SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
พันเอก ดร. ธีรนันท์์ นันทขว้้ าง
                                     ดร.
รองผู้อานวยการกองการเมืองและการทหาร, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
       ํ                 งและการทหาร, วิ      ้
               สถาบันวิชาการปองกัันป
                    ั ิ     ป้     ประเทศ กองบััญชาการกองทัพไ
                                                           ั ไทย
               Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
               Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
           teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info
                                            Twitter : @tortaharn
                                                       @tortaharn
                         Facebook : http://facebook.com/tortaharn
                                  http://facebook.com/dr.trrtanan
กรอบการนําเสนอ
•   ความเป็็ นมา
•   ทาไมตองประชาคมอาเซยน
    ทําไมต้ องประชาคมอาเซียน ?
•   ความท้ าทายของประชาคมอาเซียน
•   ไทยกับประชาคมอาเซียน
•   กองทัพไทยกับประชาคมอาเซียน
•   แนวทางการรองรบประชาคมอาเซยน
    แนวทางการรองรับประชาคมอาเซียน
•   สรุุป
ความเป็ นมา
สมาคมประชาชาตแหงเอเชยตะวนออกเฉยงใต
สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN)
• ก่อตังขึ ้้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อ
         ้
  วนท สงหาคม
  วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยสมาชิกผ้ ก่อตังมี 5 ประเทศ ได้ แก่ อินโดนิเซีย
                          โดยสมาชกผู อตงม ้                ไดแก อนโดนเซย
  ฟิ ลปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย
       ิ
• ต่อมาได้ มีประเทศต่างๆ เข้ าเป็ นสมาชิกเพิ่มเติม ได้ แก่ บรูไนดารุสซาลาม
  (
  (เป็ นสมาชิกเมื่อ 8 ม.ค. 2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) ลาว
                                )           (                    )
  พม่า (วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา (วันที่ 30 เม.ย. 2542)
  ตามลาดบ จากการรับกัมพชาเข้ าเป็ นสมาชิก ทําให้ อาเซียนมีสมาชิกครบ
  ตามลําดับ จากการรบกมพูชาเขาเปนสมาชก ทาใหอาเซยนมสมาชกครบ
  10 ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
วัตถุุประสงค์ การก่ อตัง
                                    ้
• ส่งเสริ มความร่วมมือและความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจสังคม
  สงเสรมความรวมมอและความชวยเหลอทางเศรษฐกจสงคม
  วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการบริ หาร
• ส่งเสริ มสันติภาพและความมันคงของภูมิภาค ส่งเสริ มความร่วมมือ
                            ่
  ระหวางอาเซยนกบตางประเทศและองคกรระหวางประเทศ
  ระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ
  สัญลักษณ์ของอาเซียน
ธงอาเซียนและสัญลักษณ์ ของอาเซียน
• ธงอาเซียนแสดงถึงความมันคง สนตภาพ ความเป็ นเอกภาพ และ
  ธงอาเซยนแสดงถงความมนคง สันติภาพ ความเปนเอกภาพ
                           ่
  พลวัตของอาเซียน
           ิ
• ใช้ สีที่ปรากฏอยูบนธงของธงประเทศสมาชิกอาเซียนทังหมด
                  ่                              ้
       ้
• สีนําเงิน หมายถึง สันติภาพและเสถียรภาพ
• สีแดงคือความกล้ าหาญและการมีพลวัติ
  สแดงคอความกลาหาญและการมพลวต
• สีขาวคือความบริ สทธิ์
                     ุ
• สีเหลืองหมายถึงความเจริ ญรุ่งเรื อง
ธงอาเซียนและสัญลักษณ์ ของอาเซียน



• รวงข้ าวสีเหลือง 10 ต้ น เป็ นตัวแทนของประเทศสมาชิกทัง้ 10
  ประเทศที่ร่วมก่อตังอาเซียน
                     ้
• วงกลมที่อยูรอบรวงข้ าวนันแสดงถึงความเป็ นเอกภาพ ความ
               ่             ้
  เปนหนงเดยวและความสมานฉนทของอาเซยน
  เป็ นหนึงเดียวและความสมานฉันท์ของอาเซียน
          ่
กลไกการดําเนินงาน
• ระดับนโยบาย : มาจากผลการประชุมหารื อในระดับหัวหน้ ารัฐบาล
                                        ุ
  ระดับรัฐมนตรี และเจ้ าหน้ าที่อาวุโสอาเซียน การประชุมสุดยอดเป็ น
  การประชุมใ
       ป ช ในระดบสูงสดเพอกาหนดแนวนโยบายในภาพรวมและ
                    ั ส สุ ื่ ํ              โ    ใ
  เป็ นโอกาสที่ประเทศสมาชิกจะได้ ร่วมกันประกาศเปาหมายและ
                                                   ้
  แผนงานของอาเซียนในระยะยาว
• ระดัับปฏิบติ : ดํําเนิินการตามแผนปฏิิบตการ (Action Plan)
         ป ิ ั                        ป ัิ
  แถลงการณ์ร่วม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความ
                                          ฏญญ
  ตกลง (Agreement) หรื ออนุสญญา (Convention) เช่น Hanoi
                                 ั
  Declaration, Hanoi Plan A ti
  D l ti H i Pl off Action และ ASEAN Convention on   C    ti
  Counter Terrorism เป็ นต้ น
กฏบัตรอาเซียน
                      ฏ
• ธันวาคม 2540 ผ้ นําอาเซยนไดรบรองเอกสาร วสยทศน
  ธนวาคม        ผู าอาเซียนได้ รับรองเอกสาร วิสยทัศน์
                                               ั
  อาเซียน 2020 เพื่อเป็ น
   – วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - A Concert of Southeast
     Asian N i
     A i Nations
   – หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต - A Partnership in Dynamic
        ุ
     Development
   – ม่งปฏิสมพันธ์กบประเทศภายนอก - An Outward Looking ASEAN
     มุ ปฏสมพนธกบประเทศภายนอก
             ั       ั                    Outward-Looking
   – ชุมชนแห่งสังคมที่เอื ้ออาทร - A Community of Caring Societies
กฏบัตรอาเซียน
                  ฏ
• การประชมผ้ นําอาเซียน ครงท่ 9 ระหว่างวันที่ 7 8 ตลาคม
  การประชุมผู าอาเซยน ครังที ระหวางวนท 7-8 ตุลาคม
                             ้
  2546 ที่บาหลี ผู้นําอาเซียนลงนามในปฏิญญาว่าด้ วยความ
                   ู                    ฏญญ
  ร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรื อ
  Bali Concord II) ใ ในการจัดตัง้ั ป
                            ั ประชาคมอาเซียน (ASEAN
                                              ี
  Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค ศ 2020)
               ภายในป พ ศ            (ค.ศ.
กฏบัตรอาเซียน
                 ฏ
ประชาคมอาเซยนประกอบดวย เสาหลก (pillars)
ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วย ๓ เสาหลัก ( ill )
• ประชาคมความมันคงอาเซียน (ASEAN Security
  ประชาคมความมนคงอาเซยน
                ่
  Community–ASC)
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
  Community-AEC)
• ประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural
  ประชาคมสงคม-วฒนธรรมอาเซยน           Socio-Cultural
  Community-ASCC)
กฏบัตรอาเซียน
                      ฏ
• การประชมผ้ นําอาเซียน ครังที่ 10 เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2547 ที่
  การประชุมผู าอาเซยน ครงท เมอ พฤศจกายน
                               ้                           ท
  เวียงจันทน์ ผู้นําอาเซียนได้ รับรองและลงนามเอกสาร
   – แผนปฏิบติการของประชาคมความมันคงอาเซียน
                ั                      ่
   – กรอบความตกลงวาดวยสนคาสาคญทชวยเรงรดความรวมมอดานสนคา
                       ่ ้ สิ ้ สํ ั ี่ช่ ่ ั          ่ ื ้ สิ ้
     และบริ การ 11 สาขา (Wood-based products and automotives,
     Rubber-based products and textiles and apparels, Agro-based
     products and fisheries, Electronics, e-ASEAN and healthcare, Air
     Travel and tourism) ในปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ.2010)
   – แผนปฏิบติการประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน
     แผนปฏบตการประชาคมสงคม-วฒนธรรมอาเซยน
              ั
กฏบัตรอาเซียน
                         ฏ
• การประชมผ้ นําอาเซียน ครังที่ 10 เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2547 ที่
  การประชุมผู าอาเซยน ครงท เมอ พฤศจกายน
                               ้                           ท
  เวียงจันทน์ ผู้นําอาเซียนได้ รับรอง
   – แผนปฏิบติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme - VAP) เป็ นแผนดําเนิน
             ั
     ความร่วมมือในช่วงปี พ.ศ. 2547-2553
   – กําหนดแนวคิดหลัก “Towards shared prosperity destiny in an integrated,
     peaceful and caring ASEAN Community”
                                  Community
   VAP จึงเท่ากับเป็ นการจัดลําดับความสําคัญของแผนงานและ
  โครงการของประชาคมอาเซียนที่จะเร่งปฏิบตเพื่อให้ เป็ นไปตาม
                                           ัิ
  แนวคดหลกดงกลาว
  แนวคิดหลักดังกล่าว
โครงสร้ างประชาคมอาเซียน


    APSE       AEC       ASCC
   ประชาคม              ประชาคม
               ประชาคม
   ด้ าน ความ              ด้ าน
                 ด้้ าน
   มั่นคงและ               สังคม
               เศรษฐกิจ
    การเมือง            วัฒนธรรม
   Ten Nations One community
ทําไมต้ องประชาคมอาเซียน ?
ข้ อมูลพืนฐาน
                                 ้ ฐ
•   พืนที่ : รวม 4,479,210.5 ตร.กม. (2,778,124.7 ตร.ไมล์)
      ้
•   ประชากร : 2553 (ประเมิน) 601 ล้ านคน
•   ความหนาแน่่ น : 135 คน/ตร.กม. (216 คน/ตร.ไมล์์)
                                                ไ
•   จีดพี (อํานาจซือ) : 2553 (ประมาณ) รวม $3,084 พันล้ าน, ต่อหัว $5,131
        ี (          ้         (        )
•   จีดพี (ราคาตลาด) : 2553 (ประมาณ) รวม $1,800 พันล้ าน, ต่อหัว $2,995
         ี
•   ศาสนา : อิสลาม พุทธ คริ สต์ และฮินดู
•   คาขวญ One
    คําขวัญ : “One Vision, One Identity, One Community
                                              Community”
    ประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สด
                           ุ
    ประเทศคริ สเตียนที่ใหญ่ท่ีสดในเอเชีย
                                ุ
               Source : http://en.wikipedia.org/wiki/Association_of_Southeast_Asian_Nations
ข้ อมูลพืนฐาน
                        ้ ฐ
สหรัฐอเมริกา                      จีน
 แคนาดา                          เกาหลีีใต้้
 ออสเตรเลย
 ออสเตรเลีย                      ญปุ
                                 ญี่ ป่ น
 นิวซีแลนด์                      รัสเซีย
อินเดีย                          สหภาพยุโรป
ปากีสถาน (คู่เจรจาเฉพาะด้ าน)     โครงการเพื่ อการพัฒนาแห่ง
                                สหประชาชาต
                                สหประชาชาติ
ความเข้ มแข็งของประชาคมอาเซียน
• ส่งเสริ มใ ้ เกิดการขยายตัวทางด้้ านการค้้ าและการลงทุน
           ให้
   – ลดอปสรรคในการเข้ าส่ตลาด ทังมาตรการด้ านภาษี และมาตรการที่ไม่ใช่
     ลดอุปสรรคในการเขาสู         ทงมาตรการดานภาษ และมาตรการทไมใช
                                  ้
     ภาษี
   – ผู้บริ โภครวมประมาณ 600 ล้ านคน
   – ยิ่งผลิตมาก ตนทุนจะยงลดลง
     ยงผลตมาก ต้ นทนจะยิ่งลดลง
• ลดการพึงพาตลาดในประเทศที่ 3
         ่
   – ตลาดส่งออกสินค้ าและบริ การ และการนําเข้ าวัตถุดิบ
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




        ยุคสงครามเยน
        ยคสงครามเย็น
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




       ยุคหลงสงครามเยน
       ยคหลังสงครามเย็น
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




         ทศวรรษหนา
         ทศวรรษหน้ า
Source : Dr. Suvit  Maesincee ‐ Thailand in the New Global Landscape
ปัญหาการซ้ อนทับของสถาปัตยกรรมในภูมภาค
                                   ิ




                                Source : http://csis.org/publication/new-paradigm-apec
ปั ญหาการซ้ อนทับของสถาปั ตยกรรมในภูมภาค
                                          ิ

• มีการรวมกลุมประเทศเข้ าด้ วยกันเป็ นจํานวนมาหลายกลุม
                ่                                      ่
• วัตถุประสงค์์เพื่ือรัักษาผลประโยชน์์ของชาติจนเองโดยการเพิิ่ม
    ั                        ป โ             ิ    โ
  อานาจการตอรองดวยการเขารวมกบประเทศอนๆ
  อํานาจการต่อรองด้ วยการเข้ าร่วมกับประเทศอื่นๆ
• กลุมที่เข้ มแข็งมักจะถูกแทรกแซงโดยประเทศมหาอํานาจหรื อ
      ุ่                  ู
  กลุมประเทศอื่นๆ
      ่
บทบาทของประเทศมหาอานาจและ
บทบาทของประเทศมหาอํานาจและ
  ความเข้ มแข็งของอนุุภมภาค
                       ู ิ
ความเข้ มแข็งของอนุุภมภาค
                           ู ิ
กลุุ่มประเทศลุุ่มนําโขง (Greater Mekong Sub-region)
                     ้      (              g         g )
• ประกอบด้ วย 6 ประเทศคือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม
  กัมพูชา ลาว พม่า
• มีประชากรรวมกัน 250 ล้ านคน
  มประชากรรวมกน ลานคน
• มีพื ้นที่รวมกัน 2.3 ล้ านตารางกิโลเมตร (เทียบได้ กบยุโรปตะวันตก)
                                                     ั ุ
• มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และเป็ นภูมิภาคสําคัญทางภูมิรัฐศาสตร์
  (geopolitics) ของเอเชีีย
• หากมองในมิตภมรัฐศาสตร์ แล้ วเปรี ยบได้ กบเป็ น Heart Land ของ
  หากมองในมตภูมิรฐศาสตรแลวเปรยบไดกบเปน
                   ิ                          ั
  ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
บทบาทของประเทศมหาอํานาจ
• ประเทศมหาอํานาจหรื อมีศกยภาพสง รวมทังกล่มประเทศ (องค์กร
  ประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุ
                                   ั                  ้         (องคกร
  เหนือรัฐ) มีความต้ องการเข้ ามีปฏิสมพันธ์กบ อาเซียน โดยการเจรจา
                                         ั       ั
  ในลักษณะทวิภาคี กับอาเซียน
•ปประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุมป
                 ํ           ื ี ั                 ั ้ ่ ประเทศ ( ์กร
                                                                (องค์
  เหนือรัฐ) เหล่านี ้ได้ แก่ สหรัฐอเมริ กา จีน สหภาพยุโรป อินเดีย ญี่ปน
                                                         ุ            ุ่ ุ
  เกาหลี ฯลฯ
บทบาทของประเทศ
     มหาอานาจและ
     มหาอํานาจและ
ความเข้ มแข็งของอนุภมภาค
                    ู ิ
บทบาทของประเทศหาอํานาจ
           และ
           แล
ความเข้ มแข็งของอนุภมิภาค
                    ู
กรณีพพาทหมู่เกาะในทะเลจีนใต้
     ิ
การเป็ นสมาชิก G20 ของอินโดนีเซีย
ปญหาการเคลอนยายแรงงาน
ปั ญหาการเคลื่อนย้ ายแรงงาน
ปั ญหาการเคลื่อนย้ ายแรงงาน
ปั ญหาการสร้ างเขื่อนของจีน
ปญหาการสรางเขอนของจน
ความขดแยงระหวางอนโดนเซยกบมาเลเซย
ความขัดแย้ งระหว่ างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย
ความขัดแย้ งบริเวณชายแดน ไทย - กัมพูชา
ปั ญหาความเข้ มแข็งของ 3 เสาหลัก



     APSE          AEC        ASCC
      2             1          3
     ประชาคม
     ป                        ประชาคม
                              ป
                  ประชาคม
     ด้ าน ความ                  ด้ าน
                    ด้ าน
     มั่นคงและ                   สังคม
                  เศรษฐกิจิ
      การเมือง                วัฒนธรรม

     Ten Nations One community
ปั ญหาความเข้ มแข็งของ 3 เสาหลัก
http://www.facebook.com/photo.php?fbid=209779255769459&set=a.15553250786080
1.39245.151847981562587&type=1&theater
การเชื่อมโยงทางบก
• ไทยเป็ นจุดศูนย์การกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทําให้ มี
            ุ ู               ู
  ความได้ เปรี ยบทางภูมิรัฐศาสตร์
• ไ ีความพร้ อมทางโครงสร้ างพืืนฐานของประเทศ
  ไทยมี                           ้
• ไทยมีความพร้ อมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกิจ
  ไทยมความพรอมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกจ
• ไทยมีความพร้ อมในเรื่ องการท่องเที่ยวและการบริ การ
• ภาคเอกชนของไทยมีความเข้ มแข็ง
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง
                 ฐ        ู ิ            ้
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง (GMS Economic Corridors)
                ฐ        ู ิ               ้  (                   )
• มีเปาหมายเพื่อพัฒนาการค้ า การลงทุน ในภูมิภาคนี ้
         ้
• ได้ รับเงินอุดหนุนจาก ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรื อ ADB
  (Asian Development Bank) ในการพัฒนาสาธารณปโภคขันพื ้นฐาน
                                 ในการพฒนาสาธารณูปโภคขนพนฐาน   ้
  หลายแขนง โดยเฉพาะเส้ นทางคมนาคมทางถนน
• รวมถึงระบบไฟฟา โทรคมนาคม สิงแวดล้ อม และกฎหมาย ฯลฯ
                    ้                   ่
• เริิ่ มปี 1998 ใ ี่ประชุมรััฐมนตรีี ของประเทศลุมนํําโ ี่มะนิิลา
                 ในที                     ป       ่ ้ โขงที
• ประเทศไทยได้ ลงนามในกรอบความร่วมมือตังแต่ปี 2535
  ประเทศไทยไดลงนามในกรอบความรวมมอตงแตป          ้
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง
           ฐ        ู ิ            ้
               เส้ นทางคมนาคมใน GMS
               Economic Corridors แบ่งออกเป็ น 3
               สวนใหญๆ
               ส่ ใ ่ ตามภูมิภาค ไ ้ ่
                                   ไดแก
               • North-South Economic Corridor
               • East-West Economic Corridor
               • Southern Economic Corridor

                 แต่ละส่วนจะมีเส้ นทางย่อยๆ ของตัวเอง
                                          ๆ
                 เกือบทุกเส้ นผ่านประเทศไทย
North-South Economic Corridor (NSEC)
              • เน้ นการเชื่อมต่อจีนตอนใต้ (มณฑล
                                           (
              ยูนนาน) เข้ ากับภูมิภาคเอเชียตะวันออก
                  ี ใ้ ่
              เฉยงใตผานถนนในแนวเหนอ-ใต้
                                ใ        ื ใ
              • จดเริ่ มต้ นของถนนในแนวเหนือ-ใต้
                   ุ
              คือ เมืองคุนหมิง ส่วนจุดปลายจะแยก
              เป็ นสองสายคืือป
               ป็              ประเทศไทย และ
                                      ไ
              ประเทศเวียดนาม
Western Subcorridor : R3
         แบ่งออกเป็ น 3 เส้ นย่อย ดังนี ้
         • เส้ นทางสายตะวันตก (Western
         Subcorridor) เริ่ มจากคุนหมิง มายัง
         เชียงราย และลงมาถึงกรงเทพ โดยมี
                                  ุ
         ส่วนที่ผานลาวและพม่าเล็กน้ อย
                 ่
Central Subcorridor
      •เส้ นทางสายกลาง (Central
                            (
      Subcorridor) เริ่ มจากคุนหมิงแต่ไป
      สนสุ ี่ฮ
      สิ ้ สดทฮานอย เมองหลวงของ
                          ื
      เวียดนาม โดยจะเชื่อมต่อกับทางหลวง
      สายเอเชีย A1 ที่วิ่งในทิศเหนือ-ใต้ ของ
      ประเทศเวยดนามทเมองฮานอย
      ประเทศเวียดนามที่เมืองฮานอย
Eastern Subcorridor
      •เส้ นทางสายตะวันออก (Eastern
                                (
      Subcorridor) เริ่ มจากเมืองหนานหนิง
      ในมณฑลกวางส (G
      ใ             ่ สี (Guangxi) ของ
                                  i)
      ประเทศจีนมายังเมืองฮานอย โดยเลือก
      ได้ วาจะเป็ นเส้ นทางเลียบชายทะเล หรื อ
           ่
      เสนทางในทวป
      เส้ นทางในทวีป
East-West Economic Corridor (EWEC)
             •เส้ นทางแนวตะวันออก-ตะวันตก เป็ นการ
             “ตัดขวาง” เชื่อมระหว่างสองมหาสมุทรคือ
             มหาสมุทรแปซฟกทางตะวนออก
             มหาสมทรแปซิฟิกทางตะวันออก และ
             มหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก
             •เส้้ นทางกลุม EWEC มีีเส้้ นเดีียว ไม่มีเส้้ น
                           ่                     ไ
             ย่อย จุดเริ่ มต้ นคือเมืองดานังในเวียดนาม
             (ซึงเป็ นเมืองท่าสําคัญของเวียดนาม) ตัด
                ่
             ผ่านลาวและไทย มายังเมองเมาะละแหม่ง
                  นล วแล ไ ม เมื เม ล แ ม
             หรื อเมาะลําไย (Mawlamyine) ในพม่า
East-West Economic Corridor (EWEC)
                                        • จุดข้ ามแดนสําคัญในเส้ นทาง R2 คือ
                                            ุ
                                        สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่สองที่ จ.
                                        มุกดาหาร (สรางเสรจแลว) กบสะหวนนะเขต
                                        มกดาหาร (สร้ างเสร็ จแล้ ว) กับสะหวันนะเขต
                                        และด่านที่ อ.แม่สอด จ.ตาก กับเมืองเมียวะ
                                        ดของพมา
                                        ดีของพม่า
                                        • จังหวัดที่มีเส้ นทาง R2 ผ่านคือ ตาก
                                        สุโขทัย พิษณุโลก อ.หล่มสัก อ.ชุมแพ จ.
                                        ขอนแก่น กาฬสินธ์ุ มกดาหาร
                                           นแ           สน มุ        ร

ประเมนการขยายตวทางเศรษฐกจหลงมเสนทาง
ประเมินการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังมีเส้ นทาง
R2 (ภาพจาก ADB)
East-West Economic Corridor (EWEC)
             • เชื่อมต่อ ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม แบ่งเป็ น
                                   ู
             4 เส้ นทางย่อย เรี ยงตามแนวบน-ล่าง

             • เส้ นทางสายเหนือ (Northern
             Subcorridor) เริ่ มจากกรุงเทพ ไปยังอรัญ
             ประเทศ (ส่วนนี ้จะเป็ นเส้ นทางเดียวกับ
                       (
             เส้ นทางสายกลาง) แต่เมื่อเข้ าเขตกัมพูชา
             แลวจะแยกขนเหนอ ผ่านเสียมเรี ยบ
             แล้ วจะแยกขึ ้นเหนือ ผานเสยมเรยบ และไป
             สุดที่เมือง Quy Nhon ทางตอนกลางของ
             เวีียดนาม
East-West Economic Corridor (EWEC)
             • เส้ นทางสายกลาง (Central Subcorridor)
             เริ่ มจากกรุงเทพ ผ่านพนมเปญ ไปยังโฮจิ
             มหนซต และสุดทเมองหวุงเตาหรอวงเทา
             มิห์นซิตี ้ และสดที่เมืองหวงเต่าหรื อวังเทา
             (Vang Tau) ริ มชายทะเลเวียดนาม
             • เส้้ นทางเลีียบชายฝั่ งด้้ านใต้้ (Southern
                                            ใ
             Coastal Subcorridor) เริ่ มจากกรุงเทพ ผ่าน
             ทางภาคตะวันออกของไทยเลียบอ่าวไทย มา
             ออกที่ จ.ตราด ข้ ามม งเ
                          ร      มมายั เกาะกงของกัมพชา     ู
             และไปสุดที่ปลายแหลมของเวียดนามที่เมือง
             Nam Can
East-West Economic Corridor (EWEC)
             • เส้ นทางเชื่อมภายในทวีป (Intercorridor
             Link) เป็ นเส้ นทางแนวตังผ่านกัมพูชาและ
                                     ้
             ลาว โดยจะเชื่อมเส้ นทาง 3 เส้ นก่อนหน้ า
                   โดยจะเชอมเสนทาง เสนกอนหนา
             (และเส้ นทางหลักสาย East-West) ใน
             แนวดง
             แนวดิ่ง
รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์
            • เป็ นส่วนหนึงของเครื อข่ายทางรถไฟฟั่ น
                             ่
            หย่าสูเ่ อเซียตะวันออกเฉียงใต้
            •ผ่านชายแดนจีีน-ลาว ผ่านกรุงเทพฯ ของ
            ไทย กรงกัวลาลัมเปอร์ ของมาเลเซีย
                     ุ
            • ระยะยาวทังหมด 3,900 กิโลเมตร
                           ้
            • เดินทางจากคุนหมิงไปยังสิงคโปร์ เพียงใช้
            เวลา 10 ชัวโมง
                       ชวโมง
                         ่
รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์
            • นอกจากนี ้ยังมีเครื อข่ายทางรถไฟความเร็วสูง
                                                        ู
            จีน-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทังเส้ นทาง
                                               ้
            ตะวนตกกบเสนทางกลาง คือ เสนทางคุนหมน
            ตะวันตกกับเส้ นทางกลาง คอ เส้ นทางคนหมิน-
            กรุงย่างกุ้ง กับเส้ นทางเมืองคุนหมิง-กรุง
            เวยงจนทน-กรุงเทพฯ-กวลาลมเปอร-สงโคปร
            เวียงจันทน์ กรงเทพฯ กัวลาลัมเปอร์ สิงโคปร์
            • ส่วนเส้ นทางตะวันออก จีน-ฮานอย-โฮจิมินห์-
            พนมเปญ-กรุงเทพฯ ยังอยูในช่วงการพิจารณา
                                        ่
            หลังจากทางรถไฟความเร็ วสงฟั่ นหยา
              ล           รถไ ว มเรวสู
การเชื่อมโยงทางทะเล




เส้ นทางคมนาคมทางทะเล
ช่ องแคบมะละกา
การประกอบอาชีพเสรีตามกรอบของอาเซียน

•   วิศวกร             •   แพทย์
•   พยาบาล             •   ทนตแพทย
                           ทันตแพทย์
•   สถาปนก
    สถาปนิก            •   บญช
                           บัญชี
•   การสํารวจ          •   บริ การด้ านท่องเที่ยว
ภัยคุุกคามที่จะเกิดขึน
                                   ้
•   การไหลบาของแรงงานและการย้้ ายถนฐาน
       ไ ่                        ิ่
•   อาชญากรรมขามชาต
    อาชญากรรมข้ ามชาติ
•   ยาเสพติด
•   การก่อการร้ าย
•   อาวุธสงคราม
•   การแยงชงทรพยากรทางทะเล
    การแย่งชิงทรัพยากรทางทะเล
•   โจรสลัด
ปั ญหามุุมมองด้ านความมั่นคง
มุุมมองด้ านความมั่นคงในปั จจุุบน
                                ั
การร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
• การประชุม ADMM นน ไ ้ ํ
       ป ช             ั ้ ไดกาหนดใหมการประชุมอก 2 เวที เพอ
                                  ใ้ ี ป ช ี              ื่
  เป็ นการรอบรับการประชุม ADMM คือ
   – “การประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน” (ASEAN Defence Senior
     Officials’ Meeting: ADSOM) เป็ นการประชุมในระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส
                                                 ุ                     ุ
     (ปลัดกระทรวงกลาโหม หรื อเทียบเท่า) มีหน้ าที่หลักคือเพื่อเตรี ยมการสําหรับการ
     ประชุม ADMM โดยทัวไปจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้ อการหารื อ และ
                             ่
     พิจารณาแก้ ไขร่างเอกสารต่าง ๆ ที่จะให้ รัฐมนตรี กลาโหมของประเทศสมาชิกอาเซียน
     รับรองในระหว่างการประชุม ADMM
ความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
   – ก่อนการประชม ADSOM กําหนดให้ มี ”การประชมคณะทํางานเจ้ าหน้ าที่อาวโส
     กอนการประชุม              กาหนดใหม ”การประชุมคณะทางานเจาหนาทอาวุโส
     กลาโหมอาเซียน” (ADSOM Working Group: ADSOM WG) ซึงเป็ นการประชุม
                                                                    ่
     คณะทางาน(ระดบผู านวยการสานกนโยบายและแผนกลาโหม หรอผู
     คณะทํางาน(ระดับผ้ อํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม หรื อผ้ แทน) เพื่อ
                                                                        เพอ
     เตรี ยมการด้ านสารัตถะและธุรการสําหรับการประชุม ADSOM และการประชุม
     ADMM ซึงที่ประชม Working Group จะร่วมกันกําหนดหัวข้ อหรื อการหารื อ
             ซงทประชุม
              ่                            จะรวมกนกาหนดหวขอหรอการหารอ
     เตรี ยมการด้ านเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุม รวมทังด้ านธุรการอื่นๆ
                                                     ้
ความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
•ใ ้
  ในหวงระหวางการประชุม ADMM แตละปนน หากประเทศสมาชก
               ่       ป ช                ่ ปี ั ้     ป ศส ชิ
  อาเซียนพิจารณาแล้ วเห็นว่ามีความจําเป็ นเพื่อให้ รัฐมนตรี กลาโหม
  ประเทศสมาชิกอาเซียน หารื อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น
  เฉพาะเรองใดเรองหนงเปนพเศษนน อาจจดใหมการประชุมรฐมนตร
  เฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึงเป็ นพิเศษนัน อาจจัดให้ มีการประชมรัฐมนตรี
                          ่            ้
  กลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็ นทางการ (ADMM Retreat) ขึ ้นได้
ความร่ วมมือด้ านการทหารในอาเซียน
• การให้ ความช่วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบติ
                              ุ                        ั
  (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR)
          ่
• ความมันคงทางทะเล (Maritime Security)
• การต่อต้ านการก่อการร้ าย (Counter - Terrorism)
  การตอตานการกอการราย
• การปฏิบตการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping)
       ฏ ัิ
• ความร่วมมือทางการแพทย์ทหาร (Military Medicine)
การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา
            • Malacca Strait Sea Patrol (MSSP): เป็ น
            การร่วมมือกันระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและ
            อนโดนเซยในการสงเรอรบเขาลาดตระเวน
            อินโดนิเซียในการส่งเรื อรบเข้ าลาดตระเวน
            และทําการฝึ กในช่องแคบมะละกา
            • Eyes-in-the Sky (EiS): เป็็ นการร่วมมืือกัน
            ระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและอินโดนิเซียใน
            การส่งเครื่ องบินเข้ าลาดตระเวนในช่องแคบ
            มล
            มะละกา
            • MSP Intelligence Exchange Group:
            เป็ นการแลกเปลี่ยนข้้ อมูลการข่าวให้้ กบการ
             ป็           ป ี               ่ ใ ั
            ปฏิบติการในช่องแคบ
                  ั
การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา


                      ภูเก็ต

ไทยรับผิดชอบตอนบน
                           5
   (SECTOR 5)                  4

                                   3
                                       2

                                           1
ยุทธศาสตร์ “3 ภาพ 4 ทิศ”
ยุทธศาสตร์ “3 ภาพ 4 ทิศ”
กําลังอํานาจที่สาคัญในการเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน
                      ํ
• Hard Power                     • Smart Power
   – โครงสร้ างพื ้นฐาน            – นวัตกรรม
   – ขีีดความสามารถทางเศรษฐกิจ     – ทรััพย์์สนทางปั ญญา
                                              ิ   ปั
   – ขีดความสามารถทางทหาร          – องค์ความรูู้
• Soft Power
   – คน
      • ทัศนคติ
        ทศนคต
      • ขีดสมรรถนะ
   – นโยบาย กฏระเบีียบ
แนวทางขันบันได 5 ภาพ
                        ้
• คณภาพ : ประชาชนชาวไทยมีคณภาพชวตทดี
  คุณภาพ : ประชาชนชาวไทยมคุณภาพชีวิตที่ด
• มิตรภาพ : ประชาชนชาวไทยมีมิตรภาพที่ดีตอกันเองและมี
                                             ่
  มิตรภาพประชาชนประเทศอื่นๆ
• ภารดรภาพ : ประชาชนชาวไทยมีีความเอืืออาทรเป็ นพี่ีน้ องกันทัง้ั
                 ป               ไ         ้   ป็         ั
  ภายในประเทศและกับประชาชนประเทศอื่นๆ
• เสถียรภาพ : ความเอื ้ออาทรของสมาชิกในสังคมไทยทําไห้
  สังคมไทยมีีเสถีียรภาพร่่วมกับสังคมอืื่นๆ
    ั ไ                       ั ั
• สันติภาพ : ประเทศไทยมีสนติภาพในการอย่ร่วมกบประเทศอนๆ
  สนตภาพ : ประเทศไทยมสนตภาพในการอยู วมกับประเทศอื่นๆ
                               ั
แนวทางขันบันได 5 ภาพ
        ้
ยุทธศาสตร์ “ย่ างก้ าวเข้ าประชาคมอาเซียน”
• สร้ าง: สร้ างกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ ที่นําไปส่ความเขมแขงของ
  สราง: สรางกจกรรมหลกทสาคญตางๆ ทนาไปสู วามเข้ มแข็งของ
  ประเทศในการเข้ าสูประชาคมอาเซียน
                        ่
• เสริม : เสริ มสร้ างกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ ที่มีอยูแล้ วให้ มีความ
                                                        ่
  เขมแขงอยางตอเนอง
  เข้ มแข็งอย่างต่อเนื่อง
• เชื่อม : เชื่อมกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ เข้ าด้ วยกันเพื่อให้ เกิดการ
                                          ๆ
  ทํางานในลักษณะบูรณาการ
• ขยาย : ขยายกิิจกรรมหลักที่ีสําคัญต่างๆ จากที่ีมีอยูแล้้ วให้้ เพิิ่มมาก
                             ั      ั                     ่ ใ
  ขึ ้น เพื่อการขยายตัวในวงกว้ าง
ยุทธศาสตร์ “ย่ างก้ าวเข้ าประชาคมอาเซียน”
บทบาทของ พล.ร.9 ในการเตรี ยมความพร้ อม
• โครงสร้ างและระบบ : สิงแวดล้ อมและระบบเอื ้อให้ เกิดการ
                             ่
  โครงสรางและระบบ : สงแวดลอมและระบบเออใหเกดการ
  เปลียนแปลงที่มีความสอดคล้ องกับบริ บทของพลวัตรที่เกิดขึ ้น
       ่
• ข้ าราชการ : มีขีดความสามารถและทักษะในด้ านต่างๆ สูง
  เป็ นตัวอย่างทีี่ดี และสามารถเป็ นผู้นําการเปลียนแปลงได้
                                                 ี่        ไ
• ครอบครว: มีีความรู้ ความเข้้ าใ
            ั                    ใจรวมถึงเตรีี ยมตัวเพืื่อรองรัับ
                                           ึ        ั
  เปลียนแปลงที่จะเกิดขึ ้น
         ่
คาถาในการเตรียมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน



                       ่
“ตั้งหลัก เตรี ยมตัว ตืนร้ ู ติดตาม”
 ตงหลก เตรยมตว ตนร ตดตาม


                                       82
บทส่ งท้ าย

สําคัญที่สุด ขออย่ าให้ เป็ น


     “ร้ ู เทาเขา แตร้ ู ไมทนเขา
      ร ท่ าเขา แต่ ร ม่ ทันเขา”

                                   83
Thailand and asean
Thailand and asean

More Related Content

What's hot

Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14Kaizaa
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย irchula2014
 
Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market prapawee
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรpattarachat
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
Asean
Asean Asean
Asean Kaizaa
 
Asean111
Asean111Asean111
Asean111Kaizaa
 
Asean 141
Asean 141Asean 141
Asean 141Kaizaa
 
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and SingaporeStudy Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and SingaporePrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (11)

Asean 62-no14
Asean 62-no14Asean 62-no14
Asean 62-no14
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean
Asean Asean
Asean
 
Asean111
Asean111Asean111
Asean111
 
Asean 141
Asean 141Asean 141
Asean 141
 
Asean community
Asean communityAsean community
Asean community
 
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and SingaporeStudy Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
 

Similar to Thailand and asean

ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาPrachoom Rangkasikorn
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]Chatuporn Chanruang
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนSasitorn Sangpinit
 

Similar to Thailand and asean (20)

กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean community
Asean communityAsean community
Asean community
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
Mix1
Mix1Mix1
Mix1
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 

More from Teeranan

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55Teeranan
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar warTeeranan
 

More from Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 

Thailand and asean

  • 1. พันเอก ดร. ธีรนันท์์ นันทขว้้ าง ดร. รองผู้อานวยการกองการเมืองและการทหาร, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ํ งและการทหาร, วิ ้ สถาบันวิชาการปองกัันป ั ิ ป้ ประเทศ กองบััญชาการกองทัพไ ั ไทย Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net  Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net  teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info Twitter : @tortaharn @tortaharn Facebook : http://facebook.com/tortaharn http://facebook.com/dr.trrtanan
  • 2. กรอบการนําเสนอ • ความเป็็ นมา • ทาไมตองประชาคมอาเซยน ทําไมต้ องประชาคมอาเซียน ? • ความท้ าทายของประชาคมอาเซียน • ไทยกับประชาคมอาเซียน • กองทัพไทยกับประชาคมอาเซียน • แนวทางการรองรบประชาคมอาเซยน แนวทางการรองรับประชาคมอาเซียน • สรุุป
  • 3.
  • 4. ความเป็ นมา สมาคมประชาชาตแหงเอเชยตะวนออกเฉยงใต สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) • ก่อตังขึ ้้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เมื่อ ้ วนท สงหาคม วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยสมาชิกผ้ ก่อตังมี 5 ประเทศ ได้ แก่ อินโดนิเซีย โดยสมาชกผู อตงม ้ ไดแก อนโดนเซย ฟิ ลปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย ิ • ต่อมาได้ มีประเทศต่างๆ เข้ าเป็ นสมาชิกเพิ่มเติม ได้ แก่ บรูไนดารุสซาลาม ( (เป็ นสมาชิกเมื่อ 8 ม.ค. 2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) ลาว ) ( ) พม่า (วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา (วันที่ 30 เม.ย. 2542) ตามลาดบ จากการรับกัมพชาเข้ าเป็ นสมาชิก ทําให้ อาเซียนมีสมาชิกครบ ตามลําดับ จากการรบกมพูชาเขาเปนสมาชก ทาใหอาเซยนมสมาชกครบ 10 ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
  • 5. วัตถุุประสงค์ การก่ อตัง ้ • ส่งเสริ มความร่วมมือและความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจสังคม สงเสรมความรวมมอและความชวยเหลอทางเศรษฐกจสงคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการบริ หาร • ส่งเสริ มสันติภาพและความมันคงของภูมิภาค ส่งเสริ มความร่วมมือ ่ ระหวางอาเซยนกบตางประเทศและองคกรระหวางประเทศ ระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ สัญลักษณ์ของอาเซียน
  • 6. ธงอาเซียนและสัญลักษณ์ ของอาเซียน • ธงอาเซียนแสดงถึงความมันคง สนตภาพ ความเป็ นเอกภาพ และ ธงอาเซยนแสดงถงความมนคง สันติภาพ ความเปนเอกภาพ ่ พลวัตของอาเซียน ิ • ใช้ สีที่ปรากฏอยูบนธงของธงประเทศสมาชิกอาเซียนทังหมด ่ ้ ้ • สีนําเงิน หมายถึง สันติภาพและเสถียรภาพ • สีแดงคือความกล้ าหาญและการมีพลวัติ สแดงคอความกลาหาญและการมพลวต • สีขาวคือความบริ สทธิ์ ุ • สีเหลืองหมายถึงความเจริ ญรุ่งเรื อง
  • 7. ธงอาเซียนและสัญลักษณ์ ของอาเซียน • รวงข้ าวสีเหลือง 10 ต้ น เป็ นตัวแทนของประเทศสมาชิกทัง้ 10 ประเทศที่ร่วมก่อตังอาเซียน ้ • วงกลมที่อยูรอบรวงข้ าวนันแสดงถึงความเป็ นเอกภาพ ความ ่ ้ เปนหนงเดยวและความสมานฉนทของอาเซยน เป็ นหนึงเดียวและความสมานฉันท์ของอาเซียน ่
  • 8. กลไกการดําเนินงาน • ระดับนโยบาย : มาจากผลการประชุมหารื อในระดับหัวหน้ ารัฐบาล ุ ระดับรัฐมนตรี และเจ้ าหน้ าที่อาวุโสอาเซียน การประชุมสุดยอดเป็ น การประชุมใ ป ช ในระดบสูงสดเพอกาหนดแนวนโยบายในภาพรวมและ ั ส สุ ื่ ํ โ ใ เป็ นโอกาสที่ประเทศสมาชิกจะได้ ร่วมกันประกาศเปาหมายและ ้ แผนงานของอาเซียนในระยะยาว • ระดัับปฏิบติ : ดํําเนิินการตามแผนปฏิิบตการ (Action Plan) ป ิ ั ป ัิ แถลงการณ์ร่วม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความ ฏญญ ตกลง (Agreement) หรื ออนุสญญา (Convention) เช่น Hanoi ั Declaration, Hanoi Plan A ti D l ti H i Pl off Action และ ASEAN Convention on C ti Counter Terrorism เป็ นต้ น
  • 9. กฏบัตรอาเซียน ฏ • ธันวาคม 2540 ผ้ นําอาเซยนไดรบรองเอกสาร วสยทศน ธนวาคม ผู าอาเซียนได้ รับรองเอกสาร วิสยทัศน์ ั อาเซียน 2020 เพื่อเป็ น – วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - A Concert of Southeast Asian N i A i Nations – หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต - A Partnership in Dynamic ุ Development – ม่งปฏิสมพันธ์กบประเทศภายนอก - An Outward Looking ASEAN มุ ปฏสมพนธกบประเทศภายนอก ั ั Outward-Looking – ชุมชนแห่งสังคมที่เอื ้ออาทร - A Community of Caring Societies
  • 10. กฏบัตรอาเซียน ฏ • การประชมผ้ นําอาเซียน ครงท่ 9 ระหว่างวันที่ 7 8 ตลาคม การประชุมผู าอาเซยน ครังที ระหวางวนท 7-8 ตุลาคม ้ 2546 ที่บาหลี ผู้นําอาเซียนลงนามในปฏิญญาว่าด้ วยความ ู ฏญญ ร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรื อ Bali Concord II) ใ ในการจัดตัง้ั ป ั ประชาคมอาเซียน (ASEAN ี Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค ศ 2020) ภายในป พ ศ (ค.ศ.
  • 11. กฏบัตรอาเซียน ฏ ประชาคมอาเซยนประกอบดวย เสาหลก (pillars) ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วย ๓ เสาหลัก ( ill ) • ประชาคมความมันคงอาเซียน (ASEAN Security ประชาคมความมนคงอาเซยน ่ Community–ASC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) • ประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural ประชาคมสงคม-วฒนธรรมอาเซยน Socio-Cultural Community-ASCC)
  • 12. กฏบัตรอาเซียน ฏ • การประชมผ้ นําอาเซียน ครังที่ 10 เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2547 ที่ การประชุมผู าอาเซยน ครงท เมอ พฤศจกายน ้ ท เวียงจันทน์ ผู้นําอาเซียนได้ รับรองและลงนามเอกสาร – แผนปฏิบติการของประชาคมความมันคงอาเซียน ั ่ – กรอบความตกลงวาดวยสนคาสาคญทชวยเรงรดความรวมมอดานสนคา ่ ้ สิ ้ สํ ั ี่ช่ ่ ั ่ ื ้ สิ ้ และบริ การ 11 สาขา (Wood-based products and automotives, Rubber-based products and textiles and apparels, Agro-based products and fisheries, Electronics, e-ASEAN and healthcare, Air Travel and tourism) ในปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ.2010) – แผนปฏิบติการประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน แผนปฏบตการประชาคมสงคม-วฒนธรรมอาเซยน ั
  • 13. กฏบัตรอาเซียน ฏ • การประชมผ้ นําอาเซียน ครังที่ 10 เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2547 ที่ การประชุมผู าอาเซยน ครงท เมอ พฤศจกายน ้ ท เวียงจันทน์ ผู้นําอาเซียนได้ รับรอง – แผนปฏิบติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme - VAP) เป็ นแผนดําเนิน ั ความร่วมมือในช่วงปี พ.ศ. 2547-2553 – กําหนดแนวคิดหลัก “Towards shared prosperity destiny in an integrated, peaceful and caring ASEAN Community” Community VAP จึงเท่ากับเป็ นการจัดลําดับความสําคัญของแผนงานและ โครงการของประชาคมอาเซียนที่จะเร่งปฏิบตเพื่อให้ เป็ นไปตาม ัิ แนวคดหลกดงกลาว แนวคิดหลักดังกล่าว
  • 14. โครงสร้ างประชาคมอาเซียน APSE AEC ASCC ประชาคม ประชาคม ประชาคม ด้ าน ความ ด้ าน ด้้ าน มั่นคงและ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม Ten Nations One community
  • 16. ข้ อมูลพืนฐาน ้ ฐ • พืนที่ : รวม 4,479,210.5 ตร.กม. (2,778,124.7 ตร.ไมล์) ้ • ประชากร : 2553 (ประเมิน) 601 ล้ านคน • ความหนาแน่่ น : 135 คน/ตร.กม. (216 คน/ตร.ไมล์์) ไ • จีดพี (อํานาจซือ) : 2553 (ประมาณ) รวม $3,084 พันล้ าน, ต่อหัว $5,131 ี ( ้ ( ) • จีดพี (ราคาตลาด) : 2553 (ประมาณ) รวม $1,800 พันล้ าน, ต่อหัว $2,995 ี • ศาสนา : อิสลาม พุทธ คริ สต์ และฮินดู • คาขวญ One คําขวัญ : “One Vision, One Identity, One Community Community” ประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สด ุ ประเทศคริ สเตียนที่ใหญ่ท่ีสดในเอเชีย ุ Source : http://en.wikipedia.org/wiki/Association_of_Southeast_Asian_Nations
  • 17. ข้ อมูลพืนฐาน ้ ฐ สหรัฐอเมริกา จีน แคนาดา เกาหลีีใต้้ ออสเตรเลย ออสเตรเลีย ญปุ ญี่ ป่ น นิวซีแลนด์ รัสเซีย อินเดีย สหภาพยุโรป ปากีสถาน (คู่เจรจาเฉพาะด้ าน) โครงการเพื่ อการพัฒนาแห่ง สหประชาชาต สหประชาชาติ
  • 18. ความเข้ มแข็งของประชาคมอาเซียน • ส่งเสริ มใ ้ เกิดการขยายตัวทางด้้ านการค้้ าและการลงทุน ให้ – ลดอปสรรคในการเข้ าส่ตลาด ทังมาตรการด้ านภาษี และมาตรการที่ไม่ใช่ ลดอุปสรรคในการเขาสู ทงมาตรการดานภาษ และมาตรการทไมใช ้ ภาษี – ผู้บริ โภครวมประมาณ 600 ล้ านคน – ยิ่งผลิตมาก ตนทุนจะยงลดลง ยงผลตมาก ต้ นทนจะยิ่งลดลง • ลดการพึงพาตลาดในประเทศที่ 3 ่ – ตลาดส่งออกสินค้ าและบริ การ และการนําเข้ าวัตถุดิบ
  • 19.
  • 20. การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์ ิ ู ิ ยุคสงครามเยน ยคสงครามเย็น
  • 21. การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์ ิ ู ิ ยุคหลงสงครามเยน ยคหลังสงครามเย็น
  • 22. การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์ ิ ู ิ ทศวรรษหนา ทศวรรษหน้ า
  • 24.
  • 26. ปั ญหาการซ้ อนทับของสถาปั ตยกรรมในภูมภาค ิ • มีการรวมกลุมประเทศเข้ าด้ วยกันเป็ นจํานวนมาหลายกลุม ่ ่ • วัตถุประสงค์์เพื่ือรัักษาผลประโยชน์์ของชาติจนเองโดยการเพิิ่ม ั ป โ ิ โ อานาจการตอรองดวยการเขารวมกบประเทศอนๆ อํานาจการต่อรองด้ วยการเข้ าร่วมกับประเทศอื่นๆ • กลุมที่เข้ มแข็งมักจะถูกแทรกแซงโดยประเทศมหาอํานาจหรื อ ุ่ ู กลุมประเทศอื่นๆ ่
  • 28. ความเข้ มแข็งของอนุุภมภาค ู ิ กลุุ่มประเทศลุุ่มนําโขง (Greater Mekong Sub-region) ้ ( g g ) • ประกอบด้ วย 6 ประเทศคือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม กัมพูชา ลาว พม่า • มีประชากรรวมกัน 250 ล้ านคน มประชากรรวมกน ลานคน • มีพื ้นที่รวมกัน 2.3 ล้ านตารางกิโลเมตร (เทียบได้ กบยุโรปตะวันตก) ั ุ • มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และเป็ นภูมิภาคสําคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) ของเอเชีีย • หากมองในมิตภมรัฐศาสตร์ แล้ วเปรี ยบได้ กบเป็ น Heart Land ของ หากมองในมตภูมิรฐศาสตรแลวเปรยบไดกบเปน ิ ั ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 29. บทบาทของประเทศมหาอํานาจ • ประเทศมหาอํานาจหรื อมีศกยภาพสง รวมทังกล่มประเทศ (องค์กร ประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุ ั ้ (องคกร เหนือรัฐ) มีความต้ องการเข้ ามีปฏิสมพันธ์กบ อาเซียน โดยการเจรจา ั ั ในลักษณะทวิภาคี กับอาเซียน •ปประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุมป ํ ื ี ั ั ้ ่ ประเทศ ( ์กร (องค์ เหนือรัฐ) เหล่านี ้ได้ แก่ สหรัฐอเมริ กา จีน สหภาพยุโรป อินเดีย ญี่ปน ุ ุ่ ุ เกาหลี ฯลฯ
  • 30. บทบาทของประเทศ มหาอานาจและ มหาอํานาจและ ความเข้ มแข็งของอนุภมภาค ู ิ
  • 31. บทบาทของประเทศหาอํานาจ และ แล ความเข้ มแข็งของอนุภมิภาค ู
  • 33. การเป็ นสมาชิก G20 ของอินโดนีเซีย
  • 39. ปั ญหาความเข้ มแข็งของ 3 เสาหลัก APSE AEC ASCC 2 1 3 ประชาคม ป ประชาคม ป ประชาคม ด้ าน ความ ด้ าน ด้ าน มั่นคงและ สังคม เศรษฐกิจิ การเมือง วัฒนธรรม Ten Nations One community
  • 41.
  • 43. การเชื่อมโยงทางบก • ไทยเป็ นจุดศูนย์การกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทําให้ มี ุ ู ู ความได้ เปรี ยบทางภูมิรัฐศาสตร์ • ไ ีความพร้ อมทางโครงสร้ างพืืนฐานของประเทศ ไทยมี ้ • ไทยมีความพร้ อมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกิจ ไทยมความพรอมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกจ • ไทยมีความพร้ อมในเรื่ องการท่องเที่ยวและการบริ การ • ภาคเอกชนของไทยมีความเข้ มแข็ง
  • 44. ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง ฐ ู ิ ้ ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง (GMS Economic Corridors) ฐ ู ิ ้ ( ) • มีเปาหมายเพื่อพัฒนาการค้ า การลงทุน ในภูมิภาคนี ้ ้ • ได้ รับเงินอุดหนุนจาก ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรื อ ADB (Asian Development Bank) ในการพัฒนาสาธารณปโภคขันพื ้นฐาน ในการพฒนาสาธารณูปโภคขนพนฐาน ้ หลายแขนง โดยเฉพาะเส้ นทางคมนาคมทางถนน • รวมถึงระบบไฟฟา โทรคมนาคม สิงแวดล้ อม และกฎหมาย ฯลฯ ้ ่ • เริิ่ มปี 1998 ใ ี่ประชุมรััฐมนตรีี ของประเทศลุมนํําโ ี่มะนิิลา ในที ป ่ ้ โขงที • ประเทศไทยได้ ลงนามในกรอบความร่วมมือตังแต่ปี 2535 ประเทศไทยไดลงนามในกรอบความรวมมอตงแตป ้
  • 45. ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง ฐ ู ิ ้ เส้ นทางคมนาคมใน GMS Economic Corridors แบ่งออกเป็ น 3 สวนใหญๆ ส่ ใ ่ ตามภูมิภาค ไ ้ ่ ไดแก • North-South Economic Corridor • East-West Economic Corridor • Southern Economic Corridor แต่ละส่วนจะมีเส้ นทางย่อยๆ ของตัวเอง ๆ เกือบทุกเส้ นผ่านประเทศไทย
  • 46. North-South Economic Corridor (NSEC) • เน้ นการเชื่อมต่อจีนตอนใต้ (มณฑล ( ยูนนาน) เข้ ากับภูมิภาคเอเชียตะวันออก ี ใ้ ่ เฉยงใตผานถนนในแนวเหนอ-ใต้ ใ ื ใ • จดเริ่ มต้ นของถนนในแนวเหนือ-ใต้ ุ คือ เมืองคุนหมิง ส่วนจุดปลายจะแยก เป็ นสองสายคืือป ป็ ประเทศไทย และ ไ ประเทศเวียดนาม
  • 47. Western Subcorridor : R3 แบ่งออกเป็ น 3 เส้ นย่อย ดังนี ้ • เส้ นทางสายตะวันตก (Western Subcorridor) เริ่ มจากคุนหมิง มายัง เชียงราย และลงมาถึงกรงเทพ โดยมี ุ ส่วนที่ผานลาวและพม่าเล็กน้ อย ่
  • 48. Central Subcorridor •เส้ นทางสายกลาง (Central ( Subcorridor) เริ่ มจากคุนหมิงแต่ไป สนสุ ี่ฮ สิ ้ สดทฮานอย เมองหลวงของ ื เวียดนาม โดยจะเชื่อมต่อกับทางหลวง สายเอเชีย A1 ที่วิ่งในทิศเหนือ-ใต้ ของ ประเทศเวยดนามทเมองฮานอย ประเทศเวียดนามที่เมืองฮานอย
  • 49. Eastern Subcorridor •เส้ นทางสายตะวันออก (Eastern ( Subcorridor) เริ่ มจากเมืองหนานหนิง ในมณฑลกวางส (G ใ ่ สี (Guangxi) ของ i) ประเทศจีนมายังเมืองฮานอย โดยเลือก ได้ วาจะเป็ นเส้ นทางเลียบชายทะเล หรื อ ่ เสนทางในทวป เส้ นทางในทวีป
  • 50. East-West Economic Corridor (EWEC) •เส้ นทางแนวตะวันออก-ตะวันตก เป็ นการ “ตัดขวาง” เชื่อมระหว่างสองมหาสมุทรคือ มหาสมุทรแปซฟกทางตะวนออก มหาสมทรแปซิฟิกทางตะวันออก และ มหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก •เส้้ นทางกลุม EWEC มีีเส้้ นเดีียว ไม่มีเส้้ น ่ ไ ย่อย จุดเริ่ มต้ นคือเมืองดานังในเวียดนาม (ซึงเป็ นเมืองท่าสําคัญของเวียดนาม) ตัด ่ ผ่านลาวและไทย มายังเมองเมาะละแหม่ง นล วแล ไ ม เมื เม ล แ ม หรื อเมาะลําไย (Mawlamyine) ในพม่า
  • 51. East-West Economic Corridor (EWEC) • จุดข้ ามแดนสําคัญในเส้ นทาง R2 คือ ุ สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่สองที่ จ. มุกดาหาร (สรางเสรจแลว) กบสะหวนนะเขต มกดาหาร (สร้ างเสร็ จแล้ ว) กับสะหวันนะเขต และด่านที่ อ.แม่สอด จ.ตาก กับเมืองเมียวะ ดของพมา ดีของพม่า • จังหวัดที่มีเส้ นทาง R2 ผ่านคือ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก อ.หล่มสัก อ.ชุมแพ จ. ขอนแก่น กาฬสินธ์ุ มกดาหาร นแ สน มุ ร ประเมนการขยายตวทางเศรษฐกจหลงมเสนทาง ประเมินการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังมีเส้ นทาง R2 (ภาพจาก ADB)
  • 52. East-West Economic Corridor (EWEC) • เชื่อมต่อ ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม แบ่งเป็ น ู 4 เส้ นทางย่อย เรี ยงตามแนวบน-ล่าง • เส้ นทางสายเหนือ (Northern Subcorridor) เริ่ มจากกรุงเทพ ไปยังอรัญ ประเทศ (ส่วนนี ้จะเป็ นเส้ นทางเดียวกับ ( เส้ นทางสายกลาง) แต่เมื่อเข้ าเขตกัมพูชา แลวจะแยกขนเหนอ ผ่านเสียมเรี ยบ แล้ วจะแยกขึ ้นเหนือ ผานเสยมเรยบ และไป สุดที่เมือง Quy Nhon ทางตอนกลางของ เวีียดนาม
  • 53. East-West Economic Corridor (EWEC) • เส้ นทางสายกลาง (Central Subcorridor) เริ่ มจากกรุงเทพ ผ่านพนมเปญ ไปยังโฮจิ มหนซต และสุดทเมองหวุงเตาหรอวงเทา มิห์นซิตี ้ และสดที่เมืองหวงเต่าหรื อวังเทา (Vang Tau) ริ มชายทะเลเวียดนาม • เส้้ นทางเลีียบชายฝั่ งด้้ านใต้้ (Southern ใ Coastal Subcorridor) เริ่ มจากกรุงเทพ ผ่าน ทางภาคตะวันออกของไทยเลียบอ่าวไทย มา ออกที่ จ.ตราด ข้ ามม งเ ร มมายั เกาะกงของกัมพชา ู และไปสุดที่ปลายแหลมของเวียดนามที่เมือง Nam Can
  • 54. East-West Economic Corridor (EWEC) • เส้ นทางเชื่อมภายในทวีป (Intercorridor Link) เป็ นเส้ นทางแนวตังผ่านกัมพูชาและ ้ ลาว โดยจะเชื่อมเส้ นทาง 3 เส้ นก่อนหน้ า โดยจะเชอมเสนทาง เสนกอนหนา (และเส้ นทางหลักสาย East-West) ใน แนวดง แนวดิ่ง
  • 55. รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์ • เป็ นส่วนหนึงของเครื อข่ายทางรถไฟฟั่ น ่ หย่าสูเ่ อเซียตะวันออกเฉียงใต้ •ผ่านชายแดนจีีน-ลาว ผ่านกรุงเทพฯ ของ ไทย กรงกัวลาลัมเปอร์ ของมาเลเซีย ุ • ระยะยาวทังหมด 3,900 กิโลเมตร ้ • เดินทางจากคุนหมิงไปยังสิงคโปร์ เพียงใช้ เวลา 10 ชัวโมง ชวโมง ่
  • 56. รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์ • นอกจากนี ้ยังมีเครื อข่ายทางรถไฟความเร็วสูง ู จีน-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทังเส้ นทาง ้ ตะวนตกกบเสนทางกลาง คือ เสนทางคุนหมน ตะวันตกกับเส้ นทางกลาง คอ เส้ นทางคนหมิน- กรุงย่างกุ้ง กับเส้ นทางเมืองคุนหมิง-กรุง เวยงจนทน-กรุงเทพฯ-กวลาลมเปอร-สงโคปร เวียงจันทน์ กรงเทพฯ กัวลาลัมเปอร์ สิงโคปร์ • ส่วนเส้ นทางตะวันออก จีน-ฮานอย-โฮจิมินห์- พนมเปญ-กรุงเทพฯ ยังอยูในช่วงการพิจารณา ่ หลังจากทางรถไฟความเร็ วสงฟั่ นหยา ล รถไ ว มเรวสู
  • 59. การประกอบอาชีพเสรีตามกรอบของอาเซียน • วิศวกร • แพทย์ • พยาบาล • ทนตแพทย ทันตแพทย์ • สถาปนก สถาปนิก • บญช บัญชี • การสํารวจ • บริ การด้ านท่องเที่ยว
  • 60. ภัยคุุกคามที่จะเกิดขึน ้ • การไหลบาของแรงงานและการย้้ ายถนฐาน ไ ่ ิ่ • อาชญากรรมขามชาต อาชญากรรมข้ ามชาติ • ยาเสพติด • การก่อการร้ าย • อาวุธสงคราม • การแยงชงทรพยากรทางทะเล การแย่งชิงทรัพยากรทางทะเล • โจรสลัด
  • 61.
  • 64. การร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) • การประชุม ADMM นน ไ ้ ํ ป ช ั ้ ไดกาหนดใหมการประชุมอก 2 เวที เพอ ใ้ ี ป ช ี ื่ เป็ นการรอบรับการประชุม ADMM คือ – “การประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน” (ASEAN Defence Senior Officials’ Meeting: ADSOM) เป็ นการประชุมในระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส ุ ุ (ปลัดกระทรวงกลาโหม หรื อเทียบเท่า) มีหน้ าที่หลักคือเพื่อเตรี ยมการสําหรับการ ประชุม ADMM โดยทัวไปจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้ อการหารื อ และ ่ พิจารณาแก้ ไขร่างเอกสารต่าง ๆ ที่จะให้ รัฐมนตรี กลาโหมของประเทศสมาชิกอาเซียน รับรองในระหว่างการประชุม ADMM
  • 65. ความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) – ก่อนการประชม ADSOM กําหนดให้ มี ”การประชมคณะทํางานเจ้ าหน้ าที่อาวโส กอนการประชุม กาหนดใหม ”การประชุมคณะทางานเจาหนาทอาวุโส กลาโหมอาเซียน” (ADSOM Working Group: ADSOM WG) ซึงเป็ นการประชุม ่ คณะทางาน(ระดบผู านวยการสานกนโยบายและแผนกลาโหม หรอผู คณะทํางาน(ระดับผ้ อํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม หรื อผ้ แทน) เพื่อ เพอ เตรี ยมการด้ านสารัตถะและธุรการสําหรับการประชุม ADSOM และการประชุม ADMM ซึงที่ประชม Working Group จะร่วมกันกําหนดหัวข้ อหรื อการหารื อ ซงทประชุม ่ จะรวมกนกาหนดหวขอหรอการหารอ เตรี ยมการด้ านเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุม รวมทังด้ านธุรการอื่นๆ ้
  • 66. ความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) •ใ ้ ในหวงระหวางการประชุม ADMM แตละปนน หากประเทศสมาชก ่ ป ช ่ ปี ั ้ ป ศส ชิ อาเซียนพิจารณาแล้ วเห็นว่ามีความจําเป็ นเพื่อให้ รัฐมนตรี กลาโหม ประเทศสมาชิกอาเซียน หารื อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น เฉพาะเรองใดเรองหนงเปนพเศษนน อาจจดใหมการประชุมรฐมนตร เฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึงเป็ นพิเศษนัน อาจจัดให้ มีการประชมรัฐมนตรี ่ ้ กลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็ นทางการ (ADMM Retreat) ขึ ้นได้
  • 67. ความร่ วมมือด้ านการทหารในอาเซียน • การให้ ความช่วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบติ ุ ั (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR) ่ • ความมันคงทางทะเล (Maritime Security) • การต่อต้ านการก่อการร้ าย (Counter - Terrorism) การตอตานการกอการราย • การปฏิบตการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping) ฏ ัิ • ความร่วมมือทางการแพทย์ทหาร (Military Medicine)
  • 68. การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา • Malacca Strait Sea Patrol (MSSP): เป็ น การร่วมมือกันระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและ อนโดนเซยในการสงเรอรบเขาลาดตระเวน อินโดนิเซียในการส่งเรื อรบเข้ าลาดตระเวน และทําการฝึ กในช่องแคบมะละกา • Eyes-in-the Sky (EiS): เป็็ นการร่วมมืือกัน ระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและอินโดนิเซียใน การส่งเครื่ องบินเข้ าลาดตระเวนในช่องแคบ มล มะละกา • MSP Intelligence Exchange Group: เป็ นการแลกเปลี่ยนข้้ อมูลการข่าวให้้ กบการ ป็ ป ี ่ ใ ั ปฏิบติการในช่องแคบ ั
  • 69. การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา ภูเก็ต ไทยรับผิดชอบตอนบน 5 (SECTOR 5) 4 3 2 1
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 75. กําลังอํานาจที่สาคัญในการเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน ํ • Hard Power • Smart Power – โครงสร้ างพื ้นฐาน – นวัตกรรม – ขีีดความสามารถทางเศรษฐกิจ – ทรััพย์์สนทางปั ญญา ิ ปั – ขีดความสามารถทางทหาร – องค์ความรูู้ • Soft Power – คน • ทัศนคติ ทศนคต • ขีดสมรรถนะ – นโยบาย กฏระเบีียบ
  • 76. แนวทางขันบันได 5 ภาพ ้ • คณภาพ : ประชาชนชาวไทยมีคณภาพชวตทดี คุณภาพ : ประชาชนชาวไทยมคุณภาพชีวิตที่ด • มิตรภาพ : ประชาชนชาวไทยมีมิตรภาพที่ดีตอกันเองและมี ่ มิตรภาพประชาชนประเทศอื่นๆ • ภารดรภาพ : ประชาชนชาวไทยมีีความเอืืออาทรเป็ นพี่ีน้ องกันทัง้ั ป ไ ้ ป็ ั ภายในประเทศและกับประชาชนประเทศอื่นๆ • เสถียรภาพ : ความเอื ้ออาทรของสมาชิกในสังคมไทยทําไห้ สังคมไทยมีีเสถีียรภาพร่่วมกับสังคมอืื่นๆ ั ไ ั ั • สันติภาพ : ประเทศไทยมีสนติภาพในการอย่ร่วมกบประเทศอนๆ สนตภาพ : ประเทศไทยมสนตภาพในการอยู วมกับประเทศอื่นๆ ั
  • 78. ยุทธศาสตร์ “ย่ างก้ าวเข้ าประชาคมอาเซียน” • สร้ าง: สร้ างกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ ที่นําไปส่ความเขมแขงของ สราง: สรางกจกรรมหลกทสาคญตางๆ ทนาไปสู วามเข้ มแข็งของ ประเทศในการเข้ าสูประชาคมอาเซียน ่ • เสริม : เสริ มสร้ างกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ ที่มีอยูแล้ วให้ มีความ ่ เขมแขงอยางตอเนอง เข้ มแข็งอย่างต่อเนื่อง • เชื่อม : เชื่อมกิจกรรมหลักที่สําคัญต่างๆ เข้ าด้ วยกันเพื่อให้ เกิดการ ๆ ทํางานในลักษณะบูรณาการ • ขยาย : ขยายกิิจกรรมหลักที่ีสําคัญต่างๆ จากที่ีมีอยูแล้้ วให้้ เพิิ่มมาก ั ั ่ ใ ขึ ้น เพื่อการขยายตัวในวงกว้ าง
  • 79. ยุทธศาสตร์ “ย่ างก้ าวเข้ าประชาคมอาเซียน”
  • 80.
  • 81. บทบาทของ พล.ร.9 ในการเตรี ยมความพร้ อม • โครงสร้ างและระบบ : สิงแวดล้ อมและระบบเอื ้อให้ เกิดการ ่ โครงสรางและระบบ : สงแวดลอมและระบบเออใหเกดการ เปลียนแปลงที่มีความสอดคล้ องกับบริ บทของพลวัตรที่เกิดขึ ้น ่ • ข้ าราชการ : มีขีดความสามารถและทักษะในด้ านต่างๆ สูง เป็ นตัวอย่างทีี่ดี และสามารถเป็ นผู้นําการเปลียนแปลงได้ ี่ ไ • ครอบครว: มีีความรู้ ความเข้้ าใ ั ใจรวมถึงเตรีี ยมตัวเพืื่อรองรัับ ึ ั เปลียนแปลงที่จะเกิดขึ ้น ่
  • 82. คาถาในการเตรียมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน ่ “ตั้งหลัก เตรี ยมตัว ตืนร้ ู ติดตาม” ตงหลก เตรยมตว ตนร ตดตาม 82
  • 83. บทส่ งท้ าย สําคัญที่สุด ขออย่ าให้ เป็ น “ร้ ู เทาเขา แตร้ ู ไมทนเขา ร ท่ าเขา แต่ ร ม่ ทันเขา” 83