SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1



รายวิช า ฟิส ิก ส์ 1                      ผลการเรีย นที่ค าด
                              ใบความรู้ หวัง ที่ 3
รหัส วิช า ว 41101                3       ใช้ป ระกอบแผน
ชั้น ม.4                                  จัด การเรีย นรู้ท ี่ 3
         หัว ข้อ เรื่อ ง ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์

ปริม าณสเกลาร์แ ละปริม าณเวกเตอร์
      ในการศึกษาปริมาณต่างๆในวิชาฟิสิกส์ พบว่าปริมาณเหล่านี้
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ปริมาณสเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์
      1. ปริม าณสเกลาร์ ( Scalar quantity ) คือ ปริมาณที่
บอกแต่ขนาดอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ ไม่ต้องบอกทิศทาง
เช่น ระยะทาง มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น งาน
พลังงาน ฯลฯ การหาผลลัพธ์ของปริมาณสเกลาร์ ก็อาศัยหลักทาง
พีชคณิต คือ การบวก ลบ คูณ หาร
      2. ปริม าณเวกเตอร์ ( Vector quantity ) คือ ปริมาณที่
ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น
การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง โมเมนตัม ฯลฯ การหา
ผลลัพธ์ของปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวกเตอร์โดย
ต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง
        2.1 สัญ ลัก ษณ์ข องปริม าณเวกเตอร์ แทนด้วยลูกศร
ความยาวของลูกศรแทนขนาด หัวลูกศรแทนทิศทาง และเขียนตัว
อักษรที่มีลูกศรครึ่งอยู่บนตัวอักษร ดังต่อไปนี้
                                                        
      A                                           3      C
                               3                 หน่ว
     2                      B   หน่ว              ย θ
     หน่ว                       ย
     ย
                 รูป 1. แสดงเวกเตอร์   
                                       A
                                          ,   
                                              B
                                                และ      
                                                         C



       โดย เวกเตอร์     
                        A
                         มีขนาด 2 หน่วย ไปทางทิศตะวันออก
             เวกเตอร์   
                        B
                         มีขนาด 3 หน่วยไปทางทิศเหนือ
             เวกเตอร์   
                        C
                         มีขนาด 3 หน่วย ทำามุม  กับแนว
       ระดับ
         2.2 เวกเตอร์ท ี่เ ท่า กัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ เท่ากัน
                  
เมื่อมีขนาดเท่ากันและมีทิศไปทางเดียวกัน ดังรูป 2.
                                                   
                 A                                 D
      =          2                                  3        =
                 2 ว                   3
                  
                 หน่                               หน่ว
                 ยB
                 หน่ว                  หน่วC        ย
                 ย                     ย
2




                   รูป 2. แสดงเวกเตอร์ที่เท่ากัน
       2.3 เวกเตอร์ต รงข้า มกัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ ตรงข้าม
กัน เมื่อมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน ดังรูป 3.
                                      ตรงข้ามกับ
                 A                                                               
     ตรงข้าม       2
                   2 ว
                                                     3                           D
   กับ            หน่                           3 หน่ว-
                 B หน่ว
                   ย
                   ย
                                     3
                                     หน่ว        หน่วย
                                                                         
                                                                         C
         = -       2
                   หน่ว              ย           ย
                 รูป -3. แสดงเวกเตอร์ตรงข้ามกัน     = -
                   ย
      2.4 การบวกลบเวกเตอร์
         การบวก ลบ ปริมาณเวกเตอร์ หรือการหาเวกเตอร์ลัพธ์
สามารถทำาได้ 2 วิธีคือ
            2.4.1 วิธ ีก ารเขีย นรูป โดยวิธีหางต่อหัว เวกเตอร์
ลัพธ์ที่ได้ จะมีขนาดและทิศจากหางเวกเตอร์ตัวแรก ถึงหัวลูกศรเวก
เตอร์ตัวสุดท้าย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัว อย่า ง กำาหนดให้
                                                                                             
                                                                                             D
                                 
                                B                                   
                                                                     C
        A




1. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก     
                             A
                                     + +
                                     
                                             
                                             B
                                                         
                                                         C
                                                             +       
                                                                     D
                                                                                     -
                                    D 
                                      
                 A                    B C                                
               = +++                                                     C                   = -+-

2. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก     
                             A
                                     -   
                                         B
                                                 +   
                                                     C
                                                             -   
                                                                 D                       -
                                                                     
                                                                     B           
                                                                                 A
3. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก     
                             B
                                     -   
                                         C
                                                 +   
                                                     D
                                                             -   
                                                                 A



