SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
ประชาคมอาเซียน 2558
     ดร. สุทศน์ เศรษฐบุญสราง
            ั        ์    ้

                     การฝึ กอบรม
การสร้ างความตระหนักรู้ ในการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
               สานักงานข้ าราชการพลเรือน
                   29 กุมภาพันธ์ 2555
หัวข้ อ

ประชาคมอาเซียน คืออะไร
มีความเป็ นมาอย่างไร
มีความสาคัญอย่างไร
ผลกระทบต่อประเทศไทย อย่างไร
บทบาทของไทยประชาคมอาเซียน คืออะไร
จะเตรียมความพร้อม อย่างไร
สรุป
T          M
              H       L Y


ประชาคม
              A     MA L A YS I A
              I       O N
              L       P M     S

อาเซียนคือ
             CAMBOD I A       I
              N R R R         N
              D U             G

อะไร?           I NDONE S I A
                  E
                V I E T NAM O
                              P

                              R
              PH I L I PP I NES
ความหมายของประชาคม


ประชาคม เป็ นการรวมตัวของสมาชิกในชุมชน เพื่อ
 ร่ วมกันทากิจกรรมต่างๆ เช่น การแก้ไขปั ญหาภายใน
 ชุมชน การวางแผนพัฒนาชุมชน การร่ วมกันผลิตและ
 ขายสิ นค้าหรื อบริ การ และการร่ วมกันเพื่อทากิจกรรม
 กับชุมชนอื่น หรื อ กับหน่วยงานราชการ เป็ นต้น
T          M
              H       L Y


ประชาคม
              A     MA L A YS I A
              I       O N
              L       P M     S

อาเซียนคือ
             CAMBOD I A       I
              N R R R         N
              D U             G

อะไร?           I NDONE S I A
                  E
                V I E T NAM O
                              P

                              R
              PH I L I PP I NES
เปาหมายของประชาคมอาเซียน
  ้
 เปาหมายหลัก :
   ้              ร่ วมกันสร้างความมังคังที่ความมันคงของสมาชิก
                                     ่ ่          ่

                   ประชาคม
                   เศรษฐกิจ
  ประชาคม
                                ประชาคม
   สังคมและ
                              ความมันคง
                                    ่
       วัฒนธรรม
แผนการจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
           ้
     เปาหมาย
       ้
      เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
      สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
      พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
      บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
แผนปฎิบติการ AEC Blueprint เน้น
       ั
1.      การเปิ ดเสรี การค้าสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ และตลาดทุน
2.      12 อุตสาหกรรมเป้ าหมาย - อาหาร แปรรู ปเกษตร ยาง ไม้ ยานยนตร์ สิ่ งทอ อิเล็กทรอนิกส์
        เทคโนโลยีขอมูลสื่ อสาร ท่องเที่ยว บริ การสุ ขภาพ ขนส่ งทางอากาศ และ โลจิสติกส์
                      ้
3.      การช่วยเหลือประเทศที่มีการพัฒนาน้อยกว่า
4.      การเจรจาการค้ากับคู่คาต่าง ๆ และ พยายามมีจุดยืนร่ วมกันในเวทีการเจรจาต่าง ๆ
                                ้
กิจกรรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ความกาวหน้าในการดาเนินการ ดานเศรษฐกิจ
     ้                     ้
แผนการจัดตังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC
          ้
Blueprint)     เปาหมายหลัก
                 ้
                สร้างประชาแห่งสังคมที่เอื้ ออาทร
                แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่ องมาจากการรวมตัวทาง
                 เศรษฐกิจ
                ส่งเสริมความยังยืนและการจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่าง
                                ่
                 ถูกต้อง
                ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า การ
                 เรียนรูประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม รวมทั้งรับรูขาวสาร
                        ้                                    ้่
เน้น 5 เรื่อง
 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์                สิ่ งแวดล้ อม
                                        การสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียน
 สวัสดิการสังคม
 สิทธิมนุษยชน
้
          แผนการจัดตังประชาคมการเมืองและความมั ่นคง
เป้ าหมายหลัก                      (ASC Blueprint)
 สร้างค่านิยมและแนวปฏิบติร่วมกัน เช่น ไม่ใช้กาลังแก้ไขปั ญหา ไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์
                          ั
 เสริ มสร้างขีดความสามารถของอาเซี ยนในการเผชิญภัยคุกคามความมันคง ่
                                                              ั
 ให้ประชาคมอาเซี ยนมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นและสร้างสรรค์กบประชาคมโลก
 โดยใช้อาเซี ยนเป็ นบทบาทนาในภูมิภาค
เน้ น
1.                                        ่
        เพิ่มศักยภาพของกลไกต่าง ๆ ที่มีอยูในการรักษาความสงบภายและต่อต้านการทาผิดกฎหมายระหว่าง
        ประเทศในภูมิภาค
2.      สร้างกลไกใหม่ ๆ เพื่อกาหนดมาตรฐานการป้ องกันการเกิดกรณี พิพาท การแก้ไข และส่ งเสริ มสันติภาพ
        หลังแก้การพิพาท
3.      ส่ งเสริ มความร่ วมมือความมันคงทางทะเล
                                    ่
T          M
               H       L Y
               A     MA L A YS I A
               I       O N
               L       P M     S
              CAMBOD I A       I
               N R R R         N

ความเป็ นมา    D U
                 I NDONE S I A
                               G

                   E           P
                 V I E T NAM O
                               R
               PH I L I PP I NES
วิสัยทัศนอาเซียน (ASEAN
                                           ปฏิญญาว่ าด้ วยความร่ วมมืออาเซียน
         ์
Vision) 2020 ปี 2540                       (Declaration of ASEAN Concord II
                                           หรือ Bali Concord II) ปี 2546
เป้ าหมายภายในปี ค.ศ. 2020 (2563)          เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน
อาเซี ยนจะเป็ น                            (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563
1) วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออก           (ค.ศ. 2020) ประชาคมอาเซี ยนนี้จะ
เฉี ยงใต้ - A Concert of Southeast Asian   ประกอบด้วย 3 เสาหลัก (pillars) ได้แก่
Nations                                    1. ประชาคมความมันคงอาเซี ยน (ASEAN
                                                             ่
2) หุนส่ วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต -
      ้                                    Security Community–ASC)
A Partnership in Dynamic Development       2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN
3) มุ่งปฏิสัมพันธ์กบประเทศภายนอก -
                   ั                       Economic Community-AEC) และ
An Outward-Looking ASEAN                   3. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซี ยน
4) ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร - A          (ASEAN Socio-Cultural Community-
Community of Caring Societies              ASCC)
ประชุมสุดยอดอาเซียน 2547 ลดจาก2020 เป็ น 2015

1) รับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมความมันคงอาเซียน
                                              ่
2) ASEAN Framework Agreement for the Integration of
Priority Sectors กรอบความตกลงว่ าด้ วยการรวมตัวของสาขา
อุตสหกรรมเร่ งด่ วน 11 สาขา (ผลิตภัณฑ์ เกษตรแปรรู ป ผลิตภัณฑ์
จากไม้ ผลิตภัณฑ์ จากยาง สั ตว์ นา สิ่ งทอ ยานยนต์ อิเล็คทรอนิกส์
                                ้
ICT E-Commerce ท่ องเทียว ขนส่ งทางอากาศ และสุ ขภาพ )
                         ่
T          M
             H       L Y
             A     MA L A YS I A
             I       O N
             L       P M     S
            CAMBOD I A       I
             N R R R         N

ความสาคัญ    D U
               I NDONE S I A
                             G

                 E           P
               V I E T NAM O
                             R
             PH I L I PP I NES
สภาพแวดล้ อมในโลก
                • เศรษฐกิจเอเชียใหญ่และมีการรวมตัวกัน
                • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบธุรกิจ
สภาพแวดล้อม
ด้านเศรษฐกิจ

               • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและการสื่อสารข้อมูลข่าวสาร
สภาพแวดล้อม    • โลกร้อนและภัยพิบติธรรมชาติต่าง ๆ มีมากขึ้ น
                                 ั
  ด้านสังคม    • โรคระบาดใหม่ ๆ ในคนและสัตว์

     การ       • ความหลากหลายของปั ญหาความมันคงในโลก ในภูมิภาค
                                            ่
เปลี่ยนแปลง
 ด้านความ      • บทบาทของรัฐบาลในการรักษาความมันคง
                                               ่
   มั ่นคง
ผลผลิตมวลรวมของโลก




       • สัดส่ วนของเศรษฐกิจเอเชียใหญ่ข้ ึน
       • เงินทุนย้ายจากยุโรปและอเมริ กาเข้าเอเชีย
การค้ าขายระหว่ างเอเชียตะวันออก กับยุโรป
     ตะวันออกกลาง อัฟริกา เอเชียใต้ ต้ องผ่ านอาเซียน

                          EU
            NAFTA



                                      SAARC

                                              ASEAN
        Andean      Mercosur
                               SACU




18
                                                        18
การเปิ ดเสรี การค้ าการลงทุนอื่น ๆ
 การรวมตัวทางเศรษฐกิจในเอเชีย FTA 98 ข้ อตกลง 245 ทังหมด้
   ASEAN, ASEAN+จีน + ญี่ปน + เกาหลี + อินเดีย + ออสเตรเลียและ
                               ุ่
     นิวซีแลนด์, ASEAN+3, ASEAN+6, EAS
 ภูมิภาคย่อย (Subregional)
   GMS, ACMEC, BIMSTEC, IMT-GT
 โลก - องค์ การการค้ าโลก WTO - หลักการพืนฐาน
                                           ้
   อื่น ๆ เช่น ธนาคารโลก World Bank และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ IMF
     องค์การศุลกากรโลก WCO ฯลฯ
ความร่วมมือด้ านเศรษฐกิจอื่น ๆ
    APEC, ASEM,
สรุ ปสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจปี 2558
เศรษฐกิจเอเชียขยายตัวเร็วกว่า - การผลิตมากขึ้ น การบริโภคมากขึ้ น
   เงินทุนไหลเข้าประเทศกาลังพัฒนาโดยเฉพาะเอเชีย
   ระบบการเงินตราในโลกเปลี่ยน เอเชียมีบทบาทมากขึ้ น
   การสร้างโครงสร้างพื้ นฐาน เพร้อมขยายตัวต่อไปอีก
โครงสร้างแต่ละอุตสาหกรรมเปลี่ยนแปลงทั้งโลก
ความมันคงด้านอาหาร และน้ า
       ่
ความมันคงด้านพลังงาน
       ่
ความมันคงด้านวัตถุดิบ – มีสินค้า และ เส้นทางลาเลียง
       ่
T          M
               H       L Y
               A     MA L A YS I A
               I       O N
               L       P M     S
              CAMBOD I A       I

ผลกระทบต่ อ    N R R R
               D U
                 I NDONE S I A
                               N
                               G


ประเทศไทย          E
                 V I E T NAM O
                               P

                               R
               PH I L I PP I NES
ผลของการขยายตัวของเศรษฐกิจในเอเชีย
ความต้องการพลังงาน วัตถุดิบ และอาหาร
   น้ ามันยังเป็ นแหล่งพลังงานหลัก
   แร่ ธาตุต่าง ๆ และวัสดุต่าง ๆ เช่น ยางธรรมชาติ
   ประชากรเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น กินมากขึ้น ผลผลิตเพิ่มไม่ทน
                                                               ั
การค้าขายเพิ่มขึ้น
   นาเข้าพลังงาน วัตถุดิบ อาหาร ส่ งออกสิ นค้าสาเร็จรู ป
ระบบการเงินที่มนคงสาหรับภูมิภาค
                  ั่
การรักษาความยังยืนของสิ่ งแวดล้อม
                ่
5 กลุ่มอุตสาหกรรมสาคัญ
การก่ อสร้ างและวัสดุก่อสร้ าง เช่น การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน โรงงาน ที่พก
                                                                            ั
 อาศัย และอาคารพาณิ ชย์ต่าง ๆ
อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบด้ านเกษตร เช่น ข้าว ยาง น้ าตาล และ มัน
การบริการด้ านโลจิสติกส์ เช่น ขนส่ ง การเก็บรักษาสิ นต้า ตรวจสอบคุณภาพ
 สิ นค้า พิธีการศุลกากรและที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ตอนนี้ 18% ของ GDP
บริการที่เกี่ยวข้ องกับการค้ า เช่น ธุรกิจขายปลีก/ขายส่ ง บริ การด้านการเงิน การตั้ง
 สานักงาน ภาษี กฎหมาย เป็ นต้น
การท่ องเที่ยว เมื่อมีการคมนาคมขนส่ งที่ดี ส่ งแรกที่จะเข้ามาตามเส้นทางเหล่านี้
 คือ นักท่องเที่ยว
วิธีการดาเนินธุรกิจจะเปลียนไป
                               ่
รู ปแบบธุรกิจ (Business Model)
   การสร้างโครงข่ายทางธุรกิจระหว่างผูประกอบการขนาดกลางและเล็ก ระหว่างประเทศมากขึ้น
                                      ้
   รู ปแบบความเป็ นเจ้าของเปลี่ยนไป โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมด้านบริ การ ซึ่ งโตเร็ วที่สุด
โครงสร้ างอุตสาหกรรมในโลก เปลียนไป
                              ่
 การย้ายฐานของอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก ฯลฯ
 บริ ษทขนาดใหญ่นอยราย ยังคงมีอานาจคุมของอุตสาหกรรมหลายอุตสาหกรรม
       ั          ้
ด้ านการเมือง
 ความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทใหญ่ ๆ กับรัฐ
                          ั
 การแบ่งผลประโยชน์ ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศและระหว่างประเทศ
 การใช้กลไกของรัฐบาลต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ของบริ ษท/ส่ วนตัว/ประเทศ
                                                   ั
ผลกระทบของการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

ผลกระทบโดยตรงของประชาคมอาเซียนอันหนึ่ งคือ การเพิ่มขึ้ นของ
 การค้าชายแดน – จังหวัดชายแดนจะมีอตราการโตที่สงในอนาคต
                                  ั           ู
ภาคราชการตามพื้ นที่ชายแดนควรจะต้อง
   มีระบบที่จะรองรับการขยายตัวของการทาธุรกิจ เช่น การจดทะเบียน
    บริษัท การชาระภาษี ศุลกากร ตลอดจนความมันคง เป็ นต้น
                                             ่
   คัดเลือกบุคคลากรที่มีทกษะที่ให้เหมาะสมเช่น มีความรูดานภาษา
                          ั                             ้ ้
    กฎหมายและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน มีความรูดานกฎระเบียบ
                                                       ้ ้
    การค้าการลงทุนในอาเซียน เป็ นต้น
การพยากรณสาหรับประเทศอาเซียนในปี
           ์
  2558                      หน่ วย : พันล้านเหรียญ สรอ.
                                    ปี                           การเติบโต (%)
           ประเทศ
                     2550        2553             2558          2553-2558
บรูไน                  12.25      11.96             13.12            9.69
กัมพูชา                 8.69      11.36             19.16           68.62
อินโดนีเชีย           432.23     695.06          1,111.05           59.85
สาว                     4.23       6.34              9.62           51.63
มาเลเชีย              187.01     218.95            321.15           46.68
เมียนม่า               20.18      35.65             42.69           19.76
ฟิ ลิปปิ นส์          144.07     189.06            285.10           50.80
สิงคโปร์              176.77     217.38            279.13           28.41
ไทย                   247.11     312.61            445.72           42.58
เวียดนาม               71.11     101.99            165.99           62.76
ASEAN               1,303.64   1,800.35          2,692.72           49.57
ที่มา : IMF World Economic Outlook, October 2010
                               Compiled by Office of Thailand Trade Representative
ประชาคมการเมือง
                                     และความมั่นคง
                                           ประชาคม
การแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร                     อาเซียน
ระหว่ างไทย-ลาว-จีน และ
สะพานข้ ามแม่ นาโขงแห่ งที่ 4
               ้                ประชาคม            ประชาคมสังคม
                                เศรษฐกิจ           และวัฒนธรรม




การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน
                                  รถไฟความเร็วสูงไทย-ลาว-จีน
                                  รถไฟเชื่อมโยงอนุภมิภาค/
                                                       ู
                                   สิงค์ โปร์ -คุนหมิง


 การพัฒนาท่ าเรือนาลึก
                  ้
 และนิคมอุตสาหกรรมทวาย
                                  มอเตอร์ เวย์ หาดใหญ่ -สะเดา
การกระจายตัวของ ความเจริ ญเติบโต
ใน 3 ปี ข้ างหน้ านีส่ งที่จะเกิดขึนคือ
                           ้ิ             ้
 ธุรกรรมกับต่างประเทศเพิ่มขึ้น            วิธีการทาการค้ าเปลี่ยนไป
   –   การค้า ลงทุน การเงิน แรงงาน          –   รูปแบบของการทาและบริ หารธุรกิจ
   –   โครงสร้างการค้าเปลี่ยนไป             –   การใช้ เงินตราของประเทศคูค้า
                                                                         ่
 การค้าตามแนวชายแดนสูงขึ้น                ความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนไป
   –   ข้อมูลการค้าการค้าชายแดน             –   ระหว่างบุคคลระหว่างประเทศ
   –   ผูประกอบการขนาดเล็กและกลาง
         ้                                  –   ระหว่างบุคคลกับเจ้ าหน้ าที่
 การค้าเข้ามาอยูในระบบ
                 ่                         ระบบการบริหารตามชายแดน
   –   กฎเกณฑ์ชดเจนและปฎิบติง่ายขึ้ น
                ั         ั                 –   บทบาทใหม่ของการปกครองในพื ้นที่
   –   การฟองร้องทางกฎหมายอาจมี
           ้
       มากขึ้ น
เปาหมายของประเทศไทย
        ้
ค้ าปลีกและค้ าส่ ง: ไทยเป็ นผูนาอยูในย่านอินโดจีน กาลังเติบโตแต่จงหวะนี้อยูไม่นาน
                                ้ ่                                ั         ่
การก่ อสร้ างและวัสดุก่อสร้ าง : เป็ นผูนาในด้านวิศวสถาปัตฯ ในการก่อสร้าง และ เป็ นศูนย์กลาง
                                         ้
   การพัฒนาผลิตภัณฑ์วสดุก่อสร้างในเอเชีย
                     ั
อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบด้ านเกษตร: เป็ นผูเ้ จ้าของและผูจดการระบบการแปรรู ปอาหาร
                                                             ้ั
   และผลิตผลการเกษตรของอินโดจีนและเป็ นศูนย์กลางการจัดจาหน่ายให้เอเชียและประเทศอื่น ๆ
การบริการด้ านโลจิสติกส์ : เป็ นเจ้าของธุรกิจเครื อข่ายบริ การขนส่งทางบก มีระบบโลจิสติกส์ที่
         ่
   ยืดหยุนเพื่อสนองความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว และเป็ นศูนย์กลางของสถาบันความเป็ นเลิศในภูมิภาค
ท่องเที่ยว และ บริ การสุ ขภาพ: ไทยเป็ นผูประสานงานในอาเซียนสาหรับอุตสาหกรรม การ
                                          ้
   ท่องเที่ยว และ อุตสาหกรรมบริ การสุ ขภาพมีขนาดใหญ่ในไทยเป็ นฐานที่ดีเมื่อเที่ยบกับประเทศอื่น ๆ
ไทยต้ องการอะไรจากประชาคมอาเซียน?
 เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยประเทศไทยให้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์
    เปิ ดตลาดให้นกวิศวะและสถาปั ตฯของไทยในอาเซี ยน
                  ั
    เปิ ดให้ประเทศไทยสามารถลงทุนด้านการผลิต การแปรรู ปสิ นค้าเกษตร
     พัฒนาระบบโลจีสติกส์เพืออานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน
                            ่

    พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวร่ วมกัน ไม่ใส่ ร้ายกัน
    เสริ มสร้างความแข็งเกร่ งด้านการวิจยและพัฒนา ในสาขาที่สาคัญร่ วมกัน
                                        ั
 เสริ มสร้างความแข็งเกร่ งด้านความร่ วมมือด้านสังคม
    สนับสนุน – การศึกษา การพัฒนาแรงงาน
    ป้ องกัน – ปั ญหาอาชญากรรม ยาเสพติด สิ่ งผิดกฎหมายข้ามแดน
 สร้างความมันคงด้านการเมืองให้เป็ นภูมิภาคที่ปลอดภัย ไม่มีสงคราม
             ่
T          M
             H       L Y


บทบาทของ
             A     MA L A YS I A
             I       O N
             L       P M     S

ประเทศไทย
            CAMBOD I A       I
             N R R R         N
             D U             G

ในประชาคม      I NDONE S I A
                 E
               V I E T NAM O
                             P


อาเซียน                      R
             PH I L I PP I NES
ไทยให้อะไรกบอาเซียน
               ้
เป็ นผูก่อตั้งอาเซี ยน (ขยายจาก SEATO)
        ้
เสนอตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area – AFTA)
ริ เริ่ มการประชุมรัฐมนตรี คลังอาเซี ยน 1996
เป็ นเลขาธิการอาเซี ยน - ท่านแผน วรรณเมธี และดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ
2553 เป็ นประธานอาเซี ยน
เสนอแผนแม่บทการเชื่อมโยงในอาเซียน Master Plan for
 ASEAN Connectivity
การเปลียนแปลงในประเทศไทย
         ่

•ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริ การมากขึ้น




 • ต่างจังหวัดโตเร็ วกว่ากรุ งเทพฯ
 • กลุ่มประชาชนที่มีรายได้ปานกลางเพิมขึ้น
                                       ่
 • คนมีอายุยาวขึ้น กลุ่มคนแก่มีสัดส่ วนสูงขึ้น
 •ในปี 2020 คนทางาน 1 คนเลี้ยงคนไม่ทางาน 1 คน
ความก้ าวหน้ าบริการสุขภาพ
มี 4 สาขาย่อย ได้แก่ (1) Pharmaceuticals (2) Cosmetics (3) Medical Devices และ
 (4) Traditional Medicines and Health Supplements และสิ นค้าที่เกี่ยวข้องคือด้าน
 เครื่ องมือแพทย์ ด้านเครื่ องสาอาง ด้านยา ด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริ ม
 อาหาร และด้านอาหาร
Harmonization of regulation :
    เครื่ องสาอาง และเครื่ องมือแพทย์ ในข้อตกลง ASEAN Cosmetic Directive ซึ่ ง
     มีผลใช้เมื่อ 1 มกราคม 2551 มีการจดแจ้งเครื่ องสาอางกับภาครัฐทั้งใน
     ส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค ปรับปรุ งกฎกระทรวงว่าด้วยเรื่ องหลักเกณฑ์วิธีการ
     จดแจ้งให้สอดคล้องกับอาเซี ยน
    ASEAN Medical Device Directive คาดว่าจะแล้วเสร็ จในปี 2556
ความก้ าวหน้ าบริการสุขภาพ (ต่ อ)
Harmonization of submission dossier : ยาแผนปั จจุบน และเครื่ องมือแพทย์
                                                   ั
   เป็ นสองสาขา ที่กาหนดให้ผยนขออนุญาตใช้แบบฟอร์มเดียวกันซึ่ งมีผลจากการ
                             ู้ ื่
   บรรลุขอตกลงร่ วมกันเกี่ยวกับ ข้อกาหนดในการยืนขออนุญาต
          ้                                    ่
Harmonization of regulatory common requirement : อาหาร ยาแผนโบราณ
   และผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเป็ นกลุ่มผลิตภัณฑ์ท่ีกาลังเจรจาต่อรองว่า จะกาหนด
   ข้อกาหนดร่ วมที่จาเป็ นต้องในประเด็นใดบ้าง (common requirement)
 Mutual recognition arrangement (MRA) : ปั จจุบนมีการลงนามแล้วเรื่ อง
                                                ั
   MRA ด้าน GMP inspection report on pharmaceuticals และคาดว่า MRA เรื่ องต่อไป
   จะเป็ นด้าน Bioavailability / Bioequivalence (BA/BE) reports.
ความพร้ อมของสถาบันระดับภูมิภาค
อาเซียน มีการปรับโครงสร้างใหม่ โดยให้มีทตประจาอาเซียนที่กรุ งจา
                                          ู
 กาตาร์ เพื่อทาหน้าที่ประสานงานและร่ วมกันติดสิ นใจเพื่อทาให้งาน
 อาเซียนเดินหน้ารวดเร็ วขึ้น
สานักงานเลขาธิ การอาเซียนได้ปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับงาน
 ด้านการบังคับใช้กฎหมายในอาเซียน
   ยังขาดบุคคลากรที่มีคุณภาพ
   แต่การชาระงบประมาณของสานักงานเลขาฯ เท่า ๆ กันทุกประเทศทาให้ไม่
    สามารถขยายงานได้
   เงินเดือนของเจ้าหน้าที่ไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน ทาให้คดเลือกคนดียาก
                                                          ั
T          M

ความพร้อม    H
             A
                     L Y
                   MA L A YS I A


ของประเทศ
             I       O N
             L       P M     S
            CAMBOD I A       I


ไทย
             N R R R         N
             D U             G
               I NDONE S I A
                 E           P
               V I E T NAM O
                             R
             PH I L I PP I NES
ความพรอมหมายถึง
         ้

เอกชนและภาครัฐ มีแผนยุทธศาสตร์ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะ
 อุตสาหกรรม 5 อุตสาหกรรมหลัก
   เปาหมายที่ประเทศไทยควรจะไปถึงใน 10 ปี ข้างหน้า
     ้
   แผนปฎิบติที่ภาคเอกชนจะต้องดาเนิ นการ
           ั
   แผนปฎิบติสาหรับภาคราชการที่จะช่วยสนับสนุ น ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
             ั
ปรับปรุงประสิทธิภาพสาหรับอุตสาหกรรมที่ได้รบผลกระทบทางลบ
                                           ั
   ส่วนที่เอกชนจะดาเนิ นการเอง
   ส่วนที่ตองการให้ภาคราชการเข้ามาช่วย – โครงการและงบประมาณ
             ้
การเยียวยาผูที่ได้รบผลกระทบทางลบ
             ้ ั
   การให้ความช่วยเหลือกันเองระหว่างเอกชน
   ส่วนที่ตองการให้รฐบาลช่วย – โครงการและงบประมาณที่ตองใช้
            ้        ั                                ้
อุตสาหกรรมแปรรู ปสิ นค้าเกษตร
ประเทศไทยมีเทคโนโลยีดีที่สุดในภูมิภาค เป็ นผูส่งออกมากที่สุด
                                              ้
ตลาดที่กาลังจะใหญ่ในอนาคต ชนชั้นกลางในจีนและอินเดีย
มาตรการในอาเซี ยน: ลดภาษี ลดมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี มีมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ
 ร่ วมกันหรื อยอมรับซึ่ งกันและกัน (Mutual Recognition Arrangement – MRA)
ปั ญหา: ไม่มีแผนระยะยาว การลงทุนในต่างประเทศ ขาดกลยุทธด้านการพัฒนา
 เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับอนาคต
ข้อเสนอ :
    ทาแผนยุทธศาสตร์ อาหารและเกษตรสาหรับเอเชียในระยะยาว
    ใช้อาเซี ยนเป็ นเครื่ องมือเปิ ดตลาด และ สร้างความร่ วมมือ
    พัฒนาบุคคลากรด้านเทคนิคที่ได้มาตรฐานเพื่อป้ อนความต้องการในอนาคต
อุตสาหกรรมโลจิสติกส์
 สาขาย่อย 10 สาขา เช่น บริ การยกขนสิ นค้าที่ขนส่ งทางทะเล บริ การโกดังและสิ นค้า บริ การ
  ตัวแทนรับจัดการขนส่ งสิ นค้า บริ การจัดส่ งพัสดุ บริ การรับจัดพิธีการศูลกากร บริ การขนส่ งสิ นค้า
  ระหว่างประเทศทางทะเล (ไม่รวมภายในประเทศ) บริ การขนส่ งทางบกและรางระหว่างประเทศ
มาตรการ : เพิ่มสัดส่ วนการถือหุนของในอาเซี ยน เป็ น 70% ในปี 2556 และ100%
                                ้
 ในปี 2558และการใช้มาตรฐาน ISO 901
สถานการณ์ปัจจุบน : ผูประกอบการยังไม่เข้าใจผลกระทบ และมีการเตรี ยมตัวน้อยโดยเฉพาะ
                  ั     ้
   รายเล็ก ผูใช้บริ การยังไม่เข้าใจถึงประโยชน์ของระบบบริ การที่ดี และรัฐบาลยังไม่มีแผนพัฒนาโล
             ้
   จีสติกส์ระยะยาวที่ชดเจน
                       ั
ข้อเสนอ
    ทา TOR การทาแผนโลจิสติกส์ระยะยาวในภูมิภาคโดยวางจุดยืนของประเทศไทยที่ชดเจน ทา
                                                                              ั
     แผนปฎิบติ และ การใช้งบฯใน 5 ปี ข้างหน้า
            ั
    แผนการลงทุนในต่างประเทศที่ชดเจนและเปิ ดให้ต่างประเทศได้เข้ามามีส่วนร่ วม
                                 ั
วิธีการและรูปแบบการดาเนินการใหม่ ๆ
ต้องดูตลาดเอเชียและตลาดโลก อย่ามองตลาดเพียงแค่ ประเทศไทย
ทุกชาติเป็ นเพือนร่ วมธุรกิจได้ – อย่ ามองต่ างชาติเป็ นศัตรู
                ่
คิดหาวิธีการในการทาธุรกิจใหม่ ๆ เช่น การส่ งออกข้าวถุงด้วยคอน
 เทนเนอร์
มองหาวิธีการบริ หารธุรกิจใหม่ ๆ - การร่ วมทุนกัน หรื อ การเป็ น
 เครื อข่ายทางธุรกิจ (Business Network) เช่น Global Sourcing
ใช้วิทยาการใหม่ ๆ เช่น ระบบการซื้อขาย และ การชาระเงิน online
การประเมินความพร้ อมของภาคเอกชน
 บริ ษทขนาดใหญ่ และบริ ษทต่างชาติ
       ั                 ั
   ปรับโครงสร้างระบบการผลิต บริ หาร เก็บรักษาและจัดจาหน่าย
 บริษัทขนาดกลางและเล็ก
     จานวนมากยังไม่รว่าผลกระทบจะเป็ นอย่างไร
                        ู้
     ไม่รว่าต้องปรับตัวอย่างไร
          ู้
     ไม่รและไม่สนใจว่าประชาคมอาเซียนคืออะไรและมีผลอย่างไร
          ู้
     ยังมิได้มองประเทศอื่นว่าเป็ นโอกาสเป็ นเพื่อนร่วมทาง

   โดยสรุ ป ส่ วนใหญ่ ยงไม่ พร้ อม
                       ั
การประเมินความพร้ อมของภาคประชาขน
ความรู ้เกี่ยวกับอาเซียนและผลกระทบ ยังมีนอย
                                          ้
    ผลการสารวจนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นนาใน 10 ประเทศสมาชิก ประเทศ
           ่ ั
     ไทยอยูอนดับสุ ดท้าย (คมชัดลึก 16 พฤษภาคม 2554)
ยังไม่ตื่นตัว
    ไม่เข้าใจว่าผลกระทบต่อหน้าที่การงานจะเป็ นอย่างไร
    สนใจข่าวบันเทิงมากกว่าธุรกิจ
    ไม่สนใจข่าวในประเทศเพื่อนบ้าน
    ขาดทักษะด้านภาษา
    โดยสรุป ยังไม่ เห็นประโยชน์ และโอกาสในประเทศสมาชิกอืน ๆ
                                                        ่
T          M
บทบาทและ       H
               A
                       L Y
                     MA L A YS I A

หน้ าที่ของ
               I       O N
               L       P M     S
              CAMBOD I A       I

ภาคราชการ      N R R R
               D U
                               N
                               G
                 I NDONE S I A
ในประเทศ           E
                 V I E T NAM O
                               P


ไทย
                               R
               PH I L I PP I NES
อันดับความง่ ายในการทาธุรกิจ

- จาก 184 ประเทศ ไทยอยูท่ี  ่
  19 ซึ่ งเก่งเป็ นที่ 2 ใน
  อาเซี ยน
- ตามมาด้วยมาเลเชีย (อันดับ
  ที่ 21)
- ส่ วนใหญ่ประเทศอาเซี ยน
  แย่ลง เช่น ประเทศไทยตก
  จากที่ 16 ไปเป็ นที่ 19
- เวียดนามดีข้ ึนถึง 10 ต่า
  แหน่ง จาก 88 มาเป็ น 78
บทบาทของภาคราชการ
การขยายตัวของธุรกิจตามแนวชายแดนทาให้เกิดความต้องการเจ้าหน้าที่ของ
 ภาครัฐซึ่งเปลี่ยนจากการ“รักษาดินแดน”มาเป็ น “การอานวยความสะดวก”
 ทางธุรกิจ (โดยไม่เก็บค่าต๋ง)
เป็ นสื่อประสานงานกับหน่ วยงานในส่วนกลางและกับหน่ วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการติดต่อประสานงานกับหน่ วยงานในประเทศ
 เพื่อนบ้าน – เจ้าหน้าที่ทุกคนในพื้ นที่จึงเป็ น “ทูต” และควรต้องได้รบการอบรม
                                                                     ั
 ทักษะด้านนี้
ระดับผูบริหารทุกคนมีความเข้าใจในเรื่องกฎระเบียบการค้า การทาธุรกิจ และ
          ้
 ความตกลงเกี่ยวกับการค้าการลงทุนในอาเซียน เพราะเกี่ยวข้องกับการบริหารงาน
 โดยตรงและโดยอ้อม
สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานะการณ์อย่างต่อเนื่ องเพื่อปองกันปั ญหาความ
                                                             ้
 ไม่เข้าใจกัน และมีมาตรการแก้ไขปั ญหาที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
หน้ าที่ของภาคราชการไทย
ประชาคมอาเซี ยนเป็ นเครื่ องมือสาคัญของประเทศไทยในการดาเนินยุทธศาสตร์ ด้าน
 เศรษฐกิจ สังคม และ ความมันคง่
ภาครัฐ มีหน้าที่กาหนดเปาหมาย ทิศทางยุทธศาสตร์ ของประเทศและการใช้ ประโยชน์
                          ้
 จากประชาคมอาเซียน
การดาเนินการต้องช่ วยกันระหว่างภาครัฐและเอกชน
  ภาครัฐอาจจะไม่มีขอมูลที่สมบูรณ์เท่าภาคเอกชน โดยเฉพาะในเรื่ องธุรกิจ
                        ้
  ภาคเอกชนไม่มีอานาจในการเรี ยกร้องให้รัฐบาลของประเทศอื่นเปลี่ยนหรื อแก้
    กฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคทางธุรกิจได้
จัดระบบการบริ หารใหม่ให้สอดคล้องกับหน้าที่
   ปรับหรื อแก้ไขหรื อสร้างระบบใหม่
   ปรับหรื อสร้างบุคคลากรใหม่ให้สอดคล้องกับหน้าที่
   ประสานงานหระว่างหน่วยงานในประเทศ และ กับต่างประเทศ
บทบาทของภาคราชการของประเทศสมาชิก
การดาเนินการตามแผนต้ องมีระบบราชการในประเทศต่ าง ๆ รองรับ
   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกต้องประชุมประสานงานกัน
   นาข้อตกลงไปดาเนินการในประเทศ เช่น ออกกฎเกณฑ์ใหม่ หรื อ แก้กฎเกณฑ์เก่า
   ประเมินผลการดาเนินการ และร่ วมกันแก้ปัญหา
การพัฒนาระบบ
   การบังคับใช้กฎหมายข้อตกลงต่าง ๆ จาเป็ นต้องมีระบบซึ่ งสอดคล้องกัน
   เกือบทุกประเทศ ยังขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานภายในประเทศ
ด้ านบุคลากร
   มีความรู ้ทางเทคนิค แต่ขาดความรู ้ดานต่างประเทศ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ในจังหวัดชายแดนที่
                                         ้
    ส่ งไปจากที่อื่น มักไม่รู้ภาษา และวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน
T          M
        H       L Y
        A     MA L A YS I A
        I       O N
        L       P M     S
       CAMBOD I A       I

สรุป    N R R R
        D U
          I NDONE S I A
                        N
                        G

            E           P
          V I E T NAM O
                        R
        PH I L I PP I NES
สรุป

 สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจกาลังเปลี่ยนแปลงสู่ยุคใหม่
 ประเทศไทยเป็ นจุดศูนย์กลางด้านคมนาคมทางบกของเศรษฐกิจยุคใหม่
 5 อุตสาหกรรมสาคัญ คือ ก่อสร้าง/วัสดุกอสร้าง อาหารและเกษตร โลจิ
                                           ่
  สติกส์และคมนาคม ขายปลีก/ขายส่ง และท่องเที่ยว
 ประชาคมอาเซียนเป็ นอุปกรณ์สาคัญของประเทศไทยในการพาประเทศไปสู่
  ความมันคงและมังคังในอนาคต
         ่         ่ ่
 ภาคราชการโดยเฉพาะในพื้ นที่ตามแนวชายแดน มีบทบาทหน้าที่ใหม่ ในการ
  อานวยความสะดวกสาหรับธุรกิจ
 ต้องคัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของพื้ นที่
ประชาคมอาเซียน 2558

More Related Content

Similar to ประชาคมอาเซียน 2558

กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนKUJEAB
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858kuoil
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECMudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
ประเทศใน Asian
ประเทศใน Asianประเทศใน Asian
ประเทศใน AsianWeang Chai
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asianApiradee Ae
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 

Similar to ประชาคมอาเซียน 2558 (20)

กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
ประเทศใน Asian
ประเทศใน Asianประเทศใน Asian
ประเทศใน Asian
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 

ประชาคมอาเซียน 2558

  • 1. ประชาคมอาเซียน 2558 ดร. สุทศน์ เศรษฐบุญสราง ั ์ ้ การฝึ กอบรม การสร้ างความตระหนักรู้ ในการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน สานักงานข้ าราชการพลเรือน 29 กุมภาพันธ์ 2555
  • 2. หัวข้ อ ประชาคมอาเซียน คืออะไร มีความเป็ นมาอย่างไร มีความสาคัญอย่างไร ผลกระทบต่อประเทศไทย อย่างไร บทบาทของไทยประชาคมอาเซียน คืออะไร จะเตรียมความพร้อม อย่างไร สรุป
  • 3. T M H L Y ประชาคม A MA L A YS I A I O N L P M S อาเซียนคือ CAMBOD I A I N R R R N D U G อะไร? I NDONE S I A E V I E T NAM O P R PH I L I PP I NES
  • 4. ความหมายของประชาคม ประชาคม เป็ นการรวมตัวของสมาชิกในชุมชน เพื่อ ร่ วมกันทากิจกรรมต่างๆ เช่น การแก้ไขปั ญหาภายใน ชุมชน การวางแผนพัฒนาชุมชน การร่ วมกันผลิตและ ขายสิ นค้าหรื อบริ การ และการร่ วมกันเพื่อทากิจกรรม กับชุมชนอื่น หรื อ กับหน่วยงานราชการ เป็ นต้น
  • 5. T M H L Y ประชาคม A MA L A YS I A I O N L P M S อาเซียนคือ CAMBOD I A I N R R R N D U G อะไร? I NDONE S I A E V I E T NAM O P R PH I L I PP I NES
  • 6. เปาหมายของประชาคมอาเซียน ้ เปาหมายหลัก : ้ ร่ วมกันสร้างความมังคังที่ความมันคงของสมาชิก ่ ่ ่ ประชาคม เศรษฐกิจ ประชาคม ประชาคม สังคมและ ความมันคง ่ วัฒนธรรม
  • 7. แผนการจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ้ เปาหมาย ้  เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว  สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ  พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค  บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก แผนปฎิบติการ AEC Blueprint เน้น ั 1. การเปิ ดเสรี การค้าสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ และตลาดทุน 2. 12 อุตสาหกรรมเป้ าหมาย - อาหาร แปรรู ปเกษตร ยาง ไม้ ยานยนตร์ สิ่ งทอ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีขอมูลสื่ อสาร ท่องเที่ยว บริ การสุ ขภาพ ขนส่ งทางอากาศ และ โลจิสติกส์ ้ 3. การช่วยเหลือประเทศที่มีการพัฒนาน้อยกว่า 4. การเจรจาการค้ากับคู่คาต่าง ๆ และ พยายามมีจุดยืนร่ วมกันในเวทีการเจรจาต่าง ๆ ้
  • 10. แผนการจัดตังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC ้ Blueprint) เปาหมายหลัก ้  สร้างประชาแห่งสังคมที่เอื้ ออาทร  แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่ องมาจากการรวมตัวทาง เศรษฐกิจ  ส่งเสริมความยังยืนและการจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่าง ่ ถูกต้อง  ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า การ เรียนรูประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม รวมทั้งรับรูขาวสาร ้ ้่ เน้น 5 เรื่อง  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  สิ่ งแวดล้ อม  การสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียน  สวัสดิการสังคม  สิทธิมนุษยชน
  • 11. แผนการจัดตังประชาคมการเมืองและความมั ่นคง เป้ าหมายหลัก (ASC Blueprint)  สร้างค่านิยมและแนวปฏิบติร่วมกัน เช่น ไม่ใช้กาลังแก้ไขปั ญหา ไม่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ ั  เสริ มสร้างขีดความสามารถของอาเซี ยนในการเผชิญภัยคุกคามความมันคง ่ ั  ให้ประชาคมอาเซี ยนมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นและสร้างสรรค์กบประชาคมโลก โดยใช้อาเซี ยนเป็ นบทบาทนาในภูมิภาค เน้ น 1. ่ เพิ่มศักยภาพของกลไกต่าง ๆ ที่มีอยูในการรักษาความสงบภายและต่อต้านการทาผิดกฎหมายระหว่าง ประเทศในภูมิภาค 2. สร้างกลไกใหม่ ๆ เพื่อกาหนดมาตรฐานการป้ องกันการเกิดกรณี พิพาท การแก้ไข และส่ งเสริ มสันติภาพ หลังแก้การพิพาท 3. ส่ งเสริ มความร่ วมมือความมันคงทางทะเล ่
  • 12. T M H L Y A MA L A YS I A I O N L P M S CAMBOD I A I N R R R N ความเป็ นมา D U I NDONE S I A G E P V I E T NAM O R PH I L I PP I NES
  • 13. วิสัยทัศนอาเซียน (ASEAN ปฏิญญาว่ าด้ วยความร่ วมมืออาเซียน ์ Vision) 2020 ปี 2540 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) ปี 2546 เป้ าหมายภายในปี ค.ศ. 2020 (2563) เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน อาเซี ยนจะเป็ น (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 1) วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออก (ค.ศ. 2020) ประชาคมอาเซี ยนนี้จะ เฉี ยงใต้ - A Concert of Southeast Asian ประกอบด้วย 3 เสาหลัก (pillars) ได้แก่ Nations 1. ประชาคมความมันคงอาเซี ยน (ASEAN ่ 2) หุนส่ วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต - ้ Security Community–ASC) A Partnership in Dynamic Development 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN 3) มุ่งปฏิสัมพันธ์กบประเทศภายนอก - ั Economic Community-AEC) และ An Outward-Looking ASEAN 3. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซี ยน 4) ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร - A (ASEAN Socio-Cultural Community- Community of Caring Societies ASCC)
  • 14. ประชุมสุดยอดอาเซียน 2547 ลดจาก2020 เป็ น 2015 1) รับรองแผนปฏิบัติการของประชาคมความมันคงอาเซียน ่ 2) ASEAN Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors กรอบความตกลงว่ าด้ วยการรวมตัวของสาขา อุตสหกรรมเร่ งด่ วน 11 สาขา (ผลิตภัณฑ์ เกษตรแปรรู ป ผลิตภัณฑ์ จากไม้ ผลิตภัณฑ์ จากยาง สั ตว์ นา สิ่ งทอ ยานยนต์ อิเล็คทรอนิกส์ ้ ICT E-Commerce ท่ องเทียว ขนส่ งทางอากาศ และสุ ขภาพ ) ่
  • 15. T M H L Y A MA L A YS I A I O N L P M S CAMBOD I A I N R R R N ความสาคัญ D U I NDONE S I A G E P V I E T NAM O R PH I L I PP I NES
  • 16. สภาพแวดล้ อมในโลก • เศรษฐกิจเอเชียใหญ่และมีการรวมตัวกัน • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบธุรกิจ สภาพแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและการสื่อสารข้อมูลข่าวสาร สภาพแวดล้อม • โลกร้อนและภัยพิบติธรรมชาติต่าง ๆ มีมากขึ้ น ั ด้านสังคม • โรคระบาดใหม่ ๆ ในคนและสัตว์ การ • ความหลากหลายของปั ญหาความมันคงในโลก ในภูมิภาค ่ เปลี่ยนแปลง ด้านความ • บทบาทของรัฐบาลในการรักษาความมันคง ่ มั ่นคง
  • 17. ผลผลิตมวลรวมของโลก • สัดส่ วนของเศรษฐกิจเอเชียใหญ่ข้ ึน • เงินทุนย้ายจากยุโรปและอเมริ กาเข้าเอเชีย
  • 18. การค้ าขายระหว่ างเอเชียตะวันออก กับยุโรป ตะวันออกกลาง อัฟริกา เอเชียใต้ ต้ องผ่ านอาเซียน EU NAFTA SAARC ASEAN Andean Mercosur SACU 18 18
  • 19.
  • 20. การเปิ ดเสรี การค้ าการลงทุนอื่น ๆ  การรวมตัวทางเศรษฐกิจในเอเชีย FTA 98 ข้ อตกลง 245 ทังหมด้  ASEAN, ASEAN+จีน + ญี่ปน + เกาหลี + อินเดีย + ออสเตรเลียและ ุ่ นิวซีแลนด์, ASEAN+3, ASEAN+6, EAS  ภูมิภาคย่อย (Subregional)  GMS, ACMEC, BIMSTEC, IMT-GT  โลก - องค์ การการค้ าโลก WTO - หลักการพืนฐาน ้  อื่น ๆ เช่น ธนาคารโลก World Bank และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ IMF องค์การศุลกากรโลก WCO ฯลฯ ความร่วมมือด้ านเศรษฐกิจอื่น ๆ  APEC, ASEM,
  • 21. สรุ ปสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจปี 2558 เศรษฐกิจเอเชียขยายตัวเร็วกว่า - การผลิตมากขึ้ น การบริโภคมากขึ้ น เงินทุนไหลเข้าประเทศกาลังพัฒนาโดยเฉพาะเอเชีย ระบบการเงินตราในโลกเปลี่ยน เอเชียมีบทบาทมากขึ้ น การสร้างโครงสร้างพื้ นฐาน เพร้อมขยายตัวต่อไปอีก โครงสร้างแต่ละอุตสาหกรรมเปลี่ยนแปลงทั้งโลก ความมันคงด้านอาหาร และน้ า ่ ความมันคงด้านพลังงาน ่ ความมันคงด้านวัตถุดิบ – มีสินค้า และ เส้นทางลาเลียง ่
  • 22. T M H L Y A MA L A YS I A I O N L P M S CAMBOD I A I ผลกระทบต่ อ N R R R D U I NDONE S I A N G ประเทศไทย E V I E T NAM O P R PH I L I PP I NES
  • 23. ผลของการขยายตัวของเศรษฐกิจในเอเชีย ความต้องการพลังงาน วัตถุดิบ และอาหาร น้ ามันยังเป็ นแหล่งพลังงานหลัก แร่ ธาตุต่าง ๆ และวัสดุต่าง ๆ เช่น ยางธรรมชาติ ประชากรเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น กินมากขึ้น ผลผลิตเพิ่มไม่ทน ั การค้าขายเพิ่มขึ้น นาเข้าพลังงาน วัตถุดิบ อาหาร ส่ งออกสิ นค้าสาเร็จรู ป ระบบการเงินที่มนคงสาหรับภูมิภาค ั่ การรักษาความยังยืนของสิ่ งแวดล้อม ่
  • 24. 5 กลุ่มอุตสาหกรรมสาคัญ การก่ อสร้ างและวัสดุก่อสร้ าง เช่น การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน โรงงาน ที่พก ั อาศัย และอาคารพาณิ ชย์ต่าง ๆ อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบด้ านเกษตร เช่น ข้าว ยาง น้ าตาล และ มัน การบริการด้ านโลจิสติกส์ เช่น ขนส่ ง การเก็บรักษาสิ นต้า ตรวจสอบคุณภาพ สิ นค้า พิธีการศุลกากรและที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ตอนนี้ 18% ของ GDP บริการที่เกี่ยวข้ องกับการค้ า เช่น ธุรกิจขายปลีก/ขายส่ ง บริ การด้านการเงิน การตั้ง สานักงาน ภาษี กฎหมาย เป็ นต้น การท่ องเที่ยว เมื่อมีการคมนาคมขนส่ งที่ดี ส่ งแรกที่จะเข้ามาตามเส้นทางเหล่านี้ คือ นักท่องเที่ยว
  • 25. วิธีการดาเนินธุรกิจจะเปลียนไป ่ รู ปแบบธุรกิจ (Business Model)  การสร้างโครงข่ายทางธุรกิจระหว่างผูประกอบการขนาดกลางและเล็ก ระหว่างประเทศมากขึ้น ้  รู ปแบบความเป็ นเจ้าของเปลี่ยนไป โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมด้านบริ การ ซึ่ งโตเร็ วที่สุด โครงสร้ างอุตสาหกรรมในโลก เปลียนไป ่  การย้ายฐานของอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก ฯลฯ  บริ ษทขนาดใหญ่นอยราย ยังคงมีอานาจคุมของอุตสาหกรรมหลายอุตสาหกรรม ั ้ ด้ านการเมือง  ความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทใหญ่ ๆ กับรัฐ ั  การแบ่งผลประโยชน์ ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศและระหว่างประเทศ  การใช้กลไกของรัฐบาลต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ของบริ ษท/ส่ วนตัว/ประเทศ ั
  • 26. ผลกระทบของการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ผลกระทบโดยตรงของประชาคมอาเซียนอันหนึ่ งคือ การเพิ่มขึ้ นของ การค้าชายแดน – จังหวัดชายแดนจะมีอตราการโตที่สงในอนาคต ั ู ภาคราชการตามพื้ นที่ชายแดนควรจะต้อง มีระบบที่จะรองรับการขยายตัวของการทาธุรกิจ เช่น การจดทะเบียน บริษัท การชาระภาษี ศุลกากร ตลอดจนความมันคง เป็ นต้น ่ คัดเลือกบุคคลากรที่มีทกษะที่ให้เหมาะสมเช่น มีความรูดานภาษา ั ้ ้ กฎหมายและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน มีความรูดานกฎระเบียบ ้ ้ การค้าการลงทุนในอาเซียน เป็ นต้น
  • 27. การพยากรณสาหรับประเทศอาเซียนในปี ์ 2558 หน่ วย : พันล้านเหรียญ สรอ. ปี การเติบโต (%) ประเทศ 2550 2553 2558 2553-2558 บรูไน 12.25 11.96 13.12 9.69 กัมพูชา 8.69 11.36 19.16 68.62 อินโดนีเชีย 432.23 695.06 1,111.05 59.85 สาว 4.23 6.34 9.62 51.63 มาเลเชีย 187.01 218.95 321.15 46.68 เมียนม่า 20.18 35.65 42.69 19.76 ฟิ ลิปปิ นส์ 144.07 189.06 285.10 50.80 สิงคโปร์ 176.77 217.38 279.13 28.41 ไทย 247.11 312.61 445.72 42.58 เวียดนาม 71.11 101.99 165.99 62.76 ASEAN 1,303.64 1,800.35 2,692.72 49.57 ที่มา : IMF World Economic Outlook, October 2010 Compiled by Office of Thailand Trade Representative
  • 28.
  • 29. ประชาคมการเมือง และความมั่นคง ประชาคม การแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร อาเซียน ระหว่ างไทย-ลาว-จีน และ สะพานข้ ามแม่ นาโขงแห่ งที่ 4 ้ ประชาคม ประชาคมสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน  รถไฟความเร็วสูงไทย-ลาว-จีน  รถไฟเชื่อมโยงอนุภมิภาค/ ู สิงค์ โปร์ -คุนหมิง การพัฒนาท่ าเรือนาลึก ้ และนิคมอุตสาหกรรมทวาย มอเตอร์ เวย์ หาดใหญ่ -สะเดา
  • 31. ใน 3 ปี ข้ างหน้ านีส่ งที่จะเกิดขึนคือ ้ิ ้  ธุรกรรมกับต่างประเทศเพิ่มขึ้น  วิธีการทาการค้ าเปลี่ยนไป – การค้า ลงทุน การเงิน แรงงาน – รูปแบบของการทาและบริ หารธุรกิจ – โครงสร้างการค้าเปลี่ยนไป – การใช้ เงินตราของประเทศคูค้า ่  การค้าตามแนวชายแดนสูงขึ้น  ความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนไป – ข้อมูลการค้าการค้าชายแดน – ระหว่างบุคคลระหว่างประเทศ – ผูประกอบการขนาดเล็กและกลาง ้ – ระหว่างบุคคลกับเจ้ าหน้ าที่  การค้าเข้ามาอยูในระบบ ่  ระบบการบริหารตามชายแดน – กฎเกณฑ์ชดเจนและปฎิบติง่ายขึ้ น ั ั – บทบาทใหม่ของการปกครองในพื ้นที่ – การฟองร้องทางกฎหมายอาจมี ้ มากขึ้ น
  • 32. เปาหมายของประเทศไทย ้ ค้ าปลีกและค้ าส่ ง: ไทยเป็ นผูนาอยูในย่านอินโดจีน กาลังเติบโตแต่จงหวะนี้อยูไม่นาน ้ ่ ั ่ การก่ อสร้ างและวัสดุก่อสร้ าง : เป็ นผูนาในด้านวิศวสถาปัตฯ ในการก่อสร้าง และ เป็ นศูนย์กลาง ้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์วสดุก่อสร้างในเอเชีย ั อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบด้ านเกษตร: เป็ นผูเ้ จ้าของและผูจดการระบบการแปรรู ปอาหาร ้ั และผลิตผลการเกษตรของอินโดจีนและเป็ นศูนย์กลางการจัดจาหน่ายให้เอเชียและประเทศอื่น ๆ การบริการด้ านโลจิสติกส์ : เป็ นเจ้าของธุรกิจเครื อข่ายบริ การขนส่งทางบก มีระบบโลจิสติกส์ที่ ่ ยืดหยุนเพื่อสนองความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว และเป็ นศูนย์กลางของสถาบันความเป็ นเลิศในภูมิภาค ท่องเที่ยว และ บริ การสุ ขภาพ: ไทยเป็ นผูประสานงานในอาเซียนสาหรับอุตสาหกรรม การ ้ ท่องเที่ยว และ อุตสาหกรรมบริ การสุ ขภาพมีขนาดใหญ่ในไทยเป็ นฐานที่ดีเมื่อเที่ยบกับประเทศอื่น ๆ
  • 33. ไทยต้ องการอะไรจากประชาคมอาเซียน? เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยประเทศไทยให้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ เปิ ดตลาดให้นกวิศวะและสถาปั ตฯของไทยในอาเซี ยน ั เปิ ดให้ประเทศไทยสามารถลงทุนด้านการผลิต การแปรรู ปสิ นค้าเกษตร  พัฒนาระบบโลจีสติกส์เพืออานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน ่ พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวร่ วมกัน ไม่ใส่ ร้ายกัน เสริ มสร้างความแข็งเกร่ งด้านการวิจยและพัฒนา ในสาขาที่สาคัญร่ วมกัน ั เสริ มสร้างความแข็งเกร่ งด้านความร่ วมมือด้านสังคม สนับสนุน – การศึกษา การพัฒนาแรงงาน ป้ องกัน – ปั ญหาอาชญากรรม ยาเสพติด สิ่ งผิดกฎหมายข้ามแดน สร้างความมันคงด้านการเมืองให้เป็ นภูมิภาคที่ปลอดภัย ไม่มีสงคราม ่
  • 34. T M H L Y บทบาทของ A MA L A YS I A I O N L P M S ประเทศไทย CAMBOD I A I N R R R N D U G ในประชาคม I NDONE S I A E V I E T NAM O P อาเซียน R PH I L I PP I NES
  • 35. ไทยให้อะไรกบอาเซียน ้ เป็ นผูก่อตั้งอาเซี ยน (ขยายจาก SEATO) ้ เสนอตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area – AFTA) ริ เริ่ มการประชุมรัฐมนตรี คลังอาเซี ยน 1996 เป็ นเลขาธิการอาเซี ยน - ท่านแผน วรรณเมธี และดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ 2553 เป็ นประธานอาเซี ยน เสนอแผนแม่บทการเชื่อมโยงในอาเซียน Master Plan for ASEAN Connectivity
  • 36. การเปลียนแปลงในประเทศไทย ่ •ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริ การมากขึ้น • ต่างจังหวัดโตเร็ วกว่ากรุ งเทพฯ • กลุ่มประชาชนที่มีรายได้ปานกลางเพิมขึ้น ่ • คนมีอายุยาวขึ้น กลุ่มคนแก่มีสัดส่ วนสูงขึ้น •ในปี 2020 คนทางาน 1 คนเลี้ยงคนไม่ทางาน 1 คน
  • 37.
  • 38. ความก้ าวหน้ าบริการสุขภาพ มี 4 สาขาย่อย ได้แก่ (1) Pharmaceuticals (2) Cosmetics (3) Medical Devices และ (4) Traditional Medicines and Health Supplements และสิ นค้าที่เกี่ยวข้องคือด้าน เครื่ องมือแพทย์ ด้านเครื่ องสาอาง ด้านยา ด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริ ม อาหาร และด้านอาหาร Harmonization of regulation : เครื่ องสาอาง และเครื่ องมือแพทย์ ในข้อตกลง ASEAN Cosmetic Directive ซึ่ ง มีผลใช้เมื่อ 1 มกราคม 2551 มีการจดแจ้งเครื่ องสาอางกับภาครัฐทั้งใน ส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค ปรับปรุ งกฎกระทรวงว่าด้วยเรื่ องหลักเกณฑ์วิธีการ จดแจ้งให้สอดคล้องกับอาเซี ยน ASEAN Medical Device Directive คาดว่าจะแล้วเสร็ จในปี 2556
  • 39. ความก้ าวหน้ าบริการสุขภาพ (ต่ อ) Harmonization of submission dossier : ยาแผนปั จจุบน และเครื่ องมือแพทย์ ั เป็ นสองสาขา ที่กาหนดให้ผยนขออนุญาตใช้แบบฟอร์มเดียวกันซึ่ งมีผลจากการ ู้ ื่ บรรลุขอตกลงร่ วมกันเกี่ยวกับ ข้อกาหนดในการยืนขออนุญาต ้ ่ Harmonization of regulatory common requirement : อาหาร ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเป็ นกลุ่มผลิตภัณฑ์ท่ีกาลังเจรจาต่อรองว่า จะกาหนด ข้อกาหนดร่ วมที่จาเป็ นต้องในประเด็นใดบ้าง (common requirement)  Mutual recognition arrangement (MRA) : ปั จจุบนมีการลงนามแล้วเรื่ อง ั MRA ด้าน GMP inspection report on pharmaceuticals และคาดว่า MRA เรื่ องต่อไป จะเป็ นด้าน Bioavailability / Bioequivalence (BA/BE) reports.
  • 40. ความพร้ อมของสถาบันระดับภูมิภาค อาเซียน มีการปรับโครงสร้างใหม่ โดยให้มีทตประจาอาเซียนที่กรุ งจา ู กาตาร์ เพื่อทาหน้าที่ประสานงานและร่ วมกันติดสิ นใจเพื่อทาให้งาน อาเซียนเดินหน้ารวดเร็ วขึ้น สานักงานเลขาธิ การอาเซียนได้ปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับงาน ด้านการบังคับใช้กฎหมายในอาเซียน ยังขาดบุคคลากรที่มีคุณภาพ แต่การชาระงบประมาณของสานักงานเลขาฯ เท่า ๆ กันทุกประเทศทาให้ไม่ สามารถขยายงานได้ เงินเดือนของเจ้าหน้าที่ไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน ทาให้คดเลือกคนดียาก ั
  • 41. T M ความพร้อม H A L Y MA L A YS I A ของประเทศ I O N L P M S CAMBOD I A I ไทย N R R R N D U G I NDONE S I A E P V I E T NAM O R PH I L I PP I NES
  • 42. ความพรอมหมายถึง ้ เอกชนและภาครัฐ มีแผนยุทธศาสตร์ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรม 5 อุตสาหกรรมหลัก เปาหมายที่ประเทศไทยควรจะไปถึงใน 10 ปี ข้างหน้า ้ แผนปฎิบติที่ภาคเอกชนจะต้องดาเนิ นการ ั แผนปฎิบติสาหรับภาคราชการที่จะช่วยสนับสนุ น ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ั ปรับปรุงประสิทธิภาพสาหรับอุตสาหกรรมที่ได้รบผลกระทบทางลบ ั ส่วนที่เอกชนจะดาเนิ นการเอง ส่วนที่ตองการให้ภาคราชการเข้ามาช่วย – โครงการและงบประมาณ ้ การเยียวยาผูที่ได้รบผลกระทบทางลบ ้ ั การให้ความช่วยเหลือกันเองระหว่างเอกชน ส่วนที่ตองการให้รฐบาลช่วย – โครงการและงบประมาณที่ตองใช้ ้ ั ้
  • 43. อุตสาหกรรมแปรรู ปสิ นค้าเกษตร ประเทศไทยมีเทคโนโลยีดีที่สุดในภูมิภาค เป็ นผูส่งออกมากที่สุด ้ ตลาดที่กาลังจะใหญ่ในอนาคต ชนชั้นกลางในจีนและอินเดีย มาตรการในอาเซี ยน: ลดภาษี ลดมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี มีมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ร่ วมกันหรื อยอมรับซึ่ งกันและกัน (Mutual Recognition Arrangement – MRA) ปั ญหา: ไม่มีแผนระยะยาว การลงทุนในต่างประเทศ ขาดกลยุทธด้านการพัฒนา เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับอนาคต ข้อเสนอ : ทาแผนยุทธศาสตร์ อาหารและเกษตรสาหรับเอเชียในระยะยาว ใช้อาเซี ยนเป็ นเครื่ องมือเปิ ดตลาด และ สร้างความร่ วมมือ พัฒนาบุคคลากรด้านเทคนิคที่ได้มาตรฐานเพื่อป้ อนความต้องการในอนาคต
  • 44. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์  สาขาย่อย 10 สาขา เช่น บริ การยกขนสิ นค้าที่ขนส่ งทางทะเล บริ การโกดังและสิ นค้า บริ การ ตัวแทนรับจัดการขนส่ งสิ นค้า บริ การจัดส่ งพัสดุ บริ การรับจัดพิธีการศูลกากร บริ การขนส่ งสิ นค้า ระหว่างประเทศทางทะเล (ไม่รวมภายในประเทศ) บริ การขนส่ งทางบกและรางระหว่างประเทศ มาตรการ : เพิ่มสัดส่ วนการถือหุนของในอาเซี ยน เป็ น 70% ในปี 2556 และ100% ้ ในปี 2558และการใช้มาตรฐาน ISO 901 สถานการณ์ปัจจุบน : ผูประกอบการยังไม่เข้าใจผลกระทบ และมีการเตรี ยมตัวน้อยโดยเฉพาะ ั ้ รายเล็ก ผูใช้บริ การยังไม่เข้าใจถึงประโยชน์ของระบบบริ การที่ดี และรัฐบาลยังไม่มีแผนพัฒนาโล ้ จีสติกส์ระยะยาวที่ชดเจน ั ข้อเสนอ ทา TOR การทาแผนโลจิสติกส์ระยะยาวในภูมิภาคโดยวางจุดยืนของประเทศไทยที่ชดเจน ทา ั แผนปฎิบติ และ การใช้งบฯใน 5 ปี ข้างหน้า ั แผนการลงทุนในต่างประเทศที่ชดเจนและเปิ ดให้ต่างประเทศได้เข้ามามีส่วนร่ วม ั
  • 45. วิธีการและรูปแบบการดาเนินการใหม่ ๆ ต้องดูตลาดเอเชียและตลาดโลก อย่ามองตลาดเพียงแค่ ประเทศไทย ทุกชาติเป็ นเพือนร่ วมธุรกิจได้ – อย่ ามองต่ างชาติเป็ นศัตรู ่ คิดหาวิธีการในการทาธุรกิจใหม่ ๆ เช่น การส่ งออกข้าวถุงด้วยคอน เทนเนอร์ มองหาวิธีการบริ หารธุรกิจใหม่ ๆ - การร่ วมทุนกัน หรื อ การเป็ น เครื อข่ายทางธุรกิจ (Business Network) เช่น Global Sourcing ใช้วิทยาการใหม่ ๆ เช่น ระบบการซื้อขาย และ การชาระเงิน online
  • 46. การประเมินความพร้ อมของภาคเอกชน  บริ ษทขนาดใหญ่ และบริ ษทต่างชาติ ั ั  ปรับโครงสร้างระบบการผลิต บริ หาร เก็บรักษาและจัดจาหน่าย  บริษัทขนาดกลางและเล็ก  จานวนมากยังไม่รว่าผลกระทบจะเป็ นอย่างไร ู้  ไม่รว่าต้องปรับตัวอย่างไร ู้  ไม่รและไม่สนใจว่าประชาคมอาเซียนคืออะไรและมีผลอย่างไร ู้  ยังมิได้มองประเทศอื่นว่าเป็ นโอกาสเป็ นเพื่อนร่วมทาง โดยสรุ ป ส่ วนใหญ่ ยงไม่ พร้ อม ั
  • 47. การประเมินความพร้ อมของภาคประชาขน ความรู ้เกี่ยวกับอาเซียนและผลกระทบ ยังมีนอย ้ ผลการสารวจนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นนาใน 10 ประเทศสมาชิก ประเทศ ่ ั ไทยอยูอนดับสุ ดท้าย (คมชัดลึก 16 พฤษภาคม 2554) ยังไม่ตื่นตัว ไม่เข้าใจว่าผลกระทบต่อหน้าที่การงานจะเป็ นอย่างไร สนใจข่าวบันเทิงมากกว่าธุรกิจ ไม่สนใจข่าวในประเทศเพื่อนบ้าน ขาดทักษะด้านภาษา โดยสรุป ยังไม่ เห็นประโยชน์ และโอกาสในประเทศสมาชิกอืน ๆ ่
  • 48. T M บทบาทและ H A L Y MA L A YS I A หน้ าที่ของ I O N L P M S CAMBOD I A I ภาคราชการ N R R R D U N G I NDONE S I A ในประเทศ E V I E T NAM O P ไทย R PH I L I PP I NES
  • 49. อันดับความง่ ายในการทาธุรกิจ - จาก 184 ประเทศ ไทยอยูท่ี ่ 19 ซึ่ งเก่งเป็ นที่ 2 ใน อาเซี ยน - ตามมาด้วยมาเลเชีย (อันดับ ที่ 21) - ส่ วนใหญ่ประเทศอาเซี ยน แย่ลง เช่น ประเทศไทยตก จากที่ 16 ไปเป็ นที่ 19 - เวียดนามดีข้ ึนถึง 10 ต่า แหน่ง จาก 88 มาเป็ น 78
  • 50. บทบาทของภาคราชการ การขยายตัวของธุรกิจตามแนวชายแดนทาให้เกิดความต้องการเจ้าหน้าที่ของ ภาครัฐซึ่งเปลี่ยนจากการ“รักษาดินแดน”มาเป็ น “การอานวยความสะดวก” ทางธุรกิจ (โดยไม่เก็บค่าต๋ง) เป็ นสื่อประสานงานกับหน่ วยงานในส่วนกลางและกับหน่ วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการติดต่อประสานงานกับหน่ วยงานในประเทศ เพื่อนบ้าน – เจ้าหน้าที่ทุกคนในพื้ นที่จึงเป็ น “ทูต” และควรต้องได้รบการอบรม ั ทักษะด้านนี้ ระดับผูบริหารทุกคนมีความเข้าใจในเรื่องกฎระเบียบการค้า การทาธุรกิจ และ ้ ความตกลงเกี่ยวกับการค้าการลงทุนในอาเซียน เพราะเกี่ยวข้องกับการบริหารงาน โดยตรงและโดยอ้อม สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานะการณ์อย่างต่อเนื่ องเพื่อปองกันปั ญหาความ ้ ไม่เข้าใจกัน และมีมาตรการแก้ไขปั ญหาที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
  • 51. หน้ าที่ของภาคราชการไทย ประชาคมอาเซี ยนเป็ นเครื่ องมือสาคัญของประเทศไทยในการดาเนินยุทธศาสตร์ ด้าน เศรษฐกิจ สังคม และ ความมันคง่ ภาครัฐ มีหน้าที่กาหนดเปาหมาย ทิศทางยุทธศาสตร์ ของประเทศและการใช้ ประโยชน์ ้ จากประชาคมอาเซียน การดาเนินการต้องช่ วยกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ภาครัฐอาจจะไม่มีขอมูลที่สมบูรณ์เท่าภาคเอกชน โดยเฉพาะในเรื่ องธุรกิจ ้ ภาคเอกชนไม่มีอานาจในการเรี ยกร้องให้รัฐบาลของประเทศอื่นเปลี่ยนหรื อแก้ กฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคทางธุรกิจได้ จัดระบบการบริ หารใหม่ให้สอดคล้องกับหน้าที่ ปรับหรื อแก้ไขหรื อสร้างระบบใหม่ ปรับหรื อสร้างบุคคลากรใหม่ให้สอดคล้องกับหน้าที่ ประสานงานหระว่างหน่วยงานในประเทศ และ กับต่างประเทศ
  • 52. บทบาทของภาคราชการของประเทศสมาชิก การดาเนินการตามแผนต้ องมีระบบราชการในประเทศต่ าง ๆ รองรับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของประเทศสมาชิกต้องประชุมประสานงานกัน นาข้อตกลงไปดาเนินการในประเทศ เช่น ออกกฎเกณฑ์ใหม่ หรื อ แก้กฎเกณฑ์เก่า ประเมินผลการดาเนินการ และร่ วมกันแก้ปัญหา การพัฒนาระบบ การบังคับใช้กฎหมายข้อตกลงต่าง ๆ จาเป็ นต้องมีระบบซึ่ งสอดคล้องกัน เกือบทุกประเทศ ยังขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานภายในประเทศ ด้ านบุคลากร มีความรู ้ทางเทคนิค แต่ขาดความรู ้ดานต่างประเทศ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ในจังหวัดชายแดนที่ ้ ส่ งไปจากที่อื่น มักไม่รู้ภาษา และวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน
  • 53. T M H L Y A MA L A YS I A I O N L P M S CAMBOD I A I สรุป N R R R D U I NDONE S I A N G E P V I E T NAM O R PH I L I PP I NES
  • 54. สรุป  สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจกาลังเปลี่ยนแปลงสู่ยุคใหม่  ประเทศไทยเป็ นจุดศูนย์กลางด้านคมนาคมทางบกของเศรษฐกิจยุคใหม่  5 อุตสาหกรรมสาคัญ คือ ก่อสร้าง/วัสดุกอสร้าง อาหารและเกษตร โลจิ ่ สติกส์และคมนาคม ขายปลีก/ขายส่ง และท่องเที่ยว  ประชาคมอาเซียนเป็ นอุปกรณ์สาคัญของประเทศไทยในการพาประเทศไปสู่ ความมันคงและมังคังในอนาคต ่ ่ ่  ภาคราชการโดยเฉพาะในพื้ นที่ตามแนวชายแดน มีบทบาทหน้าที่ใหม่ ในการ อานวยความสะดวกสาหรับธุรกิจ  ต้องคัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของพื้ นที่