดหนุนนักเรียนอาชีวศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนในชนบท(อศ.กช. ๔๕๐,๐๐๐ ๖.๔ เงินอุดหนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะสั้น ๔๕,๐๐๐ ๖.๕ เงินอุดหนุนส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย ๖๖,๔๐๐ ๖.๖ ทุนการศึกษาเฉลิมราช ๓๐,๐๐๐ ๖.๗ โครงการคุณธรรมนาความรู้ ๔๕,๐๐๐ รวม ๑๘,๕๙๖,๕๑๐
  • 12. อัตรากาลัง ข้อมูลบุคลากร ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ๑. อัตรากาลัง ผู้บริหาร ๒ คน ข้าราชการครู ๕ คน พนักงานราชการครู ๔ คน ครูพิเศษสอน ๗ คน เจ้าหน้าที่ ๕ คน ลูกจ้างชั่วคราว ๖ คน รวม ๒๙ คน ๒. ข้อมูลบุคลากร ตาแหน่ง จานวน ระดับตาแหน่ง ระดับการศึกษา ชาย หญิง รวม คศ.3 คศ.2 คศ.1 ครู ผู้ช่วย เอก โท ตรี ต่ากว่า ป.ตรี ๑.ผู้บริหาร ๒ - ๒ ๑ ๑ - - - ๒ - - รวมผู้บริหาร ๒ - ๒ ๑ ๑ - - - ๒ - - ๒. ข้าราชการครูผู้สอน ๒.๑ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ - ๔ ๔ - - ๓ ๑ - ๑ ๔ - ๒.๒ แผนกวิชาช่างยนต์ ๑ - ๑ - - ๑ - - - - - รวมข้าราชการครูผู้สอน ๑ ๔ ๕ - - ๔ ๑ - ๑ ๔ - ๓ พนักงานราชการ ๓.๑ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ - ๑ ๑ - - - - - - ๑ - ๓.๒แผนกวิชาการบัญชี ๑ ๑ - - - - - - ๑ - ๓.๓ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ๑ - ๑ - - - - - - ๑ - ๓.๔ แผนกวิชาช่างยนต์ ๑ - ๑ - - - - - ๑ - - รวมพนักงานราชการ ๒ ๒ ๔ - - - - - ๑ ๓ - ๔.ครูพิเศษสอน ๔.๑ แผนกวิชาเกษตร ๒ - ๒ - - - - - - ๒ - ๔.๒แผนกวิชาช่างยนต์ ๓ - ๓ - - - - - - ๓ - ๔.๓ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ๒ - ๑ - - - - - - ๒ - ๔.๔ แผนกวิชาบัญชี - ๒ ๑ - - - - - - ๒ - ๔.๕ สามัญสัมพันธ์ - ๑ - - - - - - - ๑ - รวมครูอัตราจ้าง ๗ ๓ ๗ - - - - - - ๑๐ - ๕.ลูกจ้างชั่วคราว ๕.๑ เจ้าหน้าที่ ๑ ๓ ๔ - - - - - - ๑ ๓ ๕.๒ พนักงานทั่วไป/แม่บ้าน/คนงาน ๖ ๑ ๗ - - - - - - - ๗ รวมลูกจ้างชั่วคราว ๗ ๔ ๑๑ - - - - - - ๑ ๑๐ รวมทั้งสิ้น ๑๘ ๑๓ ๒๙ ๒ - ๔ ๑ - ๔ ๑๘ ๑๐ ๑๔
  • 13.
