SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
บทที่ 7
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
มโนทัศน์(Concept)
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล
หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบรูณ์ที่จะทาให้ได้หลักสูตรมีประสิทธิภาพซึ่งขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ
1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ
2. การร่างหลักสูตร
3. การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร
4. การนาหลักสูตรไปใช้และ 5. การประเมินผลหลักสูตร
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
สาระเนื้อหา(Content)
การจัดการศึกษาเท่าที่ผ่านมา โรงเรียนส่วนใหญ่ที่ใช้ตารา เอกสาร รวมทั้งสื่อต่างๆ ที่จัดพิมพ์จากหน่วยงานกลางเป็นหลักใน
การเรียนการสอน ถึงแม้ว่าสภาพบริบทและแวดล้อมโรงเรียนจะแตกต่างกัน แต่เนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอนกลับเหมือนกันทั่ว
ประเทศ อย่างไรก็ตามได้มีความพยายามให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรดังที่กาหนดไว้ในคู่มือ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถพัฒนา
หลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่นได้ ทั้งนี้เนื่องจากครูขาดความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งทักษะในการพัฒนาหลักสูตร ขาดการ
สนับสนุนจากผู้บริหารและขาดการมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนส่วนใหญ่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการท่องจา
มากกว่าปฏิบัติจริง
1. ความจาเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคมได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมถึงความรู้เกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความรู้และความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการการบารุงรักษา การ
ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
4. ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
5. ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้ในการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ
การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ
6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อ
ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
2. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สกิลเบ็ก (Skilbeck, 1984: 2) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนไว้ว่า หมายถึง การวางแผน การออกแบบ
การนาไปใช้และการประเมินผลการกาหนดการเรียนรู้ของนักเรียนดาเนินการโดยสถานศึกษา เน้นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากร
ภายในสถานศึกษา ไม่ใช่กาหนดจากบุคคลภายนอก
สรุป การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในความหมายต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้นสรุปว่า การพัฒนาหลักสูตรคือ แผน
ประสบการณ์หรือแผนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้งภายในและภายนอกของโรงเรียนเพื่อ
กาหนดการเรียนรู้ของนักเรียน มีการวางแผนนาไปใช้และประเมินผลร่วมกัน
3. แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School-BasedManagement - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้าน
การเงิน ด้านการบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยมีความเชื่อว่าการตัดสินใจที่ดี
ที่สุดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด(Wohlsletter,1995:22-25) แนวคิดนี้เริ่มใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีแบบของบริหารจัดการแตกต่างกันไปตามมลรัฐและในระหว่าง พ.ศ.2503-2522 วงการศึกษาของ
สหรัฐอเมริกาได้มีการปรับปรุงการดาเนินงานทางการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยนาความคิดจากความสาเร็จของการ
พัฒนาองค์การทางอุตสาหกรรมที่ทาองค์การให้มีประสิทธิภาพในการทางาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพสร้างผลกาไรและสร้าง
ความพึงพอใจแก่ลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องดังนั้น แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น ต้องปรับปรุงและพัฒนาองค์การ การบริหาร
โรงเรียนเสียใหม่ มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมีการนาวิชาการบริหารงบประมาณด้วน
ตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-Based CurriculumDevelopment)การพัฒนาบุคลากรโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Student Counseling) เข้ามาใช้ (สานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,2543:12)
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้น เป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล
หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์ทาให้ได้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพกล่าวโดยสรุปขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ
ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆได้แก่
1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพและความต้องการของชุมชน
1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
1.3 การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร
2.1 การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร
2.2 การกาหนดเนื้อหาสาระ
2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่างๆ
2.4 การกาหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร
ขั้นที่ 4 การนาหลักสูตรไปใช้
ขั้นที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร
สรุป (Summary)
ข้อกฎหมายที่สถานศึกษาต้องไปดาเนินการให้สถานศึกษาหรือโรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรได้เองภายใต้กรอบของ
หลักสูตรแกนกลางเป็นเรื่องที่จะต้องมี การเตรียมการให้พร้อม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 ที่
กาหนดให้ “คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดี
ของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและในวรรคสองกาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทา
สาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” ซึ่งจะเห็นได้ว่าจุดหมายในส่วนของหลักสูตรแกนกลางที่จัดทา
โดยกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการเป็นไปอย่างกว้างๆ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้นาไปจัดทาสาระของ
หลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
นั้นๆ ต่อไป
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอาศัยแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based
Management - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล้องในตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้านการเงิน ด้าน
การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
นักเรียนมากที่สุด แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้นใช้กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมี
การนาวิธีการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum
Development)และการพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedStudent Counseling) เข้ามาใช้
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่นามาใช้ดาเนินการในครั้งนี้ นาแนวความคิดและรูปแบบจากพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 วรรคสอง ที่กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งแนวคิดและรูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรเช่น ไทเลอร์ ทาบา เซย์เลอร์อเล็กซาน
เดอร์และเลวิสโอลิวา สกิลเบ็กมาร์ช และคณะเอ็กเกิลสตันวอล์คเกอร์ และรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทยเช่น กรมวิชาการ และ
กรมการศึกษานอกโรงเรียน มากาหนดเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

More Related Content

What's hot

ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9Pateemoh254
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNuchanatJaroensree
 

What's hot (15)

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
7 E
7 E7 E
7 E
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 

Similar to บทที่ 7

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7parkpoom11z
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Dook dik
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701gam030
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4parkpoom11z
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 

Similar to บทที่ 7 (20)