                                                                             -
                     = -+-
                                                                 
                                                                 D
                                 -
3



            2.4.2 วิธ ีก ารคำา นวณ การใช้วิธีคำานวณในการหา
เวกเตอร์ลัพธ์ ก็เพื่อคำาถูกต้องแน่นอนกว่า การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดย
วิธีสร้างรูป เพราะ การสร้างรูป ถ้าลากความยาวหรือทิศลูกศรคลาด
เคลื่อนเพียงเล็กน้อย ผลของเวกเตอร์ลัพธ์จะผิดไปจากเดิม
             การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีคำานวณหาได้ดังนี้
         ในกรณีนี้จะพิจารณาเวกเตอร์เพียง 2 เวกเตอร์เท่านั้น
            ให้    และ
                    
                    A
                            ทำามุม  ซึ่งกันและกันดังรูป เวกเตอร์
                                  
                                  B



ลัพธ์ (     ) จะมีขนาดเท่าใด และมีทิศอย่างไร
                                                       
        
        R




                                                       B
                                                       θ
วิธ ีค ิด เพื่อหาสมการที่ใช้ในการคำานวณ เริ่มจากการสร้างรูป
                          
                y
                          B                       รูป 1. แยก เพื่อหาขนาดเวก
                          θ                       เตอร์ลัพธ์
                              x
                         จาก          
                                      R
                                          =   
                                              A
                                                   +   
                                                       B
                                                                       , เวกเตอร์   
                                                                                    B
                                                                                        มีองค์
ประกอบคือ   
            B
                X       , Y
                          
                          B



                         จะได้            
                                          R
                                              =    
                                                   A
                                                       +   
                                                           B
                                                               X   +    
                                                                        B
                                                                            Y



                              
                              B           sin θ
                         รูป 2. เวกเตอร์ลัพธ์ หาได้โดย
                 θ
                         ใช้กฎพิทาธอรัส
จากกฎของพิทาธอรัส หาขนาดของเวกเตอร์ จะได้
                  cos θ
                    R =                              Bcos )2+ sin )2
                                                  ( A+  θ   (B  θ



                    R =                            2
                                                  A + cos +
                                                     2AB θ  2  2
                                                           B cos +
                                                                θ  2  2
                                                                  B sinθ



                    R =                            2
                                                  A +2AB θ + ( cos +2 )
                                                       cos B2    2
                                                                  θ sinθ



แต่ cos2θ + sin2θ = 1 ,   R =                                       2
                                                                   A +2AB θ +
                                                                        cos B2




ดังนั้น สมการทั่วๆไปในการหาค่าขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ จากเวก
เตอร์ 2 เวกเตอร์รวมกัน จะได้
                     R =                           2  2
                                                  A + +
                                                     B  2AB θ
                                                          cos



******
4



หาทิศ ทางของเวกเตอร์ล ัพ ธ์       จากรูป ด้านล่างนี้ เวกเตอร์
                                  
                                  R



ลัพธ์ 
      R
       จะมีทิศทำามุม  กับแนวระดับ

                                                              sin θ
                         R
                                              B           B



                     α
                     A            θ
                                      B
                                                  cos
     การหาทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ θ คือ การหาค่ามุม 
                                          
                                          R




     จาก      tan α
                               ด้านข้ามมุ
                                      ม
                       =       ด้านชิด มุม

                                          θ
     จะได้
                                       Bsin
               tan α         =        A+ cos
                                        B   θ

*****

ตัว อย่า ง จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก    มีขนาด 4 หน่วย และ
                                                      A


 
 B
      มีขนาด 3 หน่วย โดยเวกเตอร์ทั้งสองทำามุมระหว่างกันดังนี้
0 องศา , 60 องศา , 90 องศา และ 180 องศา ตามลำาดับ
โดยวิธีสร้างรูป และ วิธีคำานวณ
วิธ ีท ำา
          ขนาด 4 หน่ว ย และ
          
          A
                                    ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม
                                                  
                                                  B



ระหว่า งกัน 0 องศา

สร้า งรูป
                           ขนาด 4 หน่วย และ ขนาด
                          3 หน่วย
                                   ขนาด 7
                                  หน่วย
คำา นวณ      จากสมการทั่วไป R =                   ,            2
                                                                 B2
                                                              A + + 2AB θ
                                                                      cos



จะได้  = 0 องศา
                   R =            2  2
                                 A + + cos
                                    B
                                          , cos 0° =
                                       2AB 0°



1
                   R =            2
                                    B2
                                 A + + 2AB
                                             ,(A+B
)2 = A2 + 2AB +B2
                   R =           ( A+ )2
                                     B



          จะได้    R = A+ B
          แทนค่า         R = 4 + 3 = 7 หน่วย
5



        
        A
          ขนาด 4 หน่ว ย และ                     
                                                B
                                                     ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม
ระหว่า งกัน 60 องศา
สร้า งรูป   
            B

                                                                     ขนาด
                                                
                                                R                  
                                                                   B


            6                                                   6 3 หน่วย
            0°   
                 A
                                 
                                 A
                                   ขนาด 4                       0°
คำา นวณ              จากสมการทั่วไป ย R =
                                หน่ว                        2
                                                              B2
                                                           A + + 2AB θ
                                                                   cos
                                                                            ,
จะได้  = 60 องศา
          แทนค่า                 R =                 2
                                                       B2
                                                    A + + cos °
                                                          2AB 60
                                                                         , cos
        1
60° = 2
                                                        1
                           R =            2  2
                                         4 +3 +2 4 ( 3 ( )
                                                ( ) )
                                                        2

                                          R =               +  +
                                                           16 9 12



                           R =           37



                           R =           6.08         หน่วย
        
        A
          ขนาด 4 หน่ว ย และ                     
                                                B
                                                     ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม
ระหว่า งกัน 90 องศา
สร้า งรูป
                                                               ขนาด
                                     
                                     R                      
                                                           B
    B


                                                           3 หน่วย
            9                                               9
            0°
                 
                 A

                          ขนาด 4 
                                 A                          0°
                       หน่วย
คำา นวณ     จากสมการทั่วไป R =                  ,           2
                                                              B2
                                                           A + + 2AB θ
                                                                   cos



จะได้  = 90 องศา
          แทนค่า        R =                  , cos   2
                                                       B2
                                                    A + + cos °
                                                          2AB 90



90° = 0
                  R =                    A +2
                                          2
                                            B



                        R =                         4 +2
                                                     2
                                                       3



                  R =                     +
                                         16 9



                  R =                    25



                  R =      5 หน่วย
        ขนาด 4 หน่ว ย และ
        
        A
                                ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม
                                                
                                                B



ระหว่า งกัน 180 องศา
6



สร้า งรูป
                              ขนาด 4 หน่วย และ
               
               B                                            
                              A                              B



                          ขนาด 3 หน่วย
                                 ขนาด 1
                   A
                                   
                                   R



                             หน่วย
คำา นวณ      จากสมการทั่วไป R =                2
                                                 ,
                                                 B2
                                              A + + 2AB θ
                                                      cos



จะได้  = 180 องศา
                   R =             2
                                     B2
                                           , cos
                                  A + + cos °
                                        2AB 180



180° = -1
                   R =             2
                                     B2
                                  A + − 2AB
                                             ,(A-B)
2
  = A2 - 2AB +B2
                   R =         ( A− )2
                                   B



          จะได้    R = A- B
          แทนค่า         R = 4 - 3 = 1 หน่วย

จากตัว อย่า งข้า งบนนี้ส รุป เกี่ย วกับ ขนาดของเวกเตอร์ล ัพ ธ์
ได้ว ่า
       1. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกัน จะทำามุมระหว่าง
          กัน …0.. องศา
          ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากการเอาขนาดมารวมกัน ( R
          = A + B)

     2. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศตรงข้ามกัน จะทำามุมระหว่างกัน
      …180.. องศา
      ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากการเอาขนาดมาลบกัน ( R
     = A - B)

     3. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศทำามุมระหว่างกัน  องศา
        ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากสมการ R =
         2  2
        A + +
           B  2AB θ
                cos




     4. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศทำามุมระหว่างกัน 90 องศา
        ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากสมการ R =           A +2
                                                       2
                                                         B

More Related Content

Viewers also liked

ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงAroonrat Kaewtanee
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมkrupayom
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09witthawat silad
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (15)

ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 

More from witthawat silad

ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10witthawat silad
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08witthawat silad
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07witthawat silad
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06witthawat silad
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05witthawat silad
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11witthawat silad
 

More from witthawat silad (9)

ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11
 

ใบความรู้ที่ 03

  • 1. 1 รายวิช า ฟิส ิก ส์ 1 ผลการเรีย นที่ค าด ใบความรู้ หวัง ที่ 3 รหัส วิช า ว 41101 3 ใช้ป ระกอบแผน ชั้น ม.4 จัด การเรีย นรู้ท ี่ 3 หัว ข้อ เรื่อ ง ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ปริม าณสเกลาร์แ ละปริม าณเวกเตอร์ ในการศึกษาปริมาณต่างๆในวิชาฟิสิกส์ พบว่าปริมาณเหล่านี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ปริมาณสเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์ 1. ปริม าณสเกลาร์ ( Scalar quantity ) คือ ปริมาณที่ บอกแต่ขนาดอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ ไม่ต้องบอกทิศทาง เช่น ระยะทาง มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น งาน พลังงาน ฯลฯ การหาผลลัพธ์ของปริมาณสเกลาร์ ก็อาศัยหลักทาง พีชคณิต คือ การบวก ลบ คูณ หาร 2. ปริม าณเวกเตอร์ ( Vector quantity ) คือ ปริมาณที่ ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง โมเมนตัม ฯลฯ การหา ผลลัพธ์ของปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวกเตอร์โดย ต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง 2.1 สัญ ลัก ษณ์ข องปริม าณเวกเตอร์ แทนด้วยลูกศร ความยาวของลูกศรแทนขนาด หัวลูกศรแทนทิศทาง และเขียนตัว อักษรที่มีลูกศรครึ่งอยู่บนตัวอักษร ดังต่อไปนี้   A 3 C  3 หน่ว 2 B หน่ว ย θ หน่ว ย ย รูป 1. แสดงเวกเตอร์  A ,  B และ  C โดย เวกเตอร์  A มีขนาด 2 หน่วย ไปทางทิศตะวันออก เวกเตอร์  B มีขนาด 3 หน่วยไปทางทิศเหนือ เวกเตอร์  C มีขนาด 3 หน่วย ทำามุม  กับแนว ระดับ 2.2 เวกเตอร์ท ี่เ ท่า กัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ เท่ากัน  เมื่อมีขนาดเท่ากันและมีทิศไปทางเดียวกัน ดังรูป 2.  A D = 2 3 = 2 ว 3  หน่  หน่ว ยB หน่ว หน่วC ย ย ย
  • 2. 2 รูป 2. แสดงเวกเตอร์ที่เท่ากัน 2.3 เวกเตอร์ต รงข้า มกัน เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ ตรงข้าม กัน เมื่อมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน ดังรูป 3.  ตรงข้ามกับ A  ตรงข้าม 2 2 ว 3 D กับ  หน่ 3 หน่ว- B หน่ว ย ย 3 หน่ว หน่วย  C = - 2 หน่ว ย ย รูป -3. แสดงเวกเตอร์ตรงข้ามกัน = - ย 2.4 การบวกลบเวกเตอร์ การบวก ลบ ปริมาณเวกเตอร์ หรือการหาเวกเตอร์ลัพธ์ สามารถทำาได้ 2 วิธีคือ 2.4.1 วิธ ีก ารเขีย นรูป โดยวิธีหางต่อหัว เวกเตอร์ ลัพธ์ที่ได้ จะมีขนาดและทิศจากหางเวกเตอร์ตัวแรก ถึงหัวลูกศรเวก เตอร์ตัวสุดท้าย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัว อย่า ง กำาหนดให้  D   B  C A 1. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก  A + +   B  C +  D -  D   A B C  = +++ C = -+- 2. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก  A -  B +  C -  D -  B  A 3. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก  B -  C +  D -  A - = -+-  D -
  • 3. 3 2.4.2 วิธ ีก ารคำา นวณ การใช้วิธีคำานวณในการหา เวกเตอร์ลัพธ์ ก็เพื่อคำาถูกต้องแน่นอนกว่า การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดย วิธีสร้างรูป เพราะ การสร้างรูป ถ้าลากความยาวหรือทิศลูกศรคลาด เคลื่อนเพียงเล็กน้อย ผลของเวกเตอร์ลัพธ์จะผิดไปจากเดิม การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีคำานวณหาได้ดังนี้ ในกรณีนี้จะพิจารณาเวกเตอร์เพียง 2 เวกเตอร์เท่านั้น ให้ และ  A ทำามุม  ซึ่งกันและกันดังรูป เวกเตอร์  B ลัพธ์ ( ) จะมีขนาดเท่าใด และมีทิศอย่างไร   R B θ วิธ ีค ิด เพื่อหาสมการที่ใช้ในการคำานวณ เริ่มจากการสร้างรูป  y B รูป 1. แยก เพื่อหาขนาดเวก θ เตอร์ลัพธ์ x จาก  R =  A +  B , เวกเตอร์  B มีองค์ ประกอบคือ  B X , Y  B จะได้  R =  A +  B X +  B Y  B sin θ รูป 2. เวกเตอร์ลัพธ์ หาได้โดย θ ใช้กฎพิทาธอรัส จากกฎของพิทาธอรัส หาขนาดของเวกเตอร์ จะได้ cos θ R = Bcos )2+ sin )2 ( A+ θ (B θ R = 2 A + cos + 2AB θ 2 2 B cos + θ 2 2 B sinθ R = 2 A +2AB θ + ( cos +2 ) cos B2 2 θ sinθ แต่ cos2θ + sin2θ = 1 , R = 2 A +2AB θ + cos B2 ดังนั้น สมการทั่วๆไปในการหาค่าขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ จากเวก เตอร์ 2 เวกเตอร์รวมกัน จะได้ R = 2 2 A + + B 2AB θ cos ******
  • 4. 4 หาทิศ ทางของเวกเตอร์ล ัพ ธ์ จากรูป ด้านล่างนี้ เวกเตอร์  R ลัพธ์  R จะมีทิศทำามุม  กับแนวระดับ sin θ R B B α A θ B cos การหาทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ θ คือ การหาค่ามุม   R จาก tan α ด้านข้ามมุ ม = ด้านชิด มุม θ จะได้ Bsin tan α = A+ cos B θ ***** ตัว อย่า ง จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ จาก มีขนาด 4 หน่วย และ A  B มีขนาด 3 หน่วย โดยเวกเตอร์ทั้งสองทำามุมระหว่างกันดังนี้ 0 องศา , 60 องศา , 90 องศา และ 180 องศา ตามลำาดับ โดยวิธีสร้างรูป และ วิธีคำานวณ วิธ ีท ำา ขนาด 4 หน่ว ย และ  A ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม  B ระหว่า งกัน 0 องศา สร้า งรูป ขนาด 4 หน่วย และ ขนาด 3 หน่วย ขนาด 7 หน่วย คำา นวณ จากสมการทั่วไป R = , 2 B2 A + + 2AB θ cos จะได้  = 0 องศา R = 2 2 A + + cos B , cos 0° = 2AB 0° 1 R = 2 B2 A + + 2AB ,(A+B )2 = A2 + 2AB +B2 R = ( A+ )2 B จะได้ R = A+ B แทนค่า R = 4 + 3 = 7 หน่วย
  • 5. 5  A ขนาด 4 หน่ว ย และ  B ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม ระหว่า งกัน 60 องศา สร้า งรูป  B ขนาด  R  B 6 6 3 หน่วย 0°  A  A ขนาด 4 0° คำา นวณ จากสมการทั่วไป ย R = หน่ว 2 B2 A + + 2AB θ cos , จะได้  = 60 องศา แทนค่า R = 2 B2 A + + cos ° 2AB 60 , cos 1 60° = 2 1 R = 2 2 4 +3 +2 4 ( 3 ( ) ( ) ) 2 R = + + 16 9 12 R = 37 R = 6.08 หน่วย  A ขนาด 4 หน่ว ย และ  B ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม ระหว่า งกัน 90 องศา สร้า งรูป ขนาด  R   B B 3 หน่วย 9 9 0°  A ขนาด 4  A 0° หน่วย คำา นวณ จากสมการทั่วไป R = , 2 B2 A + + 2AB θ cos จะได้  = 90 องศา แทนค่า R = , cos 2 B2 A + + cos ° 2AB 90 90° = 0 R = A +2 2 B R = 4 +2 2 3 R = + 16 9 R = 25 R = 5 หน่วย ขนาด 4 หน่ว ย และ  A ขนาด 3 หน่ว ย ทำา มุม  B ระหว่า งกัน 180 องศา
  • 6. 6 สร้า งรูป ขนาด 4 หน่วย และ  B   A B  ขนาด 3 หน่วย ขนาด 1 A  R หน่วย คำา นวณ จากสมการทั่วไป R = 2 , B2 A + + 2AB θ cos จะได้  = 180 องศา R = 2 B2 , cos A + + cos ° 2AB 180 180° = -1 R = 2 B2 A + − 2AB ,(A-B) 2 = A2 - 2AB +B2 R = ( A− )2 B จะได้ R = A- B แทนค่า R = 4 - 3 = 1 หน่วย จากตัว อย่า งข้า งบนนี้ส รุป เกี่ย วกับ ขนาดของเวกเตอร์ล ัพ ธ์ ได้ว ่า 1. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกัน จะทำามุมระหว่าง กัน …0.. องศา ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากการเอาขนาดมารวมกัน ( R = A + B) 2. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศตรงข้ามกัน จะทำามุมระหว่างกัน …180.. องศา ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากการเอาขนาดมาลบกัน ( R = A - B) 3. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศทำามุมระหว่างกัน  องศา ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากสมการ R = 2 2 A + + B 2AB θ cos 4. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีทิศทำามุมระหว่างกัน 90 องศา ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้จากสมการ R = A +2 2 B