  • 14. ๑.๖ รางวัล/ความภาคภูมิใจ ปี ๒๕๕๖ ๑.ระดับสถานศึกษา - นายจาปา ศักดิ์ สายวรณ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาเปตองชายคู่ การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายประกาศิต มณีภาค รางวัลชนะเลิศกีฬาเปตองชายคู่ การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวดวงใจ วิสาระพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวศิริลักษณ์ สุริยันต์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวไอลัดดา รุ่งเรือง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาววนิดา ต่อซอน รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวจุฬารัตน์ แข็งแรง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวสุดารัตน์ สีลับสี รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวไข่มุก มูลนา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาววิจิตรา ผุเพชร รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวรัชนีกรณ์ ทองเภา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเล่ย์บอลหญิง การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายสุขี วังญาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายสุริยันต์ บูคะธรรม รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายสิทธิ์ณรงค์ แสนศรี รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายณเคนทร์ คานันดา รางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวจันจิรา อดกลั้น รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวสุดารัตน์ กรอบเพ็ชรรางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายในประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวขนิษฐา คนไว รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวทิพวรรณ ทองพั้ว รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวนริสา ทองจันดี รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวพิไลพร วงสาระโพรางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นางสาวอภิญญา ถนอมชาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗คนการแข่งขันกีฬาภายในประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๑๗
  • 15. -นางสาวรจนา นามดี รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลหญิง ๗ คนการแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายชาญวิทย์ ไชยชาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายกิตติทัศน์ กุก่อง รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายกิติศักดิ์ ใจตรง รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายวีระพันธ์ แดงบุตร รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายวิโรจน์ อุทพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายนิรุต อุทพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายสุขี วังญาติ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายอุทัย วสาระพันธ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายณเคนทร์ คานันทา รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายธนัชชัย ยัญญะจันทร์ รางวัลชนะเลิศกีฬาฟุตบอลชาย ๗ คน การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายทนัย ผิวเหลือง รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายไชยรัตน์ ซาเสน รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายสุพี ใจทัศน์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายธนัตถ์ ราชวงศ์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายอภิสิทธิ์ โพธิ์ไทร รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายยุทธนา บุญศรี รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายปวรุตม์ เมืองจันทร์ รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายจักริน ปะมา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายทวีชัย ห้วยทราย รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายณัฐพงษ์ ประสบคา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ -นายพัฒนพงษ์ พรหมเสนา รางวัลชนะเลิศกีฬาวอลเลย์บอลชาย การแข่งขันกีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ ๑๘
  • 16. ๒.ระดับจังหวัด -นายวิโรจน์ อุทธพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะเทคนิคยานยนต์ ระดับ ปวส. -นายนิรุท อุทธพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะเทคนิคยานยนต์ ระดับ ปวส. -นางสาวขนิษฐา คนไว รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะพิมพ์อังกฤาด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. -นายนนทวัช ซัง รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการสร้าง Web Page ระดับ ปวช -นายธนากร บุทธิจักร รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการสร้าง Web Page ระดับ ปวช -นายธีรภัทร นารีรักษ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะงานฝีมือ ระดับ ปวช -นายเกรียงไกร พรหมเสนา รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะงานฝึกฝีมืองาน ระดับ ปวช -นางสาววิจิตรา ผุเพชร รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะตอบปัญหาวิชาการ วิชาประวัติศาสตร์ -นางสาวสุดารัตน์ สีสับ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะตอบปัญหาวิชาการ วิชาประวัติศาสตร์ -นายเอกสิทธิ์ พรหมเสนา รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีน -นางสาวดวงใจ วิสาระพันธ์ รองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันทักษะการประกวดรักการอ่าน -นายชัชวาล เพชรรัตน์ รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะเครื่องยนต์เล็กและจักรยานยนต์ ระดับ ปวช. -นายประกาศิต มณีภาค รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะเครื่องยนต์เล็กและจักรยานยนต์ ระดับ ปวช.
  • 17. ๑.๗ ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ความสาเร็จตามเป้าหมายของการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ ดังนี้ ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ ๑.๗.๑ ผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา ๑. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป ในแต่ละระดับชั้น อย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๒. สถานประกอบการหน่วยงานชุมชน มีความพึงพอใจต่อ คุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดี ๓. ผู้เรียนสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแลกเข้า อย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๔. ผู้เรียนสาเร็จการศึกษาที่ได้ทางาน หรือประกอบอาชีพ อิสระ หรือศึกษาต่อภายใน ๑ ปีมากกว่าร้อยละ ๗๕ ๑.๗.๒ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษา ๑. สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะบูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียงมากกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบ สมรรถนะบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่าร้อยละ ๘๐ ๓. คุณภาพในการฝึกงานอยู่ในระดับดี ๑.๗.๓ การบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๑.สถานศึกษาดาเนินการให้มีการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัยอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๒. สถานศึกษามีการประชุมผู้ปกครอง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการจัดการอาชีวศึกษา ครู และบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๓. สถานศึกษามีการวิเคราะห์จัดทาแผนงาน โครงการ บริหารความเสี่ยงที่สาคัญอย่างน้อย ๕ ด้าน ได้แก่ ด้าน ความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด ด้านสังคม ด้านการพนันและมั่วสุม ๔. สถานศึกษามีการแต่งตั้งครูที่ปรึกษาและจัดให้ผู้เรียนพบ ครูที่ปรึกษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง ๕. สถานศึกษาดาเนินการให้ครูและบุคลากรทางการศึก ษาในสถานศึกษาได้รับการฝึกอบรมด้านวิชาการ ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ วิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ และได้รับการพัฒนา คุณภาพชีวิตที่เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ๖. สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อ สาหรับการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของงบประมาณ ๗. สถานศึกษามีรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อ สาหรับการบริการวิชาการและวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อย ๑๙
  • 18. ละ ๑ ของงบประมาณ ๘. สถานศึกษามีรายจ่ายในการส่งเสริม สนับสนุนและผู้ เรียนจัดทาและดาเนินการจัดประกวด จัดแสดง โครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัย รวมถึงรายจ่ายในการดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม ด้านการปลูกจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ของ งบดาเนินการ ๙. สถานศึกษามีจานวนสถานประกอบการทั้งในและ ต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษากับ สถานศึกษา ไม่น้อยกว่า ๒๐ แห่ง ๑.๗.๕ การบริการวิชาการและวิชาชีพ ๑.คุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและ วิชาชีพอยู่ในระดับดี ๒. สถานศึกษามีการดาเนินการให้นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา เข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๓. สถานศึกษาดาเนินการให้ทุกสาขางานดาเนินงานไม่ น้อยกว่า ๒ โครงการกิจกรรมต่อปี ๔. สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับ บริการและมีผลการประเมินเฉลี่ย ๓.๕๑ ขึ้นไป ๑.๗.๕ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ๑.สถานศึกษาดาเนินการให้ผู้เรียนระดับชั้น ปวช.๓ และระดับชั้น ปวส.๒ จัดทาโครงการสิ่งประดิษฐ์หรือ งานวิจัย โดยมีจานวนผลงานทั้งหมด ตามเกณฑ์เฉลี่ย ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ ระดับชั้น ปวช.๓ จานวน ๓ คน ต่อ ๑ ชิ้น และระดับ ปวส. ๒ จานวน ๒ คน ต่อ ๑ ชิ้น ๒. สถานศึกษาดาเนินให้ครูทุกคน จัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่า ๑ ชิ้นต่อปีการศึกษา ๑.๗.๖ การปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ๑.สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง จิตสานึกด้านการรักชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมไม่น้อยกว่า ๕ โครงการกิจกรรม ๒. สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬา และนันทนาการไม่น้อยกว่า ๕ โครงการกิจกรรม ๓. สถานศึกษามีจานวนโครงการ กิจกรรม การปลูกฝัง จิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า ๕ โครงการกิจกรรม
  • 19. ๑.๗.๗ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑.สถานศึกษามีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาและจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามาตรฐานการศึกษาโดยมีส่วน ร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ๒. สถานศึกษาได้ดาเนินงานตามแผนพัฒนาด้านการจัด การศึกษาของสถานศึกษา และจัดให้มีการตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา และจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน ตามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๓. สถานศึกษามีสรุปผลการประเมินการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับคุณภาพดี ๒๓ ตัวบ่งชี้ ๑.๗.๘ การจัดการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอน ตาล ไม่ได้มีการจัดอบรมวิชาชีพระยะสั้น ตาม เกณฑ์ชั่วโมงที่กาหนด
  • 20. ๑.๘ ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ความสาเร็จตามเป้าหมายของแผนบริหารความเสี่ยง ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาให้ ความเห็นชอบมีดังนี้ ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ ๑.๘.๑ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของผู้เรียน ครูและ บุคลากรภายในสถานศึกษา ๑. มีมาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียน ครูและ บุคลากรภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ๒. มีการปรับปรุง อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยติดตั้งตามอาคาร ต่างๆ ๑.๘.๒ ความเสี่ยงด้านการทะเลาะวิวาท ๑. ปฐมนิเทศนกศึกษา ชี้แจงบทลงโทษในกรณีเกิดการ ทะเลาะวิวาทให้นักศึกษาทราบ ๒. มีการจัดระบบครูที่ปรึกษาและติดตามนักเรียนได้ ตลอดเวลา ๓. มีการจัดประชุมผู้ปกครองเครือข่าย ๑.๘.๓ ความเสี่ยงด้านยาเสพติด ๑. ดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ นักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๒. ตรวจสารเสพติดอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๓. ร้อยละของผู้ที่ได้รับบริการการตรวจสารเสพติดจาก จานวนผู้เรียนทั้งหมดมากกว่าร้อยละ ๗๕ ๑.๘.๔ ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร ๑. จานวนของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมและประเพณีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของผู้เรียน ทั้งหมด ๒. มีการตรวจหอพักนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๑.๘.๕ ความเสี่ยงด้านการพนันและการมั่วสุม ๑. มีการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา กับตารวจในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการพนันและมั่วสุม ๒. มีการตรวจหอพักนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๓. มีการจัดกิจกรรมสร้างจิตสานึก ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการพนัน ๒๒
  • 21. ตอนที่ ๒ การดาเนินงานของสถานศึกษา ๒.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา ปรัชญา ( Philosophy ) “ พัฒนาคน พัฒนางาน สร้างสรรค์สังคม” ปรัชญานี้มีความหมายว่า สถานศึกษาได้ตั้งเป้าหมายหลัก คือ การผลิตนักเรียนนักศึกษาให้มี ความรู้ความสามารถในด้านช่างฝีมือและช่างเทคนิค สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีจิตสานึกที่เปี่ยมไปด้วย คุณธรรมจริยธรรม นาความรู้ไปพัฒนาตนเองและสังคมให้เจริญก้าวหน้าต่อไป วิสัยทัศน์ (vision) “มุ่งสู่การเป็นสถาบันอาชีวศึกษา ที่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาชีพ และนาไปสู่ความเป็นสากล” พันธกิจ ๑.จัดการอาชีวศึกษาและส่งเสริมการฝึกอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน ๒. จัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และสังคม ในภูมิภาค และอินโดจีน ๓. พัฒนาศักยภาพของครู และบุคลากรทางการศึกษา ๔. พัฒนาเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ๕. พัฒนาการบริหารจัดการการอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพสู่ความทันสมัย ๖. ให้บริการชุมชน สังคมด้านการอาชีวศึกษา อัตลักษณ์ “ผู้สาเร็จการศึกษา เป็นคนดี มีฝีมือ” เป้าหมายของสถานศึกษา ๑. ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพในระดับช่างฝีมือ ช่างเทคนิค ให้ได้คุณภาพและ มาตรฐานสากล ๒. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเกณฑ์การประกันคุณภาพและ การ กากับมาตรฐานการอาชีวศึกษา ๓. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ๔. เป็นสถาบันการแลกเปลี่ยนและพัฒนาการอาชีวศึกษาในกลุ่มประเทศอินโดจีน
  • 22. ๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้ได้การดาเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพ การ จัดการศึกษา จึงกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ดังนี้ ด้าน เป้าหมายความสาเร็จ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ๒.๒.๑ ผู้เรียนแลผู้สาเร็จการศึกษา เพิ่มปริมาณผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา พัฒนาผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา ๒.๒.๒ หลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนอาชีวศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนตอบสนองความ ต้องการของสถานประกอบการ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนอาชีวศึกษา ๒.๒.๓ การบริหารจัดการสถานศึกษา อาชีวศึกษา การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วมของบุคลากร ในสถานศึกษา พัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษา อาชีวศึกษา ๒.๒.๔ การบริการทางวิชาการและ วิชาชีพ การบริการวิชาการและวิชาชีพให้กับชุมชน และสถานประกอบการ พัฒนาการบริการทางวิชาการและ วิชาชีพ ๒.๒.๕ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์หรืองานวิจัย ครูและนักเรียนนักศึกษาจัดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ หรืองานวิจัยตามสาขางาน พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์หรืองานวิจัย ๒.๒.๖ การปลูกฝังจิตสานึกและ เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก นักศึกษามีจิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทย และพลโลกในด้านการรักชาติ ส่งเสริมการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทานุบารุง ศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาการปลูกฝังจิตสานึกและ เสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ๒.๒.๗ การประกันคุณภาพการศึกษา การนาระบบสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วยใน การประกันคุณภาพ พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา ๑๖
  • 23. ๒.๓ มาตรฐานการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง จึง กาหนดมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง ดังนี้ ด้าน มาตรการป้องกันและควบคุม เป้าหมายความสาเร็จ ๒.๓.๑ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ของผู้เรียน ครูและบุคลากรภายใน สถานศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย เช่น กิจกรรม ๕ ส. โครงการขับขี่ปลอดภัย รณรงค์การรักษาความปลอดภัยในโรงงาน ครู บุคลากรและนักเรียนนักศึกษา ภายในสถานศึกษามีความปลอดภัย มากขึ้น ๒.๓.๒ความเสี่ยงด้านการทะเลาะ วิวาท กิจกรรมส่งเสริมความสามัคคี เช่น การ แข่งขันกีฬา ลดอัตราการทะเลาะวิวาท ๒.๓.๓ ความเสี่ยงด้านสิ่งเสพติด การตรวจสุขภาพประจาปี ลดปริมาณผู้ที่เสี่ยงด้านสิ่งเสพติด ๒.๓.๔ ความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ลดอัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอัน ควร ๒.๓.๕ ความเสี่ยงด้านการพนันและ การมั่วสุม กิจกรรมลดความเสี่ยงด้านการพนันและการ มั่วสุม เช่น จัดครูดูแลความเรียบร้อยนักเรียน นักศึกษาระหว่างเดินทางมาเรียนและเดินทาง กลับบ้าน ลดความเสี่ยงด้านการพนันและการ มั่วสุม
  • 24. ๒.๔ การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ข้อเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ๒.๔.๑ การประเมินคุณภาพภายนอก ๑.ส่งเสริม สนับสนุน ทั้งทางด้านงบประมาณ และแนวทางเสริมให้ผู้เรียนในกลุ่มรายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์ เกิดการพัฒนาความรู้และทักษะ เช่นการปรับปรุงรูปแบบในกระบวนการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 1.มีการจัดงบประมาณในการจ้างครูต่างประเทศ มาสอนภาษาให้กับผู้เรียน 2.การปรับวิธีการจัดการการเรียน การสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีให้ผู้เรียนจัดทาโครงการ งานวิทยาศาสตร์ ๒.๔.๒ การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ๑.จัดทาโครงการลดการ Drop Out ของผู้เรียน ๒ .สนับสนุนให้ครูผู้สอนแต่ละสาขาวิชาจัดทา แผนการเรียนรู้ให้ครบ ๑๐๐% ๓.ควรมีโครงการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อ ครูที่ปรึกษาและผู้ปกครองได้ร่วมมือกันแกปัญหา การออกกลางคัน ๔.จัดหางบประมาณทั้งจากภายในและภายนอก มาสนับสนุนการจัดทานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ อย่างต่อเนื่อง ๑.มีการจัดทาโครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา ๒.มีการจัดทาทะเบียนประวัตินักเรียนนักศึกษา เพื่อติต่อประสานงานกับผู้ปกครอง ๒.๔.๓ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๑.ผู้สาเร็จการศึกษามีผลการเรียนเฉลี่ยด้าน พื้นฐานวิชาชีพที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ใน กลุ่มรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์ ๑ .มีการจัดโครงการอบรมภาษาต่างประเทศให้กับ นักเรียน นักศึกษา ๒.มีการจัดให้มีครูต่างประเทศมาสอนภาษาให้กับ นักเรียนนักศึกษา
  • 25. ตอนที่ ๓ การดาเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป การสร้างความตระหนัก สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบ สมรรถนะในทุกสาขาวิชาชีพตามหลักสูตรที่เปิดสอน และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยสะสม มาตรฐานที่กาหนด และเกณฑ์การผ่านในแต่ละระดับชั้น สถานศึกษาจัดการเรียนสอนร่วมกับสถานประกอบการมีการประเมินผล ตามสภาพจริง จัดโครงการสอนซ่อมเสริมให้ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า โดยครูผู้สอนจัดแผนการ เรียนรู้โดยเน้นให้ผู้เรียนมี ความรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติอย่างจริงจัง และผู้สาเร็จการศึกษาต้องมีผลการเรียนตาม เกณฑ์การสาเร็จการศึกษา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียนแต่ละหลักสูตร ตามประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน การดาเนินการ สถานศึกษามีความพยายามในการจัดการเรียนการสอน จนทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม เกณฑ์ที่กาหนด และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป มีการจัดทากิจกรรม/โครงการตาม แผนงานที่วางไว้ ดังนี้กิจกรรมโครงการเตรียมความพร้อมก่อนสอบ V-Net กิจกรรมโครงการทุนการศึกษา กิจกรรมโครงการกองทุนให้ยืมเพื่อการศึกษา
  • 26. ผลการดาเนินการ ตารางที่ ๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป ระดับ ปวช.๑ เฉลี่ย สะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป เทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ยกเว้นผู้เรียนที่ออก กลางคัน สาขาวิชา/สาขางาน จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ลงทะเบีย นเรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ออก กลางคัน จานวน ผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้น ไป ร้อยละ ผู้เรียนที่ มี ผลสัมฤ ทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้นไป หมายเหตุ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปวช. ๑ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๖ งวดที่ ๓) ณ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๖ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม เครื่องกล/ยานยนต์(นร.เข้าปี ๕๖) ๑๕ ๑๐ ๕ ๕ ๑๐๐ ประเภทวิชาพณิชยกรรม พาณิชยการ/การบัญชี(นร.เข้าปี ๕๖) ๑๔ ๑๒ ๒ ๖ ๖๐.๐๐ พาณิชยการ/คอมพิวเตอร์ธุรกิจ (นร.เข้าปี ๕๖) - - - - -
  • 27. สาขาวิชา/สาขางาน จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ลงทะเบียน เรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ออก กลางคัน จานวน ผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้น ไป ร้อยละ ผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้น ไป หมาย เหตุ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา เกษตรกรรม เกษตรศาสตร์/เกษตร ทั่วไป(นร.เข้าปี ๕๖) ๘ ๙ ๔ ๓ ๖๐.๐๐ รวม ปวช.๑ ๓๗ ๓๑ ๑๑ ๑๔ ๗๐.๐๐ ปวช. ๒ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๕ งวดที่ ๓) ณ ๔ มกราคม ๒๕๕๖ ประเภทวิชาช่าง อุตสาหกรรม เครื่องกล/ยานยนต์ (นร.เข้าปี๕๕) ๑๘ ๑๒ ๑ ๑๐ ๙๑.๐๐ ประเภทวิชาพณิชยก รรม พาณิชยการ/การ บัญชี (นร.เข้าปี๕๕) - - - - - ประเภทวิชาพณิชยก รรม พาณิชยการ/ คอมพิวเตอร์ (นร.เข้าปี๕๕) ๕ ๕ ๑ ๔ ๑๐๐ ประเภทวิชา เกษตรกรรม (นร.เข้าปี๕๕) เกษตรศาสตร์/เกษตร ทั่วไป ๓ ๔ - ๒ ๕๐ รวม ปวช.๒ ๒๖ ๒๑ ๑ ๑๗ ๘๔.๒๑
  • 28. ปวช. ๓ (ข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๕ งวดที่ ๓) ณ ๔ มกราคม ๒๕๕๖ ประเภทวิชาช่าง อุตสาหกรรม เครื่องกล/ยานยนต์ (นร.เข้าปี ๕๔)_ ๘ ๖ - ๕ ๘๓.๓๓ ประเภทวิชาพณิชยก รรม พาณิชยการ/การ บัญชี ๔ ๔ ๑ ๓ ๑๐๐ ประเภทวิชาพณิชยก รรม พาณิชยการ/ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๕ ๕ - ๕ ๑๐๐ ประเภทวิชา เกษตรกรรม เกษตรศาสตร์/เกษตร ทั่วไป ๑๕ ๑๒ - ๑๑ ๙๑.๖๖ รวม ปวช.๓ ๓๒ ๒๗ ๑ ๒๔ ๙๒.๓๐ รวม ปวช. ๙๕ ๗๙ ๑๔ ๕๔ ๘๓.๐๗
  • 29. สาขาวิชา/สาขางาน จานวน ผู้เรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ลงทะเบียน เรียน ทั้งหมด จานวน ผู้เรียนที่ ออก กลางคัน จานวน ผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้น ไป ร้อยละ ผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ๒.๐๐ ขึ้น ไป หมาย เหตุ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาช่าง อุตสาหกรรม สาขางานเทคนิคยาน ยนต์ (ปวส ๑) นร. เข้าปี ๕๖ ๒๐ ๑๙ ๕ ๑๒ ๘๕.๗๑ ปวส ๒ นร.เข้าปี ๕๕ - - - - - รวม ๒๐ ๑๙ ๕ ๑๒ ๘๕.๗๑ ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ปวส.๑ นร.เข้า ๕๖ ๘ ๕ - ๓ ๖๐ ปวส. ๒ นร.เข้า ๕๕ ๕ ๕ - ๕ ๑๐๐ รวม ๑๓ ๑๐ - ๘ ๘๐ ประเภทวิชา เกษตรศาสตร์ สาชาพืชศาสตร์ ปวส.๑ นร.เข้าปี ๕๖ ๗ ๖ - ๖ ๑๐๐ ปวส.๒ นร.เข้าปี ๕๕ ๖ ๘ - ๘ ๑๐๐ รวม ปวส. ๑๓ ๑๔ - ๑๔ ๑๐๐ รวมปวส. ๔๖ ๔๓ ๕ ๓๔ ๘๙.๔๗ ผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป เทียบกับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด คิดเป็น ร้อยละ………๘๙.๔๗…… มีค่าคะแนนเท่ากับ......๕........... มีคุณภาพอยู่ในระดับ.....ดีมาก..
  • 30. มาตรฐานที่ ๑ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของ ผู้เรียน การสร้างความตระหนัก วิทยาลัยฯ ได้ตระหนักถึงความร่วมมือกับเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการเยี่ยมเยือน ลง นามความร่วมมือกับสถานประกอบการด้านการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีอยู่เสมอ และมีการประเมิน ความพึงพอใจของสถานประกอบการ การดาเนินการ วิทยาลัยฯ ได้ส่งนักศึกษาเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการจริง มีการติดตามนิเทศ ระหว่างฝึกงาน ร่วมกับครู ฝึกในสถานประกอบการ หลักฝึก ได้มีการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของนักศึกษาโดยการสร้างแบบ ประเมินมาตรส่วนประมาณค่า และให้สถานประกอบการประเมินทุกครั้งหลังจากการฝึก โดยมีกิจกรรม โครงการที่แสดงถึงความพยายาม คือกิจกรรมโครงการส่งหนังสือขอบคุณและแบบประเมินความพึงพอใจ นักศึกษาฝึกงานให้สถานประกอบการ ประเด็นการพิจารณา ดำเนินการ ไม่ดำเนินการ ๑. สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจโดยกาหนดกลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง นา ข้อมูลมาวิเคราะห์  ๒. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๕๐-๕๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม  ๓. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๖๐-๖๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม  ๔. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๗๐-๗๙.๙๙ เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม  ๕. สถานศึกษามีผลการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ย ๓.๕๑-๕.๐๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ขึ้นไป เมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้รับจากกลุ่ม ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากภาพรวม   ผลสัมฤทธิ์ ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน เฉลี่ยโดยรวม มีค่าคะแนนเท่ากับ.......๔............ มีคุณภาพอยู่ในระดับ..........ดี.............