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 

More from wanneemayss

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2wanneemayss
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมwanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5wanneemayss
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3wanneemayss
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 

More from wanneemayss (19)

บท11
บท11บท11
บท11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 7

  • 2. มโนทัศน์(Concept) ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบรูณ์ที่จะทาให้ได้หลักสูตรมีประสิทธิภาพซึ่งขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ 1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ 2. การร่างหลักสูตร 3. การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร 4. การนาหลักสูตรไปใช้และ 5. การประเมินผลหลักสูตร
  • 3. ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
  • 4. สาระเนื้อหา(Content) การจัดการศึกษาเท่าที่ผ่านมา โรงเรียนส่วนใหญ่ที่ใช้ตารา เอกสาร รวมทั้งสื่อต่างๆ ที่จัดพิมพ์จากหน่วยงานกลางเป็นหลักใน การเรียนการสอน ถึงแม้ว่าสภาพบริบทและแวดล้อมโรงเรียนจะแตกต่างกัน แต่เนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอนกลับเหมือนกันทั่ว ประเทศ อย่างไรก็ตามได้มีความพยายามให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรดังที่กาหนดไว้ในคู่มือ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่นได้ ทั้งนี้เนื่องจากครูขาดความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งทักษะในการพัฒนาหลักสูตร ขาดการ สนับสนุนจากผู้บริหารและขาดการมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอนส่วนใหญ่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการท่องจา มากกว่าปฏิบัติจริง
  • 5. 1. ความจาเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 1. ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคมได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมถึงความรู้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความรู้และความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการการบารุงรักษา การ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน 3. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา 4. ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง 5. ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้ในการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
  • 6. 2. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สกิลเบ็ก (Skilbeck, 1984: 2) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนไว้ว่า หมายถึง การวางแผน การออกแบบ การนาไปใช้และการประเมินผลการกาหนดการเรียนรู้ของนักเรียนดาเนินการโดยสถานศึกษา เน้นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากร ภายในสถานศึกษา ไม่ใช่กาหนดจากบุคคลภายนอก สรุป การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในความหมายต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้นสรุปว่า การพัฒนาหลักสูตรคือ แผน ประสบการณ์หรือแผนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้งภายในและภายนอกของโรงเรียนเพื่อ กาหนดการเรียนรู้ของนักเรียน มีการวางแผนนาไปใช้และประเมินผลร่วมกัน
  • 7. 3. แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedManagement - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้าน การเงิน ด้านการบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยมีความเชื่อว่าการตัดสินใจที่ดี ที่สุดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด(Wohlsletter,1995:22-25) แนวคิดนี้เริ่มใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีแบบของบริหารจัดการแตกต่างกันไปตามมลรัฐและในระหว่าง พ.ศ.2503-2522 วงการศึกษาของ สหรัฐอเมริกาได้มีการปรับปรุงการดาเนินงานทางการศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยนาความคิดจากความสาเร็จของการ พัฒนาองค์การทางอุตสาหกรรมที่ทาองค์การให้มีประสิทธิภาพในการทางาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพสร้างผลกาไรและสร้าง ความพึงพอใจแก่ลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องดังนั้น แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น ต้องปรับปรุงและพัฒนาองค์การ การบริหาร โรงเรียนเสียใหม่ มีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมีการนาวิชาการบริหารงบประมาณด้วน ตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-Based CurriculumDevelopment)การพัฒนาบุคลากรโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Student Counseling) เข้ามาใช้ (สานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,2543:12)
  • 8. ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนดขึ้น เป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจรคือ เริ่มตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผล หลักสูตร โดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์ทาให้ได้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพกล่าวโดยสรุปขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆได้แก่ 1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพและความต้องการของชุมชน 1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน 1.3 การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร 2.1 การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร 2.2 การกาหนดเนื้อหาสาระ 2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่างๆ 2.4 การกาหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ขั้นที่ 4 การนาหลักสูตรไปใช้ ขั้นที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร
  • 9. สรุป (Summary) ข้อกฎหมายที่สถานศึกษาต้องไปดาเนินการให้สถานศึกษาหรือโรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรได้เองภายใต้กรอบของ หลักสูตรแกนกลางเป็นเรื่องที่จะต้องมี การเตรียมการให้พร้อม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 ที่ กาหนดให้ “คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดี ของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อและในวรรคสองกาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทา สาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” ซึ่งจะเห็นได้ว่าจุดหมายในส่วนของหลักสูตรแกนกลางที่จัดทา โดยกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการเป็นไปอย่างกว้างๆ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้นาไปจัดทาสาระของ หลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา นั้นๆ ต่อไป
  • 10. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอาศัยแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based Management - SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความคล้องในตัวในการบริหารงานด้านวิชาการด้านการเงิน ด้าน การบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้องกับ นักเรียนมากที่สุด แนวทางที่จะทาให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้นใช้กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมี การนาวิธีการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง (Self-BudgetingSchool) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-BasedCurriculum Development)และการพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-BasedStudent Counseling) เข้ามาใช้ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่นามาใช้ดาเนินการในครั้งนี้ นาแนวความคิดและรูปแบบจากพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 วรรคสอง ที่กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งแนวคิดและรูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรเช่น ไทเลอร์ ทาบา เซย์เลอร์อเล็กซาน เดอร์และเลวิสโอลิวา สกิลเบ็กมาร์ช และคณะเอ็กเกิลสตันวอล์คเกอร์ และรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทยเช่น กรมวิชาการ และ กรมการศึกษานอกโรงเรียน มากาหนดเป็นกรอบแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา