SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1 (               ผลการเรีย นที่ค าด
            ฟิสิกส์)            ใบความรู้ หวัง ที่ 2
 รหัส วิช า ว 34101                 2       ใช้ป ระกอบแผน
 ชั้น ม.4                                   จัด การเรีย นรู้ท ี่ 2
              หัว ข้อ เรื่อ ง   การทดลองในวิชาฟิสิกส์

 การทดลองในวิช าฟิส ิก ส์
       สิ่งที่สำาคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกข้อมูลตาม
 ความเป็นจริง การบันทึกข้อมูลนั้นมีได้ 2 ลักษณะ คือ การบันทึก
 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( บอกถึงลักษณะ และคุณสมบัติต่างๆที่สังเกตได้
 จาการทดลอง ) และการบันทึกข้อมูลเชิงปริมาณ ( บอกถึง จำานวน
 มากน้อยในลักษณะเป็นตัวเลข )
       ในการที่นี้จะกล่าวถึงการบันทึกตัวเลขที่ได้จากเครื่องมือต่างๆ
 ในการทดลอง ดังนี้

 1. เลขนัย สำา คัญ
       คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เครื่องมือที่เป็นสเกล โดย
 เลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมายส่วนความสำาคัญของตัวเลขจะไม่
 เท่ากัน ดังนั้นเลขทุกตัวจึงมี นัยสำาคัญ ตามความเหมาะสม
       เช่น วัดความยาวของไม้ท่อนหนึ่งได้ยาว 121.54
 เซนติเมตร เลข 121.5 เป็นตัวเลขที่วัดได้จริง ส่วน 0.04 เป็น
 ตัวเลขที่ประมาณขึ้นมา เราเรียกตัวเลข 121.54 นี้ว่า เลขนัย
 สำาคัญ และมีจำานวนเลขนัยสำาคัญ 5 ตัว

   หลัก การพิจ ารณาจำา นวนเลขนัย สำา คัญ
       1. เลขทุกตัว ถือเป็นเลขที่มีนัยสำาคัญ
             ยกเว้น     1. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่ตอท้ายเลขจำานวนเต็ม
                                                ่
       เช่น 120 ( มีเลขนัยสำาคัญ 2 ตัว ) , 200 ( มีเลขนัยสำาคัญ
       1 ตัว )
                  2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีหน้าตัวเลข เช่น 0.02 ( มี
                                        ่
       เลขนัยสำาคัญ 1 ตัว )
       2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีอยู่ระหว่างตัวเลขถือเป็นเลขนัยสำาคัญ
                            ่
 เช่น 1.02 ( 3 ตัว ) , 10006 ( 5 ตัว )
       3. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีอยู่ท้ายแต่อยู่ในรูปเลขทศนิยม ถือว่าเป็น
                              ่
 เลขนัยสำาคัญ เช่น 1.200 ( 4 ตัว )
4. เลข 10 ทีอยู่ในรูปยกกำาลัง ไม่เป็นเลขนัยสำาคัญ เช่น
                ่
1.20 x10 ( 3 ตัว )
         5



   การบัน ทึก ตัว เลขจากการคำา นวณ
     1. การบวกลบเลขนัย สำา คัญ โดยบวกลบเลขนัยสำาคัญ
ก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์ ให้มีจำานวน      ทศนิยมเท่ากับจำานวนที่
ทศนิยมน้อยที่สุด เช่น 12.03 + 152.246 + 2.7 = 166.976
ผลลัพ ธ์ คือ 167.0
     2. การคูณ หารเลขนัย สำา คัญ โดยคูณหารเลขนัยสำาคัญ
ก่อน แล้วพิจารณา ผลลัพธ์ให้มี จำานวนเลขนัยสำาคัญ เท่ากับ
ตัวเลขที่นัยสำาคัญน้อยที่สุดที่คูณหารกัน เช่น 54.62 x2.5 =
136.550 = 1.36x102 ผลลัพ ธ์ คือ 1.4 x 102

2. ความไม่แ น่น อนในการวัด
      ในการวัดปริมาณต่างๆ ด้วยเครื่องย่อมมี ความผิด พลาด (
error ) หรือ ความคลาดเคลื่อ น อยู่เสมอ เช่นวัดความหนาของ
ท่อนไม้ ได้ 2.5 เซนติเมตรกว่า ๆ แต่ไม่ถึง 2.6 เซนติเมตร ดังนั้น
จึงควรบันทึก 2.54 หรือ 2.55 หรือ 2.56 โดยตัวสุดท้าย ( 4 ,
5 , 6 ) เป็นการคาดคะเน การบันทึกเราควรบันทึกให้มีความคลาด
เคลื่อนน้อยที่สุด เราควรบันทึกดังนี้ 2.55 ± 0.01 โดย 2.55 คือ
ปริมาณที่วัดได้ ( A ) และ  0.01 คือ ค่าความคลาดเคลื่อน หรือ
ความไม่แน่นอนของการวัด (± ∆A )
      สรุปได้ว่า การบันทึกตัวเลขที่ได้จากการวัด ย่อมมีความผิด
พลาด จึงควรแสดงผลการวัดเป็น ( A ± ∆A )
  การบัน ทึก ผลการคำา นวณตัว เลขที่ม ีค วามไม่แ น่น อนใน
การวัด
      1. การบวก หรือ ลบกัน ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ต้อง
คิดจากปริมาณความคลาดเคลื่อนจริง มาบวกกันเสมอ เช่น
       1.1 ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B )         = ( A + B ) ± ( ∆A +
∆B )
       1.2 ( A ± ∆A ) - (2B ± 2 ∆B ) = ( A - 2B ) ±( ∆A
+ 2 ∆B )
2. การคูณ หรือ หารกัน หาเปอร์เซนต์ ( % ) ความคลาด
เคลื่อนของผลลัพธ์จากการคูณหรือหาร โดยนำาเปอร์เซนต์ ( % )
ของความคลาดเคลื่อนของแต่ละปริมาณมาบวกกัน เช่น
      หาเปอร์เซนต์ของความคลาดเคลื่อนพิจารณาดังนี้
        1. ( A ± ∆A ) หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด
            ∆A
เคลื่อน =   A    x 100 %
       2. ( B ± ∆B )               หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด
            ∆B
เคลื่อน =    B   x 100 %
       3. ( C ± ∆C )               หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด
                  ∆C
     เคลื่อน =    C    x 100 %
                                                                       ∆A
     2.1 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = ( A • B ) ± (                       A         x 100
            ∆B
     %+      B   x 100 % )
                                                                            ∆A
     2.2 ( A ± ∆A )              / ( B ± ∆B ) = ( A / B ) ± (               A     x
                       ∆B
        100 % +         B        x 100 % )
                                                                                  ∆A
     2.3 ( A ± ∆A ) • ( B2 ± 2B∆B ) = ( A • B2 ) ± (                              A    x
                            ∆B
        100 % + 2            B    x 100 % )
                                                          1   ∆C
     2.4 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) / (              C
                                                      ±   2   C        )= (A•B
                  ∆A                       ∆B                      1    ∆C
     / )±(
        C
                  A    x 100 % +            B   x 100 % +          2    C        x 100
     %)

ตัว อย่า ง เชือกสองเส้นยาว 16.32 ± 0.02 เซนติเมตร และ ยาว
20.68 ± 0.01 เซนติเมตร อยากทราบว่า ถ้านำามาวางต่อกันจะ
ยาวเท่าใด และ เชือกสองเส้นนี้มีความยาวต่างกันเท่าใด
วิธ ีท ำา          วางต่อกันจะยาว
              จาก ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B )       =   (A+B)
         ± ( ∆A + ∆B )
                    ( 16.32 ± 0.02 ) +( 20.68 ± 0.01 ) =
              ( 16.32 + 20.68 ) ± ( 0.02 + 0.01 )
=   37.00 ± 0.03
เซนติเมตร
          เชือกสองเส้นนี้มีความยาวต่างกัน
          จาก ( B ± ∆B ) - ( A ± ∆A )        =   (A-B)
     ± ( ∆A + ∆B )
                ( 20.68 ± 0.01 ) - ( 16.32 ± 0.02 ) =
          (20.68 - 16.32 ) ± ( 0.02 + 0.01 )
                                     = 4.36 ± 0.03
เซนติเมตร

ตัว อย่า ง แผ่นพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีด้านกว้าง 36.20 ±
0.05 เซนติเมตร และมีด้านยาว 96.45± 0.05 เซนติเมตร แผ่น
พลาสติกนี้จะมีพื้นที่เป็นเท่าไร
วิธ ีท ำา          แผ่นพลาสติกนี้จะมีพื้นที่เป็น
                                                 ∆A
         ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = ( A • B ) ± ( A x 100 % +
 ∆B
  B   x 100 % )
      ( 36.20 ± 0.05 ) • ( 96.45± 0.05 ) = ( 36.20 • 96.45
             0.05              0.05
      ) ±(   36.20x 100 % +    96.45x 100 % )
                            = 3491.49 ± ( 0.19 % )
             พื้นที่แผ่นพลาสติก = 3.49.49 ± 6.63 cm2




กราฟในวิช าฟิส ิก ส์
    กราฟที่มักพบในวิชาฟิสิกส์ส่วนใหญ่ได้แก่ กราฟเส้นตรง
และกราฟเส้นโค้ง ( กราฟพาราโบลา , กราฟไฮเปอร์โบลา )
    กราฟเส้น ตรง เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของค่า
ในแกน X และ แกน Y คือ X และ Y มีกำาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น

                                  ( X2 ,
                                  Y2 )

      θ                  ( X1 ,
                         Y )
ความสัมพันธ์ของแกน X และ Y จะมีความหมายในการแปล
ข้อมูล โดยส่วนที่สำาคัญของกราฟอย่างหนึ่ง คือ ความชัน และพื้นที่
ใต้กราฟ
      จากสมการ กราฟเส้นตรง          y = mx + c
          เมื่อ            m คือ ความชัน ( m = tanθ , m
    y2- y
        1
=   x -x
     2 1
            )
                            c เป็นค่าคงตัว ตัดที่แกน y

ตัว อย่า ง วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ โดยมีความสัมพันธ์
ระว่างความเร็วและเวลา ดังนี้
v = 2t + 6 ความสัมพันธ์นี้ เมื่อนำาไปเขียนกราฟจะได้กราฟ
ลักษณะใด ขณะเริ่มสังเกตนัตถุนี้มีความเร็วหรือไม่ อย่างไร และ
ความเร่งของวัตถุนี้มีค่าเท่าไร
 วิธ ีท ำา   จากสมการความสัมพันธ์ v = 2t + 6 จะได้ว่า v
และ t จะยกกำาลังหนึ่ง จึงเป็นกราฟเส้นตรง
        และมีสมการ รูปเดียวกับกราฟเส้นตรง คือ y = mx + c จะ
ได้กราฟเส้นตรงลักษณะดังนี้
v
                        ขณะเริ่มสังเกต คือ เวลา 0 วินาที วัตถุมี
ความเร็ว = 6 เมตร/วินาที
                        ความเร่งคือการเปลี่ยนแปลงความเร็วใน
   (0,
หนึ่งหน่วยเวลา
   6)                 t พิจารณาจากกราฟเป็นกราฟเส้นตรงความ
ชันคงที่แสดงว่ามีการ
                 เปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างสมำ่าเสมอ ดังนั้น
                 ความเร่ง = 2 เมตร/(วินาที)2
กราฟพาราโบลา เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ของ
ปริมาณหนึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอีกปริมาณหนึ่งยกกำาลังสอง
เช่น                                    y=
     สมการกราฟพาราโบลา y = mx2          mx2
     สมการในวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง
              1
     1. Ek = 2 mv2
                   1
     2. S = ut +   2   at2

      กราฟไฮเปอร์โ บลา เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ในลัก
      ษระที่ปริมาณหนึ่งแปรผกผันกับ
อีกค่าหนึ่ง โดยปริมาณทั้งสองมีกำาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น
                                                        k
      สมการกราฟไฮเปอร์โบลา xy = k หรือ y = x
      สมการในวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง
      F = ma ถ้าพิจารณา ที่ F และ a โดย m คงที่ จะได้
      กราฟ เส้นตรง
      ถ้า พิจารณา m และ a โดย F คงที่ จะได้
                                                          1
                                                      a α m
      และได้กราฟในลักษระเป็นกราฟไฮเปอรโบลา

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์kaoijai
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

Similar to ใบความรู้ที่ 02

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการORAWAN SAKULDEE
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรตANNRockART
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1Wanutchai Janplung
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 

Similar to ใบความรู้ที่ 02 (20)

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
Number
NumberNumber
Number
 
Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
การอินทีเกรต
การอินทีเกรตการอินทีเกรต
การอินทีเกรต
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1Pre  7 วิชา ครั้งที่ 1
Pre 7 วิชา ครั้งที่ 1
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 

More from witthawat silad

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10witthawat silad
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09witthawat silad
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08witthawat silad
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07witthawat silad
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06witthawat silad
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05witthawat silad
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04witthawat silad
 
ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03witthawat silad
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 

More from witthawat silad (17)

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04
 
ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 

ใบความรู้ที่ 02

  • 1. รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1 ( ผลการเรีย นที่ค าด ฟิสิกส์) ใบความรู้ หวัง ที่ 2 รหัส วิช า ว 34101 2 ใช้ป ระกอบแผน ชั้น ม.4 จัด การเรีย นรู้ท ี่ 2 หัว ข้อ เรื่อ ง การทดลองในวิชาฟิสิกส์ การทดลองในวิช าฟิส ิก ส์ สิ่งที่สำาคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกข้อมูลตาม ความเป็นจริง การบันทึกข้อมูลนั้นมีได้ 2 ลักษณะ คือ การบันทึก ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( บอกถึงลักษณะ และคุณสมบัติต่างๆที่สังเกตได้ จาการทดลอง ) และการบันทึกข้อมูลเชิงปริมาณ ( บอกถึง จำานวน มากน้อยในลักษณะเป็นตัวเลข ) ในการที่นี้จะกล่าวถึงการบันทึกตัวเลขที่ได้จากเครื่องมือต่างๆ ในการทดลอง ดังนี้ 1. เลขนัย สำา คัญ คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เครื่องมือที่เป็นสเกล โดย เลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมายส่วนความสำาคัญของตัวเลขจะไม่ เท่ากัน ดังนั้นเลขทุกตัวจึงมี นัยสำาคัญ ตามความเหมาะสม เช่น วัดความยาวของไม้ท่อนหนึ่งได้ยาว 121.54 เซนติเมตร เลข 121.5 เป็นตัวเลขที่วัดได้จริง ส่วน 0.04 เป็น ตัวเลขที่ประมาณขึ้นมา เราเรียกตัวเลข 121.54 นี้ว่า เลขนัย สำาคัญ และมีจำานวนเลขนัยสำาคัญ 5 ตัว หลัก การพิจ ารณาจำา นวนเลขนัย สำา คัญ 1. เลขทุกตัว ถือเป็นเลขที่มีนัยสำาคัญ ยกเว้น 1. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่ตอท้ายเลขจำานวนเต็ม ่ เช่น 120 ( มีเลขนัยสำาคัญ 2 ตัว ) , 200 ( มีเลขนัยสำาคัญ 1 ตัว ) 2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีหน้าตัวเลข เช่น 0.02 ( มี ่ เลขนัยสำาคัญ 1 ตัว ) 2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีอยู่ระหว่างตัวเลขถือเป็นเลขนัยสำาคัญ ่ เช่น 1.02 ( 3 ตัว ) , 10006 ( 5 ตัว ) 3. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีอยู่ท้ายแต่อยู่ในรูปเลขทศนิยม ถือว่าเป็น ่ เลขนัยสำาคัญ เช่น 1.200 ( 4 ตัว )
  • 2. 4. เลข 10 ทีอยู่ในรูปยกกำาลัง ไม่เป็นเลขนัยสำาคัญ เช่น ่ 1.20 x10 ( 3 ตัว ) 5 การบัน ทึก ตัว เลขจากการคำา นวณ 1. การบวกลบเลขนัย สำา คัญ โดยบวกลบเลขนัยสำาคัญ ก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์ ให้มีจำานวน ทศนิยมเท่ากับจำานวนที่ ทศนิยมน้อยที่สุด เช่น 12.03 + 152.246 + 2.7 = 166.976 ผลลัพ ธ์ คือ 167.0 2. การคูณ หารเลขนัย สำา คัญ โดยคูณหารเลขนัยสำาคัญ ก่อน แล้วพิจารณา ผลลัพธ์ให้มี จำานวนเลขนัยสำาคัญ เท่ากับ ตัวเลขที่นัยสำาคัญน้อยที่สุดที่คูณหารกัน เช่น 54.62 x2.5 = 136.550 = 1.36x102 ผลลัพ ธ์ คือ 1.4 x 102 2. ความไม่แ น่น อนในการวัด ในการวัดปริมาณต่างๆ ด้วยเครื่องย่อมมี ความผิด พลาด ( error ) หรือ ความคลาดเคลื่อ น อยู่เสมอ เช่นวัดความหนาของ ท่อนไม้ ได้ 2.5 เซนติเมตรกว่า ๆ แต่ไม่ถึง 2.6 เซนติเมตร ดังนั้น จึงควรบันทึก 2.54 หรือ 2.55 หรือ 2.56 โดยตัวสุดท้าย ( 4 , 5 , 6 ) เป็นการคาดคะเน การบันทึกเราควรบันทึกให้มีความคลาด เคลื่อนน้อยที่สุด เราควรบันทึกดังนี้ 2.55 ± 0.01 โดย 2.55 คือ ปริมาณที่วัดได้ ( A ) และ  0.01 คือ ค่าความคลาดเคลื่อน หรือ ความไม่แน่นอนของการวัด (± ∆A ) สรุปได้ว่า การบันทึกตัวเลขที่ได้จากการวัด ย่อมมีความผิด พลาด จึงควรแสดงผลการวัดเป็น ( A ± ∆A ) การบัน ทึก ผลการคำา นวณตัว เลขที่ม ีค วามไม่แ น่น อนใน การวัด 1. การบวก หรือ ลบกัน ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ต้อง คิดจากปริมาณความคลาดเคลื่อนจริง มาบวกกันเสมอ เช่น 1.1 ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B ) = ( A + B ) ± ( ∆A + ∆B ) 1.2 ( A ± ∆A ) - (2B ± 2 ∆B ) = ( A - 2B ) ±( ∆A + 2 ∆B )
  • 3. 2. การคูณ หรือ หารกัน หาเปอร์เซนต์ ( % ) ความคลาด เคลื่อนของผลลัพธ์จากการคูณหรือหาร โดยนำาเปอร์เซนต์ ( % ) ของความคลาดเคลื่อนของแต่ละปริมาณมาบวกกัน เช่น หาเปอร์เซนต์ของความคลาดเคลื่อนพิจารณาดังนี้ 1. ( A ± ∆A ) หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด ∆A เคลื่อน = A x 100 % 2. ( B ± ∆B ) หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด ∆B เคลื่อน = B x 100 % 3. ( C ± ∆C ) หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาด ∆C เคลื่อน = C x 100 % ∆A 2.1 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = ( A • B ) ± ( A x 100 ∆B %+ B x 100 % ) ∆A 2.2 ( A ± ∆A ) / ( B ± ∆B ) = ( A / B ) ± ( A x ∆B 100 % + B x 100 % ) ∆A 2.3 ( A ± ∆A ) • ( B2 ± 2B∆B ) = ( A • B2 ) ± ( A x ∆B 100 % + 2 B x 100 % ) 1 ∆C 2.4 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) / ( C ± 2 C )= (A•B ∆A ∆B 1 ∆C / )±( C A x 100 % + B x 100 % + 2 C x 100 %) ตัว อย่า ง เชือกสองเส้นยาว 16.32 ± 0.02 เซนติเมตร และ ยาว 20.68 ± 0.01 เซนติเมตร อยากทราบว่า ถ้านำามาวางต่อกันจะ ยาวเท่าใด และ เชือกสองเส้นนี้มีความยาวต่างกันเท่าใด วิธ ีท ำา วางต่อกันจะยาว จาก ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B ) = (A+B) ± ( ∆A + ∆B ) ( 16.32 ± 0.02 ) +( 20.68 ± 0.01 ) = ( 16.32 + 20.68 ) ± ( 0.02 + 0.01 )
  • 4. = 37.00 ± 0.03 เซนติเมตร เชือกสองเส้นนี้มีความยาวต่างกัน จาก ( B ± ∆B ) - ( A ± ∆A ) = (A-B) ± ( ∆A + ∆B ) ( 20.68 ± 0.01 ) - ( 16.32 ± 0.02 ) = (20.68 - 16.32 ) ± ( 0.02 + 0.01 ) = 4.36 ± 0.03 เซนติเมตร ตัว อย่า ง แผ่นพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีด้านกว้าง 36.20 ± 0.05 เซนติเมตร และมีด้านยาว 96.45± 0.05 เซนติเมตร แผ่น พลาสติกนี้จะมีพื้นที่เป็นเท่าไร วิธ ีท ำา แผ่นพลาสติกนี้จะมีพื้นที่เป็น ∆A ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = ( A • B ) ± ( A x 100 % + ∆B B x 100 % ) ( 36.20 ± 0.05 ) • ( 96.45± 0.05 ) = ( 36.20 • 96.45 0.05 0.05 ) ±( 36.20x 100 % + 96.45x 100 % ) = 3491.49 ± ( 0.19 % ) พื้นที่แผ่นพลาสติก = 3.49.49 ± 6.63 cm2 กราฟในวิช าฟิส ิก ส์ กราฟที่มักพบในวิชาฟิสิกส์ส่วนใหญ่ได้แก่ กราฟเส้นตรง และกราฟเส้นโค้ง ( กราฟพาราโบลา , กราฟไฮเปอร์โบลา ) กราฟเส้น ตรง เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของค่า ในแกน X และ แกน Y คือ X และ Y มีกำาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น ( X2 , Y2 ) θ ( X1 , Y )
  • 5. ความสัมพันธ์ของแกน X และ Y จะมีความหมายในการแปล ข้อมูล โดยส่วนที่สำาคัญของกราฟอย่างหนึ่ง คือ ความชัน และพื้นที่ ใต้กราฟ จากสมการ กราฟเส้นตรง y = mx + c เมื่อ m คือ ความชัน ( m = tanθ , m y2- y 1 = x -x 2 1 ) c เป็นค่าคงตัว ตัดที่แกน y ตัว อย่า ง วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ โดยมีความสัมพันธ์ ระว่างความเร็วและเวลา ดังนี้ v = 2t + 6 ความสัมพันธ์นี้ เมื่อนำาไปเขียนกราฟจะได้กราฟ ลักษณะใด ขณะเริ่มสังเกตนัตถุนี้มีความเร็วหรือไม่ อย่างไร และ ความเร่งของวัตถุนี้มีค่าเท่าไร วิธ ีท ำา จากสมการความสัมพันธ์ v = 2t + 6 จะได้ว่า v และ t จะยกกำาลังหนึ่ง จึงเป็นกราฟเส้นตรง และมีสมการ รูปเดียวกับกราฟเส้นตรง คือ y = mx + c จะ ได้กราฟเส้นตรงลักษณะดังนี้ v ขณะเริ่มสังเกต คือ เวลา 0 วินาที วัตถุมี ความเร็ว = 6 เมตร/วินาที ความเร่งคือการเปลี่ยนแปลงความเร็วใน (0, หนึ่งหน่วยเวลา 6) t พิจารณาจากกราฟเป็นกราฟเส้นตรงความ ชันคงที่แสดงว่ามีการ เปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างสมำ่าเสมอ ดังนั้น ความเร่ง = 2 เมตร/(วินาที)2
  • 6. กราฟพาราโบลา เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ของ ปริมาณหนึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอีกปริมาณหนึ่งยกกำาลังสอง เช่น y= สมการกราฟพาราโบลา y = mx2 mx2 สมการในวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง 1 1. Ek = 2 mv2 1 2. S = ut + 2 at2 กราฟไฮเปอร์โ บลา เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ในลัก ษระที่ปริมาณหนึ่งแปรผกผันกับ อีกค่าหนึ่ง โดยปริมาณทั้งสองมีกำาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น k สมการกราฟไฮเปอร์โบลา xy = k หรือ y = x สมการในวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง F = ma ถ้าพิจารณา ที่ F และ a โดย m คงที่ จะได้ กราฟ เส้นตรง ถ้า พิจารณา m และ a โดย F คงที่ จะได้ 1 a α m และได้กราฟในลักษระเป็นกราฟไฮเปอรโบลา