SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
กาเนิดอาเซียน

      อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Association of South East AsianNations
หรื อ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วงสราญรมย์ เมื่อ
                                                                                        ั
วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ
ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผูแทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วยนายอาดัม มา
                                                               ้
ลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย) ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม
และรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่ งชาติมาเลเซีย)                 นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศ
ฟิ ลิปปิ นส์ ) นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์ ) และพันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์
(รัฐมนตรีต่างประเทศไทย)

    ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าเป็ นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรู ไนดารุ สซาลาม (เป็ นสมาชิกเมื่อ 8
ม.ค.2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) สปป.ลาว พม่า (วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา เข้าเป็ นสมาชิก
ล่าสุด (วันที่ 30 เม.ย. 2542) ให้ปัจจุบนมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ
                                       ั

    วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค
ธํารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้าน
                                         ่
เศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาค
                                                         ่
และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก

สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้ าว สีเหลืองบนพืนสีแดงล้อมรอบด้ วยวงกลม สีขาวและสีนาเงิน
                                                ้                                  ้

รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ

สีเหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง

สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ

สีขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์

สีน้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง
     ํ                              ่

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อปี 2550 ที่ประเทศสิงค์โปร์ ผูนาอาเซียนได้ลงนามในกฎ
                                                                             ้ ํ
บัตร อาเซียนซึ่งเปรี ยบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียน ในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิงการ    ่
ขับเคลื่อนการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ตามที่ผนาอาเซียนได้ตกลงกันไว้
                                                                                 ู้ ํ
โดยวัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทําให้อาเซียนเป็ นองค์การที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็ น
ศูนย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียน
เป็ นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization)

กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้ วยข้ อบทต่าง ๆ 13 บท 55 ข้ อ มีประเด็นใหม่ที่แสดงความก้าวหน้ าของอาเซียน
ได้ แก่

    (1) การจัดตั้งองค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน
    (2) การให้อานาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทําตามความตกลงของรัฐสมาชิก
                    ํ
    (3) การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับข้อพิพาทต่าง ๆ ระหว่างประเทศสมาชิก
    (4) การให้ผนาเป็ น ผูตดสินว่าจะดําเนินการอย่างไรต่อรัฐผูละเมิดพันธกรณี ตามกฎบัตรฯ อย่างร้ายแรง
                  ู้ ํ   ้ั                                  ้
    (5) การเปิ ดช่องให้ใช้วิธีการอื่นในการตัดสินใจได้หากไม่มีฉนทามติ
                                                               ั
    (6) การส่งเสริ มการปรึ กษาหารื อกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์
ร่ วม
    (7) การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียนเพื่อให้อาเซียนสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่าง
ทันท่วงที
    (8) การเปิ ดช่องทางให้อาเซียนสามารถมีปฏิสมพันธ์กบองค์กรภาคประชาสังคมมากขึ้น และ
                                                 ั     ั
    (9) การปรับปรุ งโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึ้น เช่น ให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2
                                                           ่
ครั้งต่อปี จัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความร่ วมมือในแต่ละ 3 เสาหลัก และการมีคณะกรรมการผูแทน ้
ถาวรประจําอาเซียน ที่กรุ งจาการ์ตา เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการประชุมของอาเซียน เป็ นต้น

        กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ต้งแต่วนที่ 15 ธันวาคม 2551 หลังจากที่ประเทศสมาชิกครบทั้ง 10
                                      ั ั
ประเทศ ได้ให้สตยาบันกฎบัตร และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 1
                ั
มีนาคม 2552 ที่จงหวัดเพชรบุรีเป็ นการประชุมระดับผูนาอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตรมีผลบังคับใช้
                  ั                               ้ ํ
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

       ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วยความร่ วมมือ 3 เสาหลัก คือ

    1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC)
                                ่
    2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC)
    3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)

1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน
                           ่

(ASEAN Political and Security Community – APSC)

       มีวตถุประสงค์เพื่อเสริ มสร้างและธํารงไว้ซ่ึงสันติภาพและความมันคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน
          ั                                                         ่
ภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จดทํา
            ่                                                                                  ั
แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ( ASEAN Political-Security Community
                                                ่
Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ

       1) การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่ วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่ วมกันทําเพื่อสร้างความเข้าใจ
ในระบบสังคมวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริ มพัฒนาการทางการเมือง
ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการประชาธิปไตย การส่งเสริ มและคุมครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุน
                                                              ้
การมีส่วนร่ วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทจริ ต การส่งเสริ มหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล
เป็ นต้น

       2) ส่งเสริ มความสงบสุขและรับผิดชอบร่ วมกันในการรักษาความมันคงสําหรับประชาชนที่ครอบคลุม
                                                                 ่
ในทุกด้านครอบคลุมความร่ วมมือเพื่อเสริ มสร้างความมันคงในรู ปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อ
                                                   ่
ใจและการระงับข้อพิพาท โดยสันติเพื่อป้ องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยูดวยกัน โดยสงบ
                                                                               ่ ้
สุขและไม่มีความหวาดระแวง และขยายความร่ วมมือเพื่อต่อต้านภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการ
ก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรี ยมความพร้อมเพื่อ
ป้ องกันและจัดการภัยพิบติและภัยธรรมชาติ
                         ั

      3) การมีพลวัตและปฏิสมพันธ์กบโลกภายนอก เพื่อเสริ มสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่ วมมือ
                           ั     ั
ระดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+ 3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอด
เอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น
สหประชาชาติ
2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(ASEAN Political-Security Community-AEC)

      มีวตถุประสงค์เพื่อทําให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริ การ
         ั
การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จดทําแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
                                                      ั
อาเซียน ( ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็ นแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในด้าน
เศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ
                       ั

      1) การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการเคลื่อนย้าย
สินค้า บริ การ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี มากขึ้น

     2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสําคัญกับประเด็น
นโยบายที่จะช่วยส่งเสริ มการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุมครองผูบริ โภค สิทธิใน
                                                                          ้      ้
ทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยี
สารสนเทศ และพลังงาน)

      3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ
เสริ มสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ

    4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ
ภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)

      อาเซียนได้ต้งเป้ าเป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มี
                    ั
ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง มีสงคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ นอยูที่ดีและมีการ
                              ั                                                       ่
พัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริ มการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน่
รวมทั้งส่งเสริ มอัตลักษณ์อาเซียน ( ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมสังคม และวัฒนธรรม
อาเซียน โดยได้จดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASEAN Socio-Cultural
                  ั
Community Blueprint)ซึ่ งประกอบด้วยความร่ วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่

   1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

   2) การคุมครองและสวัสดิการสังคม
           ้
3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม

   4) ความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อม
            ่

   5) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน

   6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา

       ทั้งนี้โดยมีกลไกการดําเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับ
รัฐมนตรี และคณะมนตรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

สาระสาคัญของปฏิญญาชะอา-หัวหิน ว่าด้ วยการเสริมสร้ างความร่ วมมือ

         ด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันปฏิญญาชะอํา-หัวหินว่าด้วยการ
เสริ มสร้างความร่ วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน เน้นยํ้าถึงบทบาท
ของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 อันประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังนี้

1. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาการเมืองและความมันคง
                                            ่

       สนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้เรื่ องกฎบัตรอาเซียนให้มากขึ้นโดยผ่านหลักสูตร
อาเซียน ในโรงเรี ยนและเผยแพร่ กฎบัตรอาเซียนที่แปลเป็ นภาษาต่างๆ ของชาติ ในอาเซียนให้เน้นใน
หลักการแห่งประชาธิปไตยให้มากขึ้น เคารพในสิทธิมนุษยชนและค่านิยมในเรื่ องแนวทางที่สนติภาพใน ั
หลักสูตรของโรงเรี ยนสนับสนุน ความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาคในหมู่อาจารย์ผานการฝึ กอบรม โครงการแลกเปลี่ยน และการจัดตั้งข้อมูล
                                               ่
พื้นฐานออนไลน์เกี่ยวกับเรื่ องนี้จดให้มีการประชุมผูนาโรงเรี ยนอย่างสมํ่าเสมอในฐานะที่เป็ นพื้นฐาน
                                  ั                ้ ํ
สําหรับการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นในภูมิภาคอาเซียนที่หลากหลาย การสร้างศักยภาพและ
เครื อข่าย รวมทั้งยอมรับการดํารงอยูของเวทีโรงเรี ยนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia School
                                    ่
Principals’ Forum: SEA-SPF)

2. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ

      พัฒนาพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การ
จัดทําการยอมรับทักษะในอาเซียนสนับสนุนการขับเคลื่อนของนักเรี ยนนักศึกษาให้ดีข้ ึนโดยการพัฒนา
บัญชีรายการระดับภูมิภาคของอุปกรณ์สารนิเทศด้านการศึกษาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจัดหาได้สนับสนุน
การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในภูมิภาคอาเซียน โดยผ่านกลไกความร่ วมมือในระดับภูมิภาคระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียนซึ่งจะต้องดําเนินควบคู่ไปกับความพยายามในการปกป้ องและปรับปรุ งมาตรฐานทางด้าน
การศึกษาและวิชาชีพพัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพื้นฐานของความสามารถในภูมิภาคอาเซียนโดยมุ่งไปที่
การสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ท้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก และ
                                                           ั
เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรมโดยประสานกับกระบวนการกรอบการประชุม
รัฐมนตรี อาเซียนด้านแรงงาน

3. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม

        พัฒนาเนื้อหาสาระร่ วมในเรื่ องอาเซียนสําหรับโรงเรี ยนเพื่อใช้เป็ นตัวอ้างอิงสําหรับการฝึ กอบรมและ
การสอนของครู อาจารย์เสนอให้มีหลักสูตรปริ ญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียนในมหาวิทยาลัยเสนอให้มี
ภาษาประจําชาติอาเซียน ให้เป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือกในโรงเรี ยนสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่
มุ่งเน้นที่การส่งเสริ มการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่เยาวชนรับรองการมีอยูของโครงการอื่นๆ เช่น
                                                                                       ่
การนําเที่ยวโรงเรี ยนอาเซียน โครงการแลกเปลี่ยนนักเรี ยนนักศึกษาอาเซียน การประชุมเยาวชนอาเซียนด้าน
วัฒนธรรม การประชุมสุดยอดเยาวชนนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยอาเซียน การประชุมเครื อข่ายมหาวิทยาลัย
อาเซียน และการประกวดสุนทรพจน์ระดับเยาวชน สนับสนุนการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตในประเทศสมาชิก
อาเซียนโดยการสนับสนุนการศึกษาสําหรับทุกคนจัดให้มีการประชุมวิจยทางด้านการศึกษาอาเซียนเพื่อ
                                                                          ั
ส่งเสริ มความร่ วมมือทางการวิจยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็ นเวทีสาหรับนักวิจยจากประเทศสมาชิกเพื่อ
                                 ั                                  ํ            ั
แลกเปลี่ยนมุมมองในประเด็นและเรื่ องที่เกี่ยวข้องของภูมิภาคสนับสนุนความเข้าใจและการตระหนักรับรู้
ในประเด็นและเรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียนโดยการบูรณาการให้อยูในหลักสูตรใน
                                                                                              ่
โรงเรี ยน และการมอบรางวัลโรงเรี ยนสีเขียวอาเซียนเฉลิมฉลองวันอาเซียน (วันที่ 8 สิงหาคม)ในโรงเรี ยน
โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคมผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การร้องเพลงชาติอาเซียน การจัดการแข่งขัน
เรื่ องประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอาเซียนการจัดแสดงเครื่ องหมาย และสัญลักษณ์อื่นๆ ของอาเซียน การจัด
ค่ายเยาวชนอาเซียน เทศกาลเยาวชนอาเซียนและวันเด็กอาเซียนเห็นชอบที่จะเสนอในรัฐสมาชิก
อาเซียน แบ่งปันทรัพยากรแก่กน และพิจารณาการจัดตั้งกองทุนพัฒนาด้านการศึกษาของภูมิภาคเพื่อให้
                               ั
มันใจว่าจะได้รับการสนับสนุนทางการเงินอย่างเพียงพอในการปฏิบติการต่าง ๆได้ตามที่ได้รับการ
    ่                                                                 ั
เสนอแนะมามอบหมายให้ องค์กรระดับรัฐมนตรี รายสาขาของอาเซียนเกี่ยวข้องและเลขาธิการอาเซียน
ดําเนินการปฏิบติตามปฏิญญานี้โดยการให้แนวทางและสนับสนุนแผน
                  ั                                                             5 ปี ของอาเซียนว่าด้วยเรื่ อง
การศึกษา

       รวมทั้งข้อตกลงในการควบคุมดูแลที่ได้รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการผูแทนถาวรและรายงาน
                                                                       ้
ต่อที่ประชุม สุดยอดอาเซียนเป็ นประจําผ่านคณะมนตรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนทราบผลการ
คืบหน้าของการดําเนินการปฏิญาณว่าความมุ่งมันและข้อผูกพันของผูนาอาเซียนในการเสริ มสร้างความ
                                             ่               ้ ํ
เข้มแข็งด้านการศึกษาเพื่อให้เกิดประชาคมอาเซียนที่มีการเคลื่อนไหวประชาคมที่มีความเชื่อมโยงกันและ
ประชาคมของประชาชนอาเซียนและเพื่อประชาชนอาเซียน

         นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการดาเนินการด้ านการศึกษาตามปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้ วยการ
เสริมสร้ างความร่ วมมือด้ านการศึกษาเพือบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอืออาทรและแบ่ งปัน
                                       ่                         ้

        จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้ าหมายการ
จัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 เมื่อวันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม 2553 ณ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี
รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็ นประธาน และผูเ้ ข้าร่ วมประชุมประกอบด้วย ผูแทนองค์กรหลักของ
                                                                               ้
กระทรวงศึกษาธิการ ผูแทนสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ผูอานวยการเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนและ
                     ้                               ้ํ
ผูแทนกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบร่ างนโยบายเพื่อดําเนินงานตาม
  ้
ปฏิญญาชะอํา-หัวหินด้านการศึกษา จํานวน 5 นโยบาย ดังนี้

       นโยบายที่ 1 การเผยแพร่ ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก
และเตรี ยมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน นักศึกษา และประชาชน เพื่อ
ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558
       นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยน นักศึกษา และประชาชนให้มีทกษะที่เหมาะสมเพื่อ
                                                                                   ั
เตรี ยมความพร้อมในการก้าวประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยี
สารสนเทศ ทักษะและความชํานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรม และ
การเพิ่มโอกาสในการหางานทําของประชาชน รวมทั้งการพิจารณาแผนผลิตกําลังคน
       นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริ มการหมุนเวียนของนักศึกษาและครู อาจารย์ใน
อาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับในคุณสมบัติทางวิชาการร่ วมกันในอาเซียน การส่งเสริ มความร่ วมมือ
ระหว่างสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนาระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วย
สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การส่งเสริ มและปรับปรุ งการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง
อาชีพ ทั้งในขั้นต้นและขั้นต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริ มและเพิ่มพูนความร่ วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของ
ประเทศสมาชิกของอาเซียน
       นโยบายที่ 4 การเตรี ยมความพร้อมเพื่อเปิ ดเสรี การศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วย การจัดทําความตกลงยอมรับร่ วมด้านการศึกษา การพัฒนาความสามารถ
ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพสําคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิ ดเสรี การศึกษาควบคู่กบการเปิ ดเสรี ดานการ
                                                                                 ั              ้
เคลื่อนย้ายแรงงาน
       นโยบายที่ 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็ นทรัพยากรสําคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Member States)




                        เนการาบรูไนดารุสซาลาม : Negara Brunei Darussalam

การปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย์

ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีฮจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาเลาะห์
                            ั

เมืองหลวง : บันดาร์เสรี เบกาวัน

ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์, ภาษาอาหรับ

หน่ วยเงินตรา : บรู ไนดอลลาร์

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofat.gov.bn
ราชอาณาจักรกัมพูชา : Kingom of Cambodia

การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตย

ประมุข : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี

เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ

ภาษาราชการ : ภาษาเขมร

หน่ วยเงินตรา : เรี ยล

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfaic.gov.kh
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย : Republic of Indonesia

การปกครอง : ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย

ประมุข : พลโทซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน

เมืองหลวง : กรุ งจาการ์ตา

ภาษาราชการ : ภาษาบาร์ฮาซา, ภาษาอินโดนีเซีย

หน่ วยเงินตรา : รู เปี ยห์

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.kemlu.go.id
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : The Loa People's Democratic Republic

การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม

ประมุข : พลโทจูมมะลี ไซยะสอน

เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทน์

ภาษาราชการ : ภาษาลาว

หน่ วยเงินตรา : กีบ

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofa.gov.la
มาเลเซีย : Malaysia

การปกครอง : สหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็ นประมุข

ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอซซอม ซาร์
                                                        ั

เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์

ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์

หน่ วยเงินตรา : ริ งกิต

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.kln.gov.my
สาธารณรัฐแห่ งสหภาพเมียนมาร์ : Republic of the Union of the Myanmar

การปกครอง : ระบบประธานาธิบดี

ประมุข : พลเอกเต็ง เส่ง

เมืองหลวง : นครเนปิ ดอร์

ภาษาราชการ : ภาษาพม่า

หน่ วยเงินตรา : จัต
                  ๊

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofa.gov.mm
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ : Republic of the Philippine

การปกครอง : สาธารณรัฐเดี่ยวระบบประธานาธิบดี

ประมุข : เบนิกโน อากีโน ที่ 3

เมืองหลวง : กรุ งมะลิลา

ภาษาราชการ : ภาษาตากาล๊อก, ภาษาอังกฤษ

หน่ วยเงินตรา : เปโซ

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.dfa.gov.ph
สาธารณรัฐสิงคโปร์ : Republic of Singapore

การปกครอง : ระบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข

ประมุข : โทนี ตัน เค็ง ยัม

เมืองหลวง : สิงคโปร์

ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีนกลาง, ภาษามาเลย์, ภาษาทมิฬ

หน่ วยเงินตรา : ดอลล่าร์สิงคโปร์

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfa.gov.sg
ราชอาณาจักรไทย : Kingdom of Thailand

การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข

ประมุข : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร

ภาษาราชการ : ภาษาไทย

หน่ วยเงินตรา : บาท

เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfa.go.th
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม : Socialist Republic of Vietnam

การปกครอง : ระบอบสังคมนิยมเวียดนาม

ประมุข : เจือง เติ๋น ซาง

เมืองหลวง : กรุ งฮานอย

ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม

หน่ วยเงินตรา : ด่อง

More Related Content

What's hot

เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

Similar to กำเนิดอาเซียน1

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 

Similar to กำเนิดอาเซียน1 (20)

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
58210401121
5821040112158210401121
58210401121
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 

More from นิชานาถ เตชะพิมพ์

เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียนเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียนนิชานาถ เตชะพิมพ์
 

More from นิชานาถ เตชะพิมพ์ (14)

01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 203 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
สื่ออาเซียนศึกษา
สื่ออาเซียนศึกษาสื่ออาเซียนศึกษา
สื่ออาเซียนศึกษา
 
เสาหลักประชาคมอาเซียน
เสาหลักประชาคมอาเซียนเสาหลักประชาคมอาเซียน
เสาหลักประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
 
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียนเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 

กำเนิดอาเซียน1

  • 1. กาเนิดอาเซียน อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วงสราญรมย์ เมื่อ ั วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผูแทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วยนายอาดัม มา ้ ลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย) ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่ งชาติมาเลเซีย) นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศ ฟิ ลิปปิ นส์ ) นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์ ) และพันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีต่างประเทศไทย) ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าเป็ นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรู ไนดารุ สซาลาม (เป็ นสมาชิกเมื่อ 8 ม.ค.2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) สปป.ลาว พม่า (วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา เข้าเป็ นสมาชิก ล่าสุด (วันที่ 30 เม.ย. 2542) ให้ปัจจุบนมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ ั วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธํารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้าน ่ เศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาค ่ และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้ าว สีเหลืองบนพืนสีแดงล้อมรอบด้ วยวงกลม สีขาวและสีนาเงิน ้ ้ รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาว หมายถึง ความบริ สุทธิ์ สีน้ าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมันคง ํ ่ กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
  • 2. ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อปี 2550 ที่ประเทศสิงค์โปร์ ผูนาอาเซียนได้ลงนามในกฎ ้ ํ บัตร อาเซียนซึ่งเปรี ยบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียน ในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิงการ ่ ขับเคลื่อนการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ตามที่ผนาอาเซียนได้ตกลงกันไว้ ู้ ํ โดยวัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทําให้อาเซียนเป็ นองค์การที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็ น ศูนย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียน เป็ นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization) กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้ วยข้ อบทต่าง ๆ 13 บท 55 ข้ อ มีประเด็นใหม่ที่แสดงความก้าวหน้ าของอาเซียน ได้ แก่ (1) การจัดตั้งองค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน (2) การให้อานาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทําตามความตกลงของรัฐสมาชิก ํ (3) การจัดตั้งกลไกสําหรับการระงับข้อพิพาทต่าง ๆ ระหว่างประเทศสมาชิก (4) การให้ผนาเป็ น ผูตดสินว่าจะดําเนินการอย่างไรต่อรัฐผูละเมิดพันธกรณี ตามกฎบัตรฯ อย่างร้ายแรง ู้ ํ ้ั ้ (5) การเปิ ดช่องให้ใช้วิธีการอื่นในการตัดสินใจได้หากไม่มีฉนทามติ ั (6) การส่งเสริ มการปรึ กษาหารื อกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์ ร่ วม (7) การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียนเพื่อให้อาเซียนสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่าง ทันท่วงที (8) การเปิ ดช่องทางให้อาเซียนสามารถมีปฏิสมพันธ์กบองค์กรภาคประชาสังคมมากขึ้น และ ั ั (9) การปรับปรุ งโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึ้น เช่น ให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน 2 ่ ครั้งต่อปี จัดตั้งคณะมนตรี เพื่อประสานความร่ วมมือในแต่ละ 3 เสาหลัก และการมีคณะกรรมการผูแทน ้ ถาวรประจําอาเซียน ที่กรุ งจาการ์ตา เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการประชุมของอาเซียน เป็ นต้น กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ต้งแต่วนที่ 15 ธันวาคม 2551 หลังจากที่ประเทศสมาชิกครบทั้ง 10 ั ั ประเทศ ได้ให้สตยาบันกฎบัตร และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 1 ั มีนาคม 2552 ที่จงหวัดเพชรบุรีเป็ นการประชุมระดับผูนาอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตรมีผลบังคับใช้ ั ้ ํ
  • 3. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประชาคมอาเซียนประกอบด้ วยความร่ วมมือ 3 เสาหลัก คือ 1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC) ่ 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community–AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC) 1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ่ (ASEAN Political and Security Community – APSC) มีวตถุประสงค์เพื่อเสริ มสร้างและธํารงไว้ซ่ึงสันติภาพและความมันคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศใน ั ่ ภูมิภาคอยูร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและความขัดแย้ง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จดทํา ่ ั แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ( ASEAN Political-Security Community ่ Blueprint) โดยเน้นใน 3 ประการ คือ 1) การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่ วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะร่ วมกันทําเพื่อสร้างความเข้าใจ ในระบบสังคมวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริ มพัฒนาการทางการเมือง ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการประชาธิปไตย การส่งเสริ มและคุมครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุน ้ การมีส่วนร่ วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทจริ ต การส่งเสริ มหลักนิติธรรมและธรรมาภิบาล เป็ นต้น 2) ส่งเสริ มความสงบสุขและรับผิดชอบร่ วมกันในการรักษาความมันคงสําหรับประชาชนที่ครอบคลุม ่ ในทุกด้านครอบคลุมความร่ วมมือเพื่อเสริ มสร้างความมันคงในรู ปแบบเดิม มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อ ่ ใจและการระงับข้อพิพาท โดยสันติเพื่อป้ องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอยูดวยกัน โดยสงบ ่ ้ สุขและไม่มีความหวาดระแวง และขยายความร่ วมมือเพื่อต่อต้านภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่น การต่อต้านการ ก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรี ยมความพร้อมเพื่อ ป้ องกันและจัดการภัยพิบติและภัยธรรมชาติ ั 3) การมีพลวัตและปฏิสมพันธ์กบโลกภายนอก เพื่อเสริ มสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่ วมมือ ั ั ระดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน+ 3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และการประชุมสุดยอด เอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
  • 4. 2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC) มีวตถุประสงค์เพื่อทําให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริ การ ั การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จดทําแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ ั อาเซียน ( ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็ นแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในด้าน เศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ ั 1) การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริ การ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี มากขึ้น 2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสําคัญกับประเด็น นโยบายที่จะช่วยส่งเสริ มการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุมครองผูบริ โภค สิทธิใน ้ ้ ทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการ เสริ มสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ 4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาคเพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) อาเซียนได้ต้งเป้ าเป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มี ั ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง มีสงคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ นอยูที่ดีและมีการ ั ่ พัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริ มการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน่ รวมทั้งส่งเสริ มอัตลักษณ์อาเซียน ( ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมสังคม และวัฒนธรรม อาเซียน โดยได้จดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASEAN Socio-Cultural ั Community Blueprint)ซึ่ งประกอบด้วยความร่ วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ 1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2) การคุมครองและสวัสดิการสังคม ้
  • 5. 3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4) ความยังยืนด้านสิ่งแวดล้อม ่ 5) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา ทั้งนี้โดยมีกลไกการดําเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขาระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และระดับ รัฐมนตรี และคณะมนตรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน สาระสาคัญของปฏิญญาชะอา-หัวหิน ว่าด้ วยการเสริมสร้ างความร่ วมมือ ด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันปฏิญญาชะอํา-หัวหินว่าด้วยการ เสริ มสร้างความร่ วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน เน้นยํ้าถึงบทบาท ของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 อันประกอบด้วย 3 เสาหลัก ดังนี้ 1. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาการเมืองและความมันคง ่ สนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้เรื่ องกฎบัตรอาเซียนให้มากขึ้นโดยผ่านหลักสูตร อาเซียน ในโรงเรี ยนและเผยแพร่ กฎบัตรอาเซียนที่แปลเป็ นภาษาต่างๆ ของชาติ ในอาเซียนให้เน้นใน หลักการแห่งประชาธิปไตยให้มากขึ้น เคารพในสิทธิมนุษยชนและค่านิยมในเรื่ องแนวทางที่สนติภาพใน ั หลักสูตรของโรงเรี ยนสนับสนุน ความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาคในหมู่อาจารย์ผานการฝึ กอบรม โครงการแลกเปลี่ยน และการจัดตั้งข้อมูล ่ พื้นฐานออนไลน์เกี่ยวกับเรื่ องนี้จดให้มีการประชุมผูนาโรงเรี ยนอย่างสมํ่าเสมอในฐานะที่เป็ นพื้นฐาน ั ้ ํ สําหรับการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นในภูมิภาคอาเซียนที่หลากหลาย การสร้างศักยภาพและ เครื อข่าย รวมทั้งยอมรับการดํารงอยูของเวทีโรงเรี ยนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia School ่ Principals’ Forum: SEA-SPF) 2. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ พัฒนาพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การ จัดทําการยอมรับทักษะในอาเซียนสนับสนุนการขับเคลื่อนของนักเรี ยนนักศึกษาให้ดีข้ ึนโดยการพัฒนา บัญชีรายการระดับภูมิภาคของอุปกรณ์สารนิเทศด้านการศึกษาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจัดหาได้สนับสนุน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในภูมิภาคอาเซียน โดยผ่านกลไกความร่ วมมือในระดับภูมิภาคระหว่างประเทศ
  • 6. สมาชิกอาเซียนซึ่งจะต้องดําเนินควบคู่ไปกับความพยายามในการปกป้ องและปรับปรุ งมาตรฐานทางด้าน การศึกษาและวิชาชีพพัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพื้นฐานของความสามารถในภูมิภาคอาเซียนโดยมุ่งไปที่ การสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ท้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก และ ั เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรมโดยประสานกับกระบวนการกรอบการประชุม รัฐมนตรี อาเซียนด้านแรงงาน 3. บทบาทของภาคการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม พัฒนาเนื้อหาสาระร่ วมในเรื่ องอาเซียนสําหรับโรงเรี ยนเพื่อใช้เป็ นตัวอ้างอิงสําหรับการฝึ กอบรมและ การสอนของครู อาจารย์เสนอให้มีหลักสูตรปริ ญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียนในมหาวิทยาลัยเสนอให้มี ภาษาประจําชาติอาเซียน ให้เป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือกในโรงเรี ยนสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่ มุ่งเน้นที่การส่งเสริ มการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่เยาวชนรับรองการมีอยูของโครงการอื่นๆ เช่น ่ การนําเที่ยวโรงเรี ยนอาเซียน โครงการแลกเปลี่ยนนักเรี ยนนักศึกษาอาเซียน การประชุมเยาวชนอาเซียนด้าน วัฒนธรรม การประชุมสุดยอดเยาวชนนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยอาเซียน การประชุมเครื อข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียน และการประกวดสุนทรพจน์ระดับเยาวชน สนับสนุนการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตในประเทศสมาชิก อาเซียนโดยการสนับสนุนการศึกษาสําหรับทุกคนจัดให้มีการประชุมวิจยทางด้านการศึกษาอาเซียนเพื่อ ั ส่งเสริ มความร่ วมมือทางการวิจยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็ นเวทีสาหรับนักวิจยจากประเทศสมาชิกเพื่อ ั ํ ั แลกเปลี่ยนมุมมองในประเด็นและเรื่ องที่เกี่ยวข้องของภูมิภาคสนับสนุนความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ ในประเด็นและเรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียนโดยการบูรณาการให้อยูในหลักสูตรใน ่ โรงเรี ยน และการมอบรางวัลโรงเรี ยนสีเขียวอาเซียนเฉลิมฉลองวันอาเซียน (วันที่ 8 สิงหาคม)ในโรงเรี ยน โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคมผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การร้องเพลงชาติอาเซียน การจัดการแข่งขัน เรื่ องประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอาเซียนการจัดแสดงเครื่ องหมาย และสัญลักษณ์อื่นๆ ของอาเซียน การจัด ค่ายเยาวชนอาเซียน เทศกาลเยาวชนอาเซียนและวันเด็กอาเซียนเห็นชอบที่จะเสนอในรัฐสมาชิก อาเซียน แบ่งปันทรัพยากรแก่กน และพิจารณาการจัดตั้งกองทุนพัฒนาด้านการศึกษาของภูมิภาคเพื่อให้ ั มันใจว่าจะได้รับการสนับสนุนทางการเงินอย่างเพียงพอในการปฏิบติการต่าง ๆได้ตามที่ได้รับการ ่ ั เสนอแนะมามอบหมายให้ องค์กรระดับรัฐมนตรี รายสาขาของอาเซียนเกี่ยวข้องและเลขาธิการอาเซียน ดําเนินการปฏิบติตามปฏิญญานี้โดยการให้แนวทางและสนับสนุนแผน ั 5 ปี ของอาเซียนว่าด้วยเรื่ อง การศึกษา รวมทั้งข้อตกลงในการควบคุมดูแลที่ได้รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการผูแทนถาวรและรายงาน ้ ต่อที่ประชุม สุดยอดอาเซียนเป็ นประจําผ่านคณะมนตรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนทราบผลการ คืบหน้าของการดําเนินการปฏิญาณว่าความมุ่งมันและข้อผูกพันของผูนาอาเซียนในการเสริ มสร้างความ ่ ้ ํ
  • 7. เข้มแข็งด้านการศึกษาเพื่อให้เกิดประชาคมอาเซียนที่มีการเคลื่อนไหวประชาคมที่มีความเชื่อมโยงกันและ ประชาคมของประชาชนอาเซียนและเพื่อประชาชนอาเซียน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการดาเนินการด้ านการศึกษาตามปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้ วยการ เสริมสร้ างความร่ วมมือด้ านการศึกษาเพือบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอืออาทรและแบ่ งปัน ่ ้ จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้ าหมายการ จัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 เมื่อวันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม 2553 ณ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็ นประธาน และผูเ้ ข้าร่ วมประชุมประกอบด้วย ผูแทนองค์กรหลักของ ้ กระทรวงศึกษาธิการ ผูแทนสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ผูอานวยการเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนและ ้ ้ํ ผูแทนกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบร่ างนโยบายเพื่อดําเนินงานตาม ้ ปฏิญญาชะอํา-หัวหินด้านการศึกษา จํานวน 5 นโยบาย ดังนี้ นโยบายที่ 1 การเผยแพร่ ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรี ยมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน นักศึกษา และประชาชน เพื่อ ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยน นักศึกษา และประชาชนให้มีทกษะที่เหมาะสมเพื่อ ั เตรี ยมความพร้อมในการก้าวประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ ทักษะและความชํานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรม และ การเพิ่มโอกาสในการหางานทําของประชาชน รวมทั้งการพิจารณาแผนผลิตกําลังคน นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริ มการหมุนเวียนของนักศึกษาและครู อาจารย์ใน อาเซียน รวมทั้งเพื่อให้มีการยอมรับในคุณสมบัติทางวิชาการร่ วมกันในอาเซียน การส่งเสริ มความร่ วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนาระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วย สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การส่งเสริ มและปรับปรุ งการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง อาชีพ ทั้งในขั้นต้นและขั้นต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริ มและเพิ่มพูนความร่ วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของ ประเทศสมาชิกของอาเซียน นโยบายที่ 4 การเตรี ยมความพร้อมเพื่อเปิ ดเสรี การศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วย การจัดทําความตกลงยอมรับร่ วมด้านการศึกษา การพัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพสําคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิ ดเสรี การศึกษาควบคู่กบการเปิ ดเสรี ดานการ ั ้ เคลื่อนย้ายแรงงาน นโยบายที่ 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็ นทรัพยากรสําคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
  • 8. ประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Member States) เนการาบรูไนดารุสซาลาม : Negara Brunei Darussalam การปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีฮจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาเลาะห์ ั เมืองหลวง : บันดาร์เสรี เบกาวัน ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์, ภาษาอาหรับ หน่ วยเงินตรา : บรู ไนดอลลาร์ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofat.gov.bn
  • 9. ราชอาณาจักรกัมพูชา : Kingom of Cambodia การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตย ประมุข : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ ภาษาราชการ : ภาษาเขมร หน่ วยเงินตรา : เรี ยล เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfaic.gov.kh
  • 10. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย : Republic of Indonesia การปกครอง : ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย ประมุข : พลโทซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน เมืองหลวง : กรุ งจาการ์ตา ภาษาราชการ : ภาษาบาร์ฮาซา, ภาษาอินโดนีเซีย หน่ วยเงินตรา : รู เปี ยห์ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.kemlu.go.id
  • 11. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : The Loa People's Democratic Republic การปกครอง : ระบอบสังคมนิยม ประมุข : พลโทจูมมะลี ไซยะสอน เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทน์ ภาษาราชการ : ภาษาลาว หน่ วยเงินตรา : กีบ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofa.gov.la
  • 12. มาเลเซีย : Malaysia การปกครอง : สหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็ นประมุข ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอซซอม ซาร์ ั เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ หน่ วยเงินตรา : ริ งกิต เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.kln.gov.my
  • 13. สาธารณรัฐแห่ งสหภาพเมียนมาร์ : Republic of the Union of the Myanmar การปกครอง : ระบบประธานาธิบดี ประมุข : พลเอกเต็ง เส่ง เมืองหลวง : นครเนปิ ดอร์ ภาษาราชการ : ภาษาพม่า หน่ วยเงินตรา : จัต ๊ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mofa.gov.mm
  • 14. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ : Republic of the Philippine การปกครอง : สาธารณรัฐเดี่ยวระบบประธานาธิบดี ประมุข : เบนิกโน อากีโน ที่ 3 เมืองหลวง : กรุ งมะลิลา ภาษาราชการ : ภาษาตากาล๊อก, ภาษาอังกฤษ หน่ วยเงินตรา : เปโซ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.dfa.gov.ph
  • 15. สาธารณรัฐสิงคโปร์ : Republic of Singapore การปกครอง : ระบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข ประมุข : โทนี ตัน เค็ง ยัม เมืองหลวง : สิงคโปร์ ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีนกลาง, ภาษามาเลย์, ภาษาทมิฬ หน่ วยเงินตรา : ดอลล่าร์สิงคโปร์ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfa.gov.sg
  • 16. ราชอาณาจักรไทย : Kingdom of Thailand การปกครอง : ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข ประมุข : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร ภาษาราชการ : ภาษาไทย หน่ วยเงินตรา : บาท เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ : www.mfa.go.th
  • 17. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม : Socialist Republic of Vietnam การปกครอง : ระบอบสังคมนิยมเวียดนาม ประมุข : เจือง เติ๋น ซาง เมืองหลวง : กรุ งฮานอย ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม หน่ วยเงินตรา : ด่